การศ กษาอ สระปร ญญาโทสาขานว ตกรรมหล กส ตรและการจ ดการเร ยนร ม.รามคำแหง

(High Organization) มุ่งผลติ บณั ฑิตในอุดมคติไทยที่มคี วามรู้คู่คุณธรรม เพอ่ื สร้างสรรค์สังคมไทยพัฒนาอยา่ ง

ยัง่ ยนื ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 2

ความเป็นมาของมหาวิทยาลัยรามคาแหง : 2514 ถึงปัจจบุ ัน

1. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2514 กาหนดให้มหาวิทยาลัยรามคาแหงเป็น สถาบันการศึกษาและวิจัยแบบตลาดวิชา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทาการวิจัย ส่งเสริมวชิ าการชั้นสูง และทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรม

ตลอดระยะเวลามากกว่า 40 ปี มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้พัฒนามาโดยตลอด ทั้งในด้านพัฒนาการ วิชาการ พัฒนาสังคม โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในขณะเดียวกันก็พัฒนาไป ตามกระแสโลกาภิวัฒน์ทางด้านเทคโนโลยี จนปัจจุบันมหาวิทยาลัยรามคาแหงได้เปิดการเรียนการสอนโดยใช้ เทคโนโลยีทันสมัย การใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านบริหารและบริการ จนมหาวิทยาลัยได้ก้าวสู่การเป็น e-University และ Smart University ในระดบั มาตรฐานสากล

2. เหตุผลที่ตั้งมหาวิทยาลัยรามคาแหง มีสาเหตุมาจากปัญหาการขาดแคลนที่เรียน ในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย เพราะมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีสถานที่เรียนจากัด ไม่สามารถรับ ผู้ที่จะเข้า ศึกษาตอ่ ในระดับอดุ มศึกษาได้ทั้งหมด เนือ่ งจากมีผู้ทจ่ี บการศึกษาในระดับมธั ยมศึกษาแลว้ ไม่มีโอกาสได้ศึกษา ต่อ ดงั นัน้ รัฐจึงจาเปน็ ต้องจัดตงั้ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหงขึน้ เพ่อื เปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลทป่ี ระสงค์จะเข้าเรียนต่อใน มหาวิทยาลัยได้เข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มพูนวิทยฐานะแก่ผู้ประกอบอาชีพและขยายโอกาสทาง การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไป โดยเปิดรับสมัครนักศึกษาโดยไม่จากัดจานวนและไม่มีการ สอบคัดเลอื ก มกี ารจดั การเรยี นการสอนแตไ่ ม่บังคบั ให้มาเขา้ ชนั้ เรียน

3. คณะ/สานัก/สถาบันมหาวิทยาลัยรามคาแหงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยรามคาแหงมีหน่วยงานใน ระดับคณะสานักและสถาบัน ซึ่งมีหน้าที่ดาเนินการจัดการศึกษาและให้บริการด้านบริหารและวิชาการ อย่างมี ประสิทธิภาพ คณะที่จัดการเรียนการสอน มีดังนี้ คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะส่ือสารมวลชน คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะทัศนมาตรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ บัณฑติ วทิ ยาลัย และสถาบนั การศึกษานานาชาติ

สานักและสถาบันต่างๆ ที่บริการด้านบริหารและวิชาการ มีดังต่อไปนี้ สานักงานอธิการบดี สานักบริการ ทางวิชาการและทดสอบประเมินผล สานักหอสมุดกลาง สานักเทคโนโลยีการศึกษา สานักพิมพ์ สานักกีฬา สานักประกันคุณภาพการศึกษา สานักทดสอบทางอิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการ สานักงานสาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติต่างประเทศ สานกั งานตรวจสอบภายใน สานกั สหกจิ ศึกษาและพฒั นาอาชีพ สานกั บรกิ ารข้อมูลและ สารสนเทศ สถาบันคอมพิวเตอร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ สถาบันภาษา สถาบันกฎหมายไทย ศูนยส์ ือ่ การสอนทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลมิ พระเกียรติสว่ นภมู ภิ าค

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 3

4. มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2 เนื่องจากมหาวิทยาลัยรามคาแหงมีนักศึกษาเป็นจานวนมากและ เพ่ิมขน้ึ เรอ่ื ย ๆ ดงั นน้ั เพ่ือแก้ปัญหาดา้ นสถานท่เี รยี นไมเ่ พียงพอ มหาวิทยาลัยรามคาแหงจึงได้เสนอแก้ไขปัญหา การขาดแคลนสถานที่เรียนต่อคณะ รัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้มหาวิทยาลัยจัดตั้งวิทยาเขตขึ้น เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2522 ณ บริเวณที่ดินซึ่งมีผู้บริจาคจานวน 150 ไร่ ตั้งอยู่ที่แขวงดอกไม้ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ บนถนนสายบางนา-ตราด และมหาวทิ ยาลัยเปดิ ใชว้ ิทยาเขตนี้ เมือ่ ภาค 1 ปีการศึกษา 2527 เป็นต้น มา โดยใช้เป็นสถานที่สอนกระบวนวิชาชั้นปีที่ 1 ของระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา สาหรับนักศึกษาที่ ไม่มโี อกาสฟังคาบรรยายท่ีมหาวิทยาลัย ซึง่ มอี ยจู่ านวนมากทั่วประเทศน้นั มหาวทิ ยาลัยได้จัดให้มีการบรรยายสรุป ทางสถานีวทิ ยโุ ทรทัศน์ท้ังส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคทวั่ ประเทศ

5. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติส่วนภูมิภาค ในปีการศึกษา 2538 มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้ ขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ในภูมิภาคและท้องถิ่นต่าง ๆ มีโอกาสได้ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม นาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดารงชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมหาวิทยาลัยได้ ดาเนินการเปิดสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติในจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และต่อมาได้เปิดสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติฯ เพิ่มขึ้นอีก จนปัจจุบันมหาวิทยาลัยได้ จดั ตัง้ สาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลิมพระเกยี รติขึน้ แล้วใน 23 จังหวดั ท่ัวประเทศ ดังนี้

1. สาขาวิทยฯจงั หวัดนครศรธี รรมราช 2. สาขาวิทยฯจงั หวัดอทุ ยั ธานี 3. สาขาวทิ ยฯจังหวัดปราจนี บุรี 4. สาขาวิทยฯจงั หวัดอานาจเจรญิ 5. สาขาวทิ ยฯจังหวัดนครพนม 6. สาขาวิทยฯจงั หวดั แพร่ 7. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั นครราชสมี า 8. สาขาวทิ ยฯจังหวดั สโุ ขทยั 9. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั ขอนแกน่ 10. สาขาวทิ ยฯจงั หวัดศรสี ะเกษ 11. สาขาวิทยฯจงั หวดั ตรงั 12. สาขาวิทยฯจังหวัดอุดรธานี 13. สาขาวิทยฯจังหวดั ลพบรุ ี 14. สาขาวทิ ยฯจงั หวัดหนองบัวลาภู 15. สาขาวิทยฯจงั หวดั ชัยภูมิ 16. สาขาวิทยฯจังหวดั เพชรบรู ณ์ 17. สาขาวทิ ยฯจังหวัดกาญจนบรุ ี 18. สาขาวิทยฯจงั หวดั สุรินทร์ 19. สาขาวิทยฯจังหวัดบรุ รี ัมย์ 20. สาขาวิทยฯจงั หวัดสงขลา 21. สาขาวทิ ยฯจงั หวัดเชียงราย 22. สาขาวิทยฯจังหวดั พังงา 23. สาขาวิทยฯจังหวดั เชยี งใหม่

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 4

6. สาขาวิทยบริการเฉลมิ พระเกียรติตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้ขยายการเรียนการสอนสู่ต่างประเทศ ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ปวงชนชาวไทยใน ต่างประเทศทั่วโลก เพอื่ นาการอดุ มศึกษาไทยสสู่ ากลอย่างเป็นรูปธรรม ปัจจบุ นั ได้ขยายสู่ 32 ประเทศท่วั โลก ดังนี้ 1.ประเทศแคนาดา ณ กรงุ ออตตาวา แวนคู เวอร์ 2.ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ณ กรุงวอชิงตนั ดี ซี นครนวิ ยอรก์ นครลอสแอนเจลิส นครชคิ าโก 3. ประเทศเบลเยี่ยม ณ กรุงบรสั เซลส์ 4. ประเทศฝรัง่ เศส ณ กรงุ ปารสี 5. ประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ณ กรุง เบอร์ลิน นครแฟรงก์เฟิร์ต 6. ประเทศไอซ์แลนด์ ณ กรงุ เรคยาวิค 7. ประเทศอติ าลี ณ กรุงโรม 8. ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ณ กรุงเฮก 9. ประเทศโปแลนด์ ณ กรุงวอร์ซอ 10. ประเทศสเปน ณ กรงุ มาดรดิ 11. ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ ณ กรงุ เบิร์น 12. ประเทศออสเตรีย ณ กรุงเวยี นนา 13. ประเทศสหราชอาณาจักร ณ กรงุ ลอนดอน 14. ประเทศเดนมาร์ก ณ กรงุ โคเปนเฮเกน 15.ประเทศนอร์เวย์ ณ กรุงออสโล 16. ประเทศสวีเดน ณ กรงุ สตอกโฮลม์ 17. ประเทศสาธารณรัฐฟนิ แลนด์ ณ กรงุ เฮลซิงกิ 18. ประเทศบาหเ์ รน ณ กรงุ มานามา 19.ประเทศรัฐสลุ ตา่ นโอมาน ณ กรุงมสั กัต 20.ประเทศสหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ ณ เมืองดูไบ 21.ประเทศรฐั กาตาร์ ณ กรงุ โดฮา 22.ประเทศออสเตรเลยี ณ กรงุ แคนเบอรร์ า นครซดิ นยี ์ 23.ประเทศนิวซีแลนด์ ณ กรงุ เวลลงิ ตัน 24.ประเทศกมั พชู า ณ กรุงพนมเปญ 25.ประเทศอนิ เดยี ณ กรงุ นิวเดลี 26.ประเทศอนิ โดนเี ซีย ณ กรงุ จารก์ าตาร์ 27.ประเทศมาเลเซีย ณ กรงุ กวั ลาลมั เปอร์ 28.ประเทศเกาหลใี ต้ ณ กรงุ โซล

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 5

29.ประเทศสงิ คโปร์ ณ สงิ คโปร์ 30. ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี ณ กรุงปกั กิง่ นครกวางโจว เมอื งเซย่ี เหมนิ 31. ประเทศเวยี ดนาม ณ นครโฮจิมินห์ 33. ประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยรามคาแหง กรุงเทพฯ

7. การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหงได้เร่ิมข้ึนเป็น ครั้งแรกในปีการศึกษา 2538 โดยได้มีการสอนโดยตรงจากมหาวิทยาลัย รามคาแหง กรงุ เทพฯ ไปสมู่ หาวทิ ยาลยั รามคาแหงสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกยี รติ ในส่วนภมู ภิ าค 3 จังหวัด คือ จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครศรีธรรมราช เริ่มแรกได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านดาวเทียมไทยคมในย่านความถี่ C-Band โดยกระจายสัญญาณ ทิศทางเดียวไปยังสาขาวิทยบริการในส่วนภูมิภาค นักศึกษาที่เรียนอยู่ในห้องเรียนสามารถสอบถามและ ขอคาอธิบายเกย่ี วกบั การ เรียนการสอนผา่ นระบบโทรศัพท์ และโทรสารมายงั อาจารยผ์ ู้สอนได้

ในปีการศึกษา 2539 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล โดยใช้เทคโนโลยีการ ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์โดยตรงสู่ห้องเรียนต่าง ๆ ในระบบ ( Direct To Home Broad Casting) ผ่านดาวเทียมไทยคมย่านความถ่ี Ku-Band ซึ่งปัจจุบันออกอากาศผ่านทางไทยสกายเคเบิล้ ทีวี ช่อง 10 นอกจากการ ใช้เทคโนโลยีสื่อสารแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้จัดให้อาจารย์ไปบรรยายสรุป ณ สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ ในจังหวัดต่าง ๆ เป็นประจาทุกวันเสาร์และอาทิตย์ เพื่อให้นักศึกษาในส่วนภูมิภาคได้พบและขอคาปรึกษาจาก อาจารย์ได้ และวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัย ได้เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ณ สาขาวิทยบริการฯ 4 จังหวดั คือ จังหวดั อทุ ัยธานี จังหวดั ปราจีนบรุ ี จงั หวดั นครศรีธรรมราช และจังหวัดอานาจเจริญ

ในการเรยี นการสอนระดับปริญญาโทในส่วนภูมภิ าคนนั้ อาจารย์ผ้สู อนจะเดนิ ทางไปสอนทส่ี าขาวิทยบริการฯ ต่าง ๆ หมุนเวียนกันไปทั้ง 4 จังหวัด เมื่ออาจารย์ไปบรรยายที่สาขาวิทยบริการฯ ใดก็จะทาการถ่ายทอด ภาพและเสียงการบรรยายไปยังสาขาวิทยบริการฯ อื่นๆอีก 3 สาขาวิทยบริการ โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านสัญญาณดาวเทียมไปสู่ห้องเรียน ด้วยวิธีน้ีจะทาให้นักศึกษาจากทุกสาขาวิทย บริการฯ ได้รับฟังการบรรยายจากอาจารย์ผู้สอนพร้อมกันในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนยัง สามารถสื่อสารโต้ตอบกับนักศึกษาจากทุกสาขาวิทย บริการฯในลักษณะของการสื่อสารสองทาง (Two Way Communication) ได้อีกด้วย

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 6

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ประวตั คิ วามเปน็ มาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้จัดตั้งขึ้นตาม ตามพันธกิจของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)

ขอ้ ที่ (1) การพัฒนาคนและสงั คมไทยสสู่ ังคมคุณภาพมงุ่ สร้างภูมิคุ้มกนั ต้ังแต่ระดบั ปจั เจก ครอบครัวและ ชุมชนสู่สังคมที่มีคุณภาพ สามารถจัดการความเสี่ยงและปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีส่วนร่วมใน การพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองของประเทศได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และ

ข้อที่ (2) การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต ให้ความสาคัญกบั การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุก ช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความพร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิตควบคู่กับการ เสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมและสถาบันสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน นั้น

ทางมหาวิทยาลัยได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว และเห็นว่ายังขาดแคลนสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและด้านสาธารณสุขโดยตรงจึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรทางด้านสาธารณสุขศาสตร์โดย คานึงถึงสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่ความยั่งยืน และความต้องการในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม โดยแบ่งส่วนราชการเป็น 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข และ สานักงานคณบดี โดยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้ก่อตั้งขึ้นโดยมติที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัยรามคาแหงครั้งที่ 8/2551 วาระที่ 4.7 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2551 ขึ้นเป็นส่วนงานภายใน สังกัดมหาวิทยาลัยรามคาแหง และมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2563 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 เห็นชอบและอนมุ ัตใิ หย้ ้ายสถานท่ีตง้ั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มาสังกัดท่ีสว่ นกลาง มหาวิทยาลยั รามคาแหง

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 7

ข้อมูลท่วั ไป

ตราสญั ลักษณ์

สีประจาคณะ สีชมพู-สม้ (Salmon pink)

ปรชั ญา สขุ ภาวะสรา้ งได้

วสิ ัยทศั น์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ สรา้ งคน สรา้ งสงั คม สขุ ภาพดี

ปณธิ าน มุ่งผลิตบณั ฑิตทม่ี ีความรู้คู่คณุ ธรรม และจติ สานึกในความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม

พันธกจิ 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ บุคลากรด้านสาธารณสุขศาสตร์โดย

ผ่านกระบวนการที่หลากหลาย 2. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ครอบคลุมด้านการเรียนการสอน การวิจัย

การบริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัย 3. สนันสนุน ส่งเสริม พัฒนาในเรื่องระบบสุขภาพเพื่อประชาชนมีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน 4. พัฒนาระบบการบริหารการศึกษาโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลของการบริหารจดั การบา้ นเมืองท่ีดี

เป้าประสงค์ 1. ผู้รับบรกิ ารไดร้ บั การศึกษา และการเรยี นรู้ ทม่ี คี ุณภาพ และมาตรฐานอยา่ งตอ่ เน่อื ง 2. ผูร้ ับบรกิ ารไดพ้ ัฒนา ศกั ยภาพ ทง้ั ทางดา้ นร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนรู้คณุ ค่าของศิลปวัฒนธรรม 3. ผลงานวจิ ยั ไดร้ บั การเผยแพรแ่ ละนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4. มีเครอื ขา่ ยเชอื่ มโยงกบั ภาคประชาสังคม เพอ่ื ดาเนินกิจกรรมด้านต่างๆ ร่วมกัน 5. ระบบริหารงานท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐานเป็นทย่ี อมรับของผูร้ บั บริการ

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 8

กลยทุ ธ์

1. สรา้ งโอกาสทางการศึกษาทุกระดบั 2. สง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารวชิ าการแกช่ มุ ชน และสงั คม 3. ส่งเสรมิ การทานบุ ารงุ ศาสนา และศิลปวฒั นธรรม 4. พฒั นามาตรฐานหรอื คณุ ภาพของผลผลิตตามอตั ลักษณ์ 5. พัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา เพือ่ สนบั สนนุ เอกลักษณ์และอตั ลักษณ์ 6. สง่ เสรมิ สนับสนุนการวิจัยและพฒั นา 7. ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา 8. พฒั นาระบบบรหิ ารการศกึ ษาตามแนวทางหลกั ธรรมาภิบาล

เอกลักษณ์ เปดิ โอกาสการเรียนรู้ และเสริมสร้างชุมชนสขุ ภาพ อตั ลกั ษณ์ ผลิตบัณฑิตทมี่ ีความรคู้ คู่ ุณธรรม และยึดม่นั ในจรรยาบรรณวชิ าชพี

คา่ นยิ มร่วม

P – Prosperity การประสบผลสาเรจ็ H – Harmony ความปรองดองเปน็ หนึ่งเดยี ว E - Efficiency ความมปี ระสิทธิภาพ U – Utility การเปน็ ประโยชน์ A - Ability การมคี วามสามารถ L – Leadership การมีภาวะผู้นา B - Balance การรักษาสมดลุ T - Tradition การรกั ษาขนบธรรมเนียม H - Humanity ความมมี นษุ ยธรรม L - Logic การมีเหตุมีผล

I - Intelligent ความฉลาดรอบรู้

C - Creativity ความคดิ สร้างสรรค์

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 9

บุคลากรในสังกัดคณะสาธารณสุขศาสตร์

คณะผ้บู รหิ ารคณะสาธารณสขุ ศาสตร์

คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เดช สาราญจติ ต์ รองคณบดีฝา่ ยบรหิ าร อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู รองคณบดฝี ่ายกิจการนกั ศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ อาจารย์จกั รกฤษ เสลา ผู้อานวยการบณั ฑติ ศึกษา อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายวชิ าการ และวิจยั ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยส์ ุนารี ทะน๊ะเปก็ ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายนโยบายและแผน รองศาสตราจารย์ ดร.วฒั น์ บุญกอบ ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร.จันทรจ์ ารี เกตมุ าโร ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยสวสั ดิการ อาจารย์สุพตั รา อศั วไมตรี ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายประชาสัมพันธ์ อาจารย์ ดร.มิ่งขวัญ ศริ ิโชติ

คณาจารยค์ ณะสาธารณสุขศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เดช สาราญจิตต์ - ปร.ด. สงั คมวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2550 - กศ.ม. สขุ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ พ.ศ. 2527 - กศ.บ. สุขศึกษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2522

รองศาสตราจารย์ ดร.วฒั น์ บุญกอบ - ปร.ด. การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2552 - M.S. Health Education, The City University of New York, USA พ.ศ. 2527 - กศ.บ. พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ พ.ศ. 2519

รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทร์จารี เกตุมาโร - ปร.ด. การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2555 - ศษ.ม. สุขศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2540 - ค.ม. พลศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2537 - ศษ.บ. สุขศกึ ษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2530 - ศษ.บ. พลศึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2524

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 10

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร มาตน้ 11 - ปร.ด. อายุรศาสตร์เขตร้อน มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2549 - วท.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2541 - สศ.บ. บรหิ ารสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2534 - สศ.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช พ.ศ. 2531 - ส.บ. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ. 2531

อาจารย์ ดร.มิง่ ขวัญ ศิรโิ ชติ - ส.ด.การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยเกรกิ พ.ศ.2561 - ศษ.ม. การบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2544 - ศษ.บ สุขศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2552 - คบ. บรรณารกั ษศาสตร์ วทิ ยาลยั ครูบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา พ.ศ.2527

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ เพชรมณี - ส.ด. สุขศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ.2545 - กศ.ม. สขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมติ ร พ.ศ.2534 - ส.บ. สาธารณสขุ ชุมชน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ.2560 - ศษ.บ. วชิ าเอก สขุ ศึกษา วิชาโท กฎหมาย มหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2527

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์สุนารี ทะนะ๊ เป๊ก - วท.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ. 2555 - วท.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล พ.ศ. 2552

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู - ส.ด. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ. 2563 - วท.ม. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล พ.ศ. 2552 - วท.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ (อนามัยชุมชน) มหาวิทยาลัยมหดิ ล พ.ศ. 2546 - ศศ.บ. สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช พ.ศ. 2553

อาจารย์ ดร.มงคล รัชชะ - ปร.ด. อาชีวอนามยั และอนามัยส่งิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2564 - วท.ม. สุขศาสตร์อตุ สาหกรรมและความปลอดภัย มหาวทิ ยาลัยมหิดล พ.ศ. 2556 - ส.บ. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 - วท.บ. เทคโนโลยชี วี ภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2546

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

อาจารยจ์ กั รกฤษ เสลา - วศ.ม. วศิ วกรรมความปลอดภัย มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 - ส.บ. อาชีวอนามัยและความปลอดภยั มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 - วท.บ. ภมู ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ พ.ศ. 2548

อาจารย์อนุ สรุ าช - วท.ม. สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย มหาวิทยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2555 - พย.บ. พยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลยั พยาบาลสภากาชาดไทย พ.ศ. 2548

อาจารย์ชุนกิ า แจ่มจารสั - MSc Public Health, Brunel University, UK พ.ศ. 2558 - ศษ.บ. สุขศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2556

อาจารย์สพุ ัตรา อัศวไมตรี - ส.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิยาลัย พ.ศ. 2560 - ส.บ. การจัดการสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยบรู พา พ.ศ. 2558

เจา้ หน้าทคี่ ณะสาธารณสุขศาสตร์

นางสาวสุธกี านต์ คงอานาจ เจ้าหนา้ ทบี่ ริหารงานทั่วไป ชานาญการ

(ปฏิบัตริ าชการหวั หนา้ สานกั งานเลขานุการคณะสาธารณสขุ ศาสตร)์

นางสาวศรลิ ลา คงรกั ษ์ เจา้ หนา้ ทีบ่ รหิ ารงานทัว่ ไป ปฏิบัติการ

นางสาวประภสั สร ศรเี จริญ นกั วิชาการเงินและบัญชี ปฏิบัตกิ าร

นางสาวอิสราภร สายกลนิ่ นักวชิ าการศกึ ษา ปฏบิ ัติการ

นางสาวมรรษมน อินธกรจินดา นกั วชิ าการโสตทศั นศึกษา ปฏบิ ัติการ

นางสาวศศิชา ตรงชูเกียรติ นักวทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ าร

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 12

หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑติ

สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565)

--

ชื่อสถาบันอุดมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง

วิทยาเขต/ คณะ/ ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน

1. ชอ่ื หลกั สูตร หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป รหสั หลักสูตร ภาษาไทย 25510071100443 ภาษาอังกฤษ หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน Bachelor of Public Health Program in Community Health

2. ชือ่ ปริญญา สาธารณสุขศาสตรบัณฑติ (สาธารณสุขชุมชน) ภาษาไทย Bachelor of Public Health (Community Health) ภาษาองั กฤษ ส.บ. (สาธารณสุขชมุ ชน) อักษรย่อ ภาษาไทย B.P.H. (Community Health) อกั ษรย่อ อังกฤษ

3. วิชาเอก - ไมม่ ี -

4. จำนวนหน่วยกติ ท่ีเรยี นตลอดหลักสตู ร 135 หนว่ ยกิต

5. รปู แบบของหลกั สูตร

5.1 รปู แบบ หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู ร 4 ปี

5.2 ประเภทของหลักสูตร

 หลักสูตรปริญญาตรที างวิชาการ

 ปรญิ ญาตรีทางวิชาการ

 ปริญญาตรแี บบก้าวหนา้ ทางวิชาการ

 หลกั สูตรปรญิ ญาตรที างวิชาชีพ

 ปริญญาตรที างวิชาชีพ

 ปรญิ ญาตรีแบบก้าวหนา้ ทางวิชาชพี

 หลกั สตู รปริญญาตรปี ฏิบัติการ

 ปริญญาตรีปฏิบัตกิ าร

 ปริญญาตรีแบบกา้ วหน้าปฏบิ ัติการ

5.3 ภาษาท่ีใช้ ภาษาไทย

5.4 การรบั เขา้ ศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาตา่ งประเทศทส่ี ามารถพูด อ่าน เขยี น

ภาษาไทยไดเ้ ป็นอย่างดี

5.5 ความรว่ มมือกับสถาบันอ่ืน สถาบนั จดั การเรยี นการสอนโดยตรง

5.6 การให้ปริญญาแกผ่ ูส้ ำเรจ็ การศกึ ษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวชิ าเดยี ว

6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 หลกั สูตรใช้บังคบั ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ปรบั ปรุงจากหลกั สูตร..สาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต..สาขาวชิ า..สาธารณสขุ ชมุ ชน..พ.ศ..2560..  ทีป่ ระชมุ สภามหาวิทยาลัยรามคำแหง วาระท.ี่ ..............ครง้ั ท่.ี ............. เม่อื วันท่ี ........เดอื น................พ.ศ...........  สป.อว. (สำนกั งานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม) รับรอง/เห็นชอบ หลกั สูตร เมอ่ื วนั ที่ .................เดอื น............................พ.ศ.....................  องค์กรวชิ าชีพ.................................................. รับรอง/เห็นชอบ หลกั สูตร เมอ่ื วันที่ .................เดอื น............................พ.ศ.....................

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลักสูตรท่ีมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน คาดว่าจะได้รับการเผยแพร่ เป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 ในปีการศึกษา 2567

8. อาชีพทสี่ ามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศกึ ษา 8.1 นักสาธารณสุข ในหน่วยงานภาครฐั และเอกชน 8.2 นกั สาธารณสุขปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. อบต. เทศบาล) 8.3 นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ในหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน 8.4 นกั พัฒนาชมุ ชน ในหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน 8.5 นกั วิจยั และวางแผนพฒั นาอนามยั ชุมชนของหน่วยงานภาครฐั และเอกชน 8.6 นักวชิ าการด้านการส่งเสริมสขุ ภาพ ป้องกันโรค ประจำโรงพยาบาลและคลนิ ิกทัง้ ของรัฐและเอกชน 8.7 หวั หน้าโครงการและผู้ประสานงานโครงการด้านสุขภาพในองค์การเอกชน มลู นธิ ิ สมาคม และหน่วยงานอสิ ระต่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ

9. ช่ือ ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู ร

ลำดับ ช่อื -สกุล ตำแหนง่ ทาง วฒุ ิ สาขาวชิ า สถาบันการศกึ ษา ประเทศ ปีท่ีสำเร็จ 1 นายสรุ เดช สำราญจติ ต์ วิชาการ การศึกษา ไทย การศกึ ษา สังคมวิทยา มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง ไทย 2 นางสาวสพุ ัตรา อัศวไมตรี รองศาสตราจารย์ ปร.ด. สุขศึกษา มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทร 2550 ใบอนุญาต สธช. เลขที่ 22131 กศ.ม. วโิ รฒประสานมิตร ไทย 2527 มหาวิทยาลัยศรีนครินทร 3 นางสาวสุนารี ทะนะ๊ เป็ก กศ.บ. สุขศกึ ษา วิโรฒประสานมิตร ไทย 2522 ใบอนุญาต สธช. เลขท่ี 20629 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไทย อาจารย์ ส.ม. สาธารณสุขศาสตร์ ไทย 2560 4 นายมงคล รชั ชะ ไทย ใบอนุญาต สธช. เลขท่ี 24715 ส.บ. การจัดการสุขภาพชมุ ชน มหาวิทยาลัยบูรพา ไทย 2558 2555 5 นายจกั รกฤษ เสลา ผูช้ ว่ ย วท.ม. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ไทย 2552 ใบอนุญาต สธช. เลขที่ 24999 ศาสตราจารย์ 2564 วท.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไทย อาจารย์ 2556 ปร.ด. อาชวี อนามยั และอนามยั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ไทย อาจารย์ ไทย 2552 สงิ่ แวดลอ้ ม ไทย 2546 วท.ม. สขุ ศาสตรอ์ ุตสาหกรรมและ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ไทย 2559 2552 ความปลอดภยั 2548 ส.บ. อาชีวอนามยั และ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช

ความปลอดภยั

วท.บ. เทคโนโลยีชวี ภาพ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

วศ.ม. วิศวกรรมความปลอดภยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

ส.บ. อาชีวอนามัยและ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

ความปลอดภยั

วท.บ. ภมู ศิ าสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

10. สถานทจ่ี ดั การเรยี นการสอน คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคำแหง

11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทจ่ี ำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สตู ร 11.1 สถานการณ์หรือการพฒั นาทางเศรษฐกิจ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การร่วมมือทางการค้ากับอาเซียน การเพิ่มค่าแรงข้ันต่ำ เป็นปัจจัยท่ีส่งผล

ให้เกิดความต้องการในการจ้างงานด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดการย้ายถิ่น แรงงานต่างด้าวเป็นจำนวนมาก เป็นการเพ่ิมปัญหาทางสังคมและส่งผลกระทบต่อระบบบริการด้าน สาธารณสุขต่อชุมชนเหล่าน้ันด้วย ทั้งทางด้านการระบาดของโรคเดิมและโรคอุบัติใหม่ การระบาดของโรคที่ เกิดจากภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 ที่ยงั คงทวีความ รุนแรงอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงต่อการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ ที่จะต้องเน้นการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) กล่าวคือ การเป็นประเทศท่ี เศรษฐกิจเติบโต สังคมก้าวหน้า ควบคู่ไปกับการรักษาส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุลในระยะยาว เพื่อให้ประเทศ สามารถสร้างสรรค์โอกาสจากความท้าทายภายนอก และสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งภายใน ให้สามารถ

เติบโตต่อไปได้อย่างมั่นคงท่ามกลางความผันแปรท่ีเกิดข้ึนรอบด้าน โดยปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่เกิดข้ึน นับเป็นภัยคุกคามต่อการดำรงชีพของคนจำนวนมาก นอกจากน้ี ยังมีปัญหาด้านสุขภาพจิตของชุมชน ปัญหา จากผู้เสพยาเสพติด คนในสังคมจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็นต้องใช้บุคลากร ท่ีมีความรู้และเข้าใจในสาเหตุของปัญหา สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยทรัพยากรที่มีอยู่ แล้วในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นองค์กร หรือบุคลากรที่ทำงานด้านสาธารณสุขชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน (อสม.) มาทำงานร่วมกันให้เป็นระบบและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ชุมชน แต่ในปัจจบุ ัน ผู้ท่ีได้รับ การฝกึ ฝนให้ทำหน้าท่ีแก้ไขปัญหาด้านอนามยั ชุมชนมีจำนวนไมเ่ พยี งพอกับความตอ้ งการของชมุ ชนท่ีมีจำนวน เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน จึงมีความจำเป็นในการพัฒนาศักยภาพด้านการศึกษาของบุคลากรให้สามารถ แก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ และผลิตบัณฑิตทางสาธารณสุขชุมชนให้เพียงพอในการร่วมแก้ปัญหา ดงั กลา่ ว

11.2 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางสงั คมและวัฒนธรรม ลักษณะปัญหาด้านสาธารณสุขชุมชนในปัจจุบัน เปล่ียนแปลงจากการควบคุมการระบาดของ โรคติดต่อในอดีตไปเป็นการป้องกันการเกิดโรคที่เกิดจากปัญหาทางสังคม หรือป้องกันไม่ให้ชุมชนและ สงิ่ แวดลอ้ มเปน็ ต้นเหตุของการเกดิ โรค เช่น การระบาดของสิ่งเสพติดเขา้ ไปในชมุ ชน หรอื ในสถานศกึ ษา ทง้ั ใน ระดับอุดมศึกษา มัธยมศึกษา และประถมศึกษา ซึ่งเป็นส่ิงท่ีนกั สาธารณสุขชุมชนจะต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาท่ีเป็นภัยคุกคามต่อสังคมไทย การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม เช่น ค่านิยม การบริโภคอาหารแบบ ตะวันตกท่ีมีไขมันสูง ซ่ึงเป็นสาเหตุสำคัญของโรคอ้วน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ โรคความดันโลหิต สูง โรคเบาหวาน และโรคอ่ืน ๆ ปัญหาด้านสาธารณสุขในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุ เป็นอีกปัญหาหน่ึงที่มี แนวโน้มสูงขึ้น ปัญหาเร่ืองการเก็บขยะเชิงพาณิชย์ และมลพิษสิ่งแวดล้อมจากการใช้ถ่านหินเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้า จะมีความรุนแรงมากขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการการเกิดโรคต่างๆ เปลี่ยนไปเป็นโรคที่เกิดจาก การดำเนินวิถีชีวิต แต่ในปัจจุบันทั่วโลกยังคงประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 อย่างตอ่ เน่ือง ซ่ึงปญั หาเหลา่ น้ี เปน็ ปัญหาด้านสาธารณสุขที่ส่วนหนง่ึ เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงของสงั คม วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม นักสาธารณสุขชุมชน จึงต้องมีความพร้อมในการแก้ไขปัญหาชุมชน การวางแผน หลักสูตรจงึ นำมาเป็นข้อพจิ ารณาดว้ ย

12. ผลกระทบต่อการพัฒนาหลกั สตู รและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพฒั นาหลักสูตร เพ่ือให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 การปรับปรุง

หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน มุ่งเน้นการสอนให้บัณฑิตเป็นคนดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จิตอาสา ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ฉลาดรู้ มีปัญญา เป็นผู้ร่วม สร้างสรรค์นวัตกรรม มีทักษะศตวรรษท่ี 21 มีคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ของสังคมและสงั คมโลก สามารถสรา้ งโอกาสและเพ่ิมมูลค่าในการพัฒนาสขุ ภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ตลอดจนมีความรู้ความสามารถทางวิชาการในการพัฒนาสุขภาพ จัดบริการหรือกิจกรรมพัฒนา

สขุ ภาพบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาสขุ ภาพของสังคมตามบรบิ ทของพนื้ ทไี่ ด้ นอกจากน้ี เพื่อให้สอดรับกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) น้ัน จำเป็นที่ จะต้องมีกำลังคนทีม่ ีคุณภาพ สามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าได้อยา่ งเหมาะสม ตลอดจนนำเทคโนโลยมี าใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 บุคลากร ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข นับเป็นกลุ่มกำลังคนสำคัญที่มสี ่วนร่วมในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรค อีกทั้ง การปรับปรุงหลักสูตร ยังมีวัตถุประสงค์ให้สอดรับข้อบังคับสภาการสาธารณสุขชุมชน ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2564 ประกาศ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2564 ท่ีมุ่งให้การผลิตบัณฑิตมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาการ และวิชาชพี

12.2 ความเก่ยี วข้องกับพันธกิจของสถาบนั พันธกิจด้านการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหง เก่ียวข้องกับการประสานความร่วมมือกับ สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการใช้ทรัพยากร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์การศึกษาที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการเรียนรู้และการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา เพ่ือนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมไทย รวมทั้งประชาคมอาเซียนใน อนาคต

13. ความสัมพนั ธ์ (ถ้ามี) กับหลักสตู รอ่นื ที่เปดิ สอนในคณะ/ภาควชิ าอนื่ ของมหาวิทยาลัย

13.1 รายวชิ าในหลกั สูตรที่ต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอ่ืน มีดงั ต่อไปนี้

1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 หน่วยกิต

รายวชิ าตามกลมุ่ ทกั ษะ ไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต

1.1 กลุ่มวิชาพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ไม่น้อยกวา่ 15 หนว่ ยกิต

ดา้ นทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร 9 หน่วยกิต

(1) ภาษาไทย (เลือก 1 วิชา) 3 หนว่ ยกติ

RAM1101 ทกั ษะการใช้ภาษาไทย 3(3-0-6)

Thai Language Skills

RAM1102 ภาษาไทยเพอื่ การนำเสนอ 3(3-0-6)

Thai for Presentations

RAM1103 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารในการทำงาน 3(3-0-6)

Thai for Communication at Work

(2) ภาษาองั กฤษ (บังคับ 1 วิชา) 3 หน่วยกิต RAM1111 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)

English in Daily Life 3 หน่วยกติ (3) ภาษาและวัฒนธรรมตา่ งประเทศ (เลือก 1 วิชา) 3(3-0-6) RAM1112 ภาษาและวฒั นธรรมองั กฤษ 3(3-0-6) 3(3-0-6) English Language and Culture 3(3-0-6) RAM1113 ภาษาและวฒั นธรรมจนี 3(3-0-6) 3(3-0-6) Chinese Language and Culture 3(3-0-6) RAM1114 ภาษาและวัฒนธรรมญปี่ ่นุ 3(3-0-6) 3(3-0-6) Japanese Language and Culture 3(3-0-6) RAM1115 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี 3(3-0-6) 3(3-0-6) Korean Language and Culture 3(3-0-6) RAM1116 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู 3(3-0-6)

Malay Language and Culture 3(3-0-6) RAM1117 ภาษาและวัฒนธรรมเมียนมา

Myanmar Language and Culture RAM1118 ภาษาและวฒั นธรรมเขมร

Khmer Language and Culture RAM1119 ภาษาและวัฒนธรรมเวยี ดนาม

Vietnamese Language and Culture RAM1121 ภาษาและวฒั นธรรมลาว

Laotian Language and Culture RAM1122 ภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ

Arabic Language and Culture RAM1123 ภาษาฮินดีและวัฒนธรรมอินเดีย

Hindi Language and Indian Culture RAM1124 ภาษาและวฒั นธรรมฝรั่งเศส

French Language and Culture RAM1125 ภาษาและวฒั นธรรมเยอรมัน

German Language and Culture RAM1126 ภาษาและวัฒนธรรมสเปน

Spanish Language and Culture

RAM1127 ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซยี Russian Language and Culture

RAM1128 ภาษาและวัฒนธรรมกรกี 3(3-0-6)

Greek Language and Culture

ดา้ นทักษะการใช้เทคโนโลยี (เลือก 1 วชิ า) 3 หน่วยกิต

RAM1131 ทักษะการเขา้ ใจดจิ ิทลั 3(3-0-6)

Digital Literacy

RAM1132 ทักษะทางสารสนเทศ 3(3-0-6)

Information Literacy

ดา้ นทักษะการปรับตัว (เลอื ก 1 วชิ า) 3 หนว่ ยกติ

RAM1141 ศาสตรแ์ ห่งบคุ ลิกภาพ 3(3-0-6)

Science of Personality

RAM1142 การพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสังคม 3(3-0-6)

Quality of Life and Society Development

1.2 กลุ่มวิชาพัฒนาทักษะการเปน็ ผู้สร้างสรรค์นวตั กรรม ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต

ดา้ นทักษะการคดิ (เลือก 1 วิชา) 3 หนว่ ยกติ

RAM1201 ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พ่ือการพัฒนานวตั กรรม 3(3-0-6)

Creativity for Innovation Development

RAM1202 ศลิ ป์สร้างสรรค์ 3(3-0-6)

Creativity Arts

RAM1203 ศาสตร์การคดิ เปลี่ยนโลก 3(3-0-6)

Thinking Science that Changes the World

RAM1204 คณติ ศาสตร์และสถติ เิ พื่อการดำเนินชวี ติ ในโลกสมัยใหม่ 3(3-0-6)

Mathematics and Statistics for Daily Life in the

Modern World

ด้านทักษะการเป็นผูป้ ระกอบการ (เลอื ก 1 วชิ า) 3 หน่วยกติ

RAM1211 ศาสตรแ์ ห่งการเป็นผูป้ ระกอบการ 3(3-0-6)

Principles of Entrepreneurship

RAM1212 ผ้ปู ระกอบการรุ่นใหม่ 3(3-0-6)

Smart Entrepreneurs

RAM1213 ภูมิปญั ญาท้องถ่ินกับการพฒั นานวัตกรรมเพื่อสงั คมและเศรษฐกิจ 3(3-0-6)

Local Wisdom and Innovation Development for

Society and Economy

RAM1214 วถิ วี ิทยส์ ู่โมเดลเศรษฐกิจ BCG 3(3-0-6)

Science, Technology, and Innovation (STI) for the

BCG Economy Model

1.3 กลุ่มวชิ าพฒั นาทกั ษะการเปน็ พลเมืองท่เี ข้มแข็ง ไมน่ ้อยกว่า 9 หนว่ ยกิต

ด้านทักษะการเป็นพลเมอื งและการมจี ติ อาสา 6 หน่วยกิต

บังคบั 1 วชิ า 3 หน่วยกิต

RAM1301 คณุ ธรรมคคู่ วามรู้ 3(3-0-6)

(RAM1000) Morality and Knowledge

เลอื ก 1 วิชา 3 หน่วยกิต

RAM1302 การเมืองและกฎหมายในชีวิตประจำวนั 3(3-0-6)

Politics and Law in Daily Life

RAM1303 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน 3(3-0-6)

Science for Sustainable Development

ดา้ นการเหน็ คุณคา่ ของศิลปะและวฒั นธรรม (เลือก 1 วิชา) 3 หนว่ ยกติ

RAM1311 ศลิ ปะและวฒั นธรรมในทอ้ งถ่ินไทย 3(3-0-6)

Thai Local Art and Culture

RAM1312 วัฒนธรรมร่วมสมัยกับการเปล่ยี นฉบั พลันทางดิจิทลั 3(3-0-6)

Contemporary Culture and Digital Disruption

13.2 รายวิชาในหลกั สตู รท่เี ปิดสอนให้มหาวิทยาลัย / คณะ / ภาควิชา / หลกั สูตรอ่ืนท่ตี ้องมาเรียน - ไม่มี -

13.3 การบริหารจัดการ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากคณะอื่นที่เกี่ยวข้อง

ด้านเน้ือหาสาระ และความสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรตู้ ามมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปริญญาตรี

หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สตู ร 1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร

1.1 ปรัชญาของหลักสูตร มุ่งม่ันพัฒนาองค์ความรู้คู่คุณธรรม จริยธรรม สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ การวิจัย

การบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม ส่งเสริมนวัตกรรม นำภูมิปัญญาสชู่ ุมชน เรียนรู้ตนอย่างต่อเน่ืองตลอด ชวี ิต สู่แนวคดิ เพอื่ การแก้ปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพแบบมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน

1.2 ความสำคญั ของหลกั สตู ร ด้วยขีดความสามารถและความพร้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ได้ถูกจัดตั้งขึ้นตามแผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2551-2554) เพื่อตอบสนองและ รองรบั การผลิตบัณฑติ ทางด้านสาธารณสุข ให้เพยี งพอกับความตอ้ งการของชมุ ชน

โดยหลกั สูตรสาธารณสขุ ชุมชน เป็นสาขาวิชาที่มงุ่ เน้นการสร้างสุขภาพแบบองค์รวม ส่งเสริม การเรียนรู้ การแนะนำและให้คำปรึกษาเก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบำบัดโรคเบ้ืองต้น และการฟื้นฟูสภาพต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ภายใต้หลักฐานเชิงประจักษ์ กฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชีพ เพอื่ พัฒนาระบบสุขภาพทพ่ี ึงประสงค์อย่างบรู ณาการและต่อเนื่อง

1.3 เหตุผลในการปรับปรุงหลกั สตู ร 1.3.1 เพอ่ื ปรับปรงุ ให้ทนั สมยั เหมาะสมกบั สถานการณ์ปจั จบุ ัน 1.3.2 เพอ่ื ปรับปรุงหลกั สตู รให้เปน็ ระบบมาตรฐานสากล 1.3.3 เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายของรัฐ ในการสง่ เสริมการดำเนนิ งานทางด้านสาธารณสขุ 1.3.4 เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งและรองรบั กับมาตรฐานวชิ าชีพสาธารณสุขชุมชน

1.4 วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรเพอื่ ผลติ บณั ฑติ ให้มีคณุ ลักษณะและความสามารถ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.4.1 ใช้กระบวนการคิด แบบมีระบบ มเี หตุผลและสามารถใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ต้ังแต่

การประเมนิ สถานการณ์ วิเคราะห์และสงั เคราะหป์ ัญหาและปัจจยั สาเหตุของปัญหาสขุ ภาพ 1.4.2 วางแผน แก้ปัญหาและปฏิบัติงาน ได้อย่างสร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพ และสามารถ

ควบคมุ กำกบั ประเมินผลแผนงานโครงการสาธารณสขุ ชุมชนได้ 1.4.3 มีความรู้ ทกั ษะ สามารถเป็นทีป่ รึกษา แนะนำ ฝึกอบรม เพื่อบรกิ ารวิชาการแก่ชุมชน

ในการสร้างเสริม เฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันและฟ้ืนฟูสุขภาพของประชาชน โดยดำเนินงานแบบสหวิชาชีพ ทำงาน แบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศทที่ ันสมัย

1.4.4 มีความรบั ผิดชอบ สามารถทำงานเป็นทมี มมี นษุ ยสมั พันธ์ และทักษะการสือ่ สาร 1.4.5 ใช้กระบวนการวจิ ัยและเลอื กผลการวิจยั มาใช้ในการพัฒนางานดา้ นสาธารณสุขชุมชน

2.แผนพฒั นาปรับปรุง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตัวบง่ ช้ี แผนการพัฒนา/ เปลีย่ นแปลง 1.1 วเิ คราะหร์ ายละเอียดของรายวิชา 1.1.1 มีรายละเอยี ดของรายวิชาครบทกุ

1. ปรบั ปรุงคณุ ภาพ ทกุ กระบวนวชิ า ทกุ ภาคการศกึ ษา กระบวนวชิ า การเรียนการสอน 1.1.2 รายงานผลการวเิ คราะห์รายละเอียด 2. ประเมินและปรบั ปรุง มาตรฐานหลกั สตู ร ของรายวิชา

3. พฒั นาบคุ ลากรดา้ น 1.2 ปรับปรงุ แผนการสอนและการ 1.2.1 รายละเอียดของรายวชิ าทป่ี รบั ปรงุ แลว้ การเรียน การสอน และวจิ ัย ประเมนิ ผล (ถ้ามี)

1.3 ตดิ ตามผลการเรยี นรทู้ ้ัง 5 ด้าน 1.3.1 ผลการประเมนิ การเรยี นรทู้ ั้ง 5 ดา้ น

ของนกั ศึกษาทุกภาคการศึกษา ของนกั ศึกษา

2.1 จัดทำแผนการประเมนิ หลกั สูตร 2.1.1 แผนการประเมินหลักสตู ร

2.2 ตดิ ตามการประเมนิ หลกั สูตรตามแผนที่ 2.2.1 รายงานผลการประเมนิ หลักสูตรทุก

วางไว้ ปกี ารศึกษา

2.3 ปรับปรุงหลักสตู รใหท้ นั สมยั ตาม 2.3.1 หลกั สูตรทปี่ รับปรงุ แลว้

มาตรฐานท่ี สกอ. กำหนด

2.4 ปรับปรงุ หลักสูตรใหท้ นั สมยั ตาม 2.4.1 หลกั สตู รท่ปี รับปรงุ แลว้

มาตรฐานวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน

3.1 สง่ อาจารยไ์ ปฝึกอบรมหรือทำวิจัยระยะสั้น 3.1.1 จำนวนครัง้ ที่ไปฝึกอบรมหรอื ทำวิจัย

ระยะสน้ั

3.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญจากในและต่างประเทศ 3.2.1 จำนวนผู้เช่ียวชาญหรอื จำนวนครง้ั ท่ี

มาถา่ ยทอดความรแู้ ละวิทยาการ ผเู้ ช่ยี วชาญมาถา่ ยทอดความรู้และ

วิทยาการ

3.3 สนับสนนุ ให้อาจารย์และนกั ศกึ ษา 3.3.1 จำนวนผลงานวิจยั ทเี่ สนอระดับชาติ

เขา้ ร่วมกิจกรรมเสนอผลงานวิจยั และระดับนานาชาตติ ่อปี

ระดับชาตแิ ละระดับนานาชาติ

หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสรา้ งหลกั สูตร

1.ระบบการจดั การศึกษา

1.1. ระบบ

 ระบบทวภิ าค  ระบบไตรภาค  ระบบจตรุ ภาค

ใชร้ ะบบการศึกษาเปน็ แบบทวิภาค โดย 1 ปกี ารศกึ ษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ

1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ 15 สัปดาห์

1.2. การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น

 มี  ไมม่ ี

มกี ารจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรอื การเปิดสอนภาคฤดรู ้อนขนึ้ อยู่

กับดุลยพินิจของคณะกรรมการประจำหลักสูตร

1.3. การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค

 มี  ไมม่ ี

2. การดำเนนิ การหลกั สตู ร

2.1 วนั – เวลา ในการดำเนนิ การเรยี นการสอน

ภาคการศึกษาที่ 1 : เดอื นกรกฎาคม - เดอื นตลุ าคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 : เดอื นธนั วาคม - เดือนมีนาคม

ภาคฤดูรอ้ น : เดอื นเมษายน – เดือนพฤษภาคม

คุณสมบัติของผู้เขา้ ศึกษา

เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี

พ.ศ. 2558 คือ จะต้องเป็นผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ และ

มีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยรามคำแหงว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.

2560 ขอ้ 5 และ ขอ้ 6 (ภาคผนวก ง.)

2.2 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า

ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษาหรือระดับประกาศนียบัตร มาเป็น

การเรียนท่ีมีรูปแบบทวิภาค ซ่ึงแตกต่างไปจากเดิม มีสังคมกว้างขึ้น ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรม

ทง้ั การเรียนในห้องเรียนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่นี กั ศึกษาต้องสามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม

2.3 กลยทุ ธใ์ นการดำเนินการเพือ่ แก้ไขปญั หา/ข้อจำกัดของนักศกึ ษา

(1) จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนำการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน

มหาวทิ ยาลัย และการจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม

(2) มีระบบการติดตามผลการเรียนโดยอาจารย์ท่ีปรึกษาคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

และฝ่ายพฒั นานักศกึ ษาควบคู่ไปกับการแนะนำการแก้ปัญหาทเ่ี กิดขึน้ ในระหวา่ งการเรยี น

(3) มีระบบการทบทวนความรูเ้ พิ่มเติมให้แก่นักศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง

(4) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโรคติดเชื้ออ่ืนๆ มีการปรับรูปแบบการเรียนการสอนเป็นระบบออนไลน์ เพ่ือให้นักศึกษาสามารถเข้าชั้นเรียนได้อย่างปกติ ส่วนกระบวนวิชาท่ีมีการปฏิบัติ พิจารณาสับเปล่ียนเป็นเรียนในสถานท่ีตั้ง ภายหลังสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคคลีค่ ลาย

2.4 แผนการรับนักศกึ ษา และผสู้ ำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี แผนการรบั นักศึกษา 2 หอ้ งเรียน ห้องละ 50 คน

นกั ศึกษาสาขาวิชา ปกี ารศกึ ษา สาธารณสขุ ชุมชน 2565 2566 2567 2568 2569

ชั้นปที ่ี 1 100 100 100 100 100

ชั้นปที ่ี 2 - 100 100 100 100

ชั้นปที ี่ 3 - - 100 100 100

ชน้ั ปีท่ี 4 - - - 100 100

รวม 100 200 300 400 400

จำนวนผู้จบการศึกษา - - - 100 100

2.5 งบประมาณตามแผน

  1. รายการงบประมาณ

รายการงบประมาณ 2566 จำนวนเงนิ ในแตล่ ะปี พ.ศ. ยอดรวม 2565 2567 2568 2569

ค่าตอบแทน 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 7,500,000

ค่าใชส้ อย 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 500,000

ค่าวสั ดุ 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 500,000

คา่ ครุภณั ฑ์ 118,000 118,000 118,000 118,000 118,000 590,000

ยอดรวม 1,818,000 1,818,000 1,818,000 1,818,000 1,818,000 9,090,000

  1. คา่ ใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา ตลอดหลกั สูตร 96,560 บาท จำนวน 2 ห้องเรยี น หอ้ งเรยี นละ 50 คน

รายการ จำนวนเงนิ ในแตล่ ะปี พ.ศ. ยอดรวม งบประมาณ 2565 2566 2567 2568 2569

ชั้นปที ี่ 1 2,414,000 2,414,000 2,414,000 2,414,000 2,414,000 12,070,000

ชน้ั ปีท่ี 2 - 2,414,000 2,414,000 2,414,000 2,414,000 9,656,000

ช้ันปีที่ 3 - - 2,414,000 2,414,000 2,414,000 7,242,000

ช้นั ปีที่ 4 - - - 2,414,000 2,414,000 4,828,000

ยอดรวม 2,414,000 4,828,000 7,242,000 9,656,000 9,656,000 33,796,000

ระบบการศกึ ษา  แบบช้ันเรยี น  มชี นั้ เรียนหรือศึกษาดว้ ยตนเอง  แบบทางไกลผ่านสือ่ ส่ิงพมิ พ์เป็นหลัก  แบบทางไกลผ่านสอ่ื แพร่ภาพและเสยี งเป็นส่ือหลกั  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนกิ สเ์ ป็นสื่อหลัก (E-learning)  แบบทางไกลผ่านอนิ เตอร์เน็ต  อ่ืนๆ (ระบุ)

2.6 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลัยรามคำแหง ว่าด้วย

การศกึ ษาชนั้ ปริญญาตรี พ.ศ.2560 ข้อ 8 และ ข้อ 9 (รายละเอียดในภาคผนวก ฉ.)

3. หลักสูตรและอาจารยผ์ ู้สอน 135 หน่วยกติ 3.1. หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ 3.1.1 จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร 30 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสรา้ งหลักสตู ร 15 หนว่ ยกิต (1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 6 หน่วยกติ 1.1 กล่มุ วิชาพฒั นาทักษะการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 9 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวชิ าพฒั นาทักษะการเป็นผ้สู รา้ งสรรคน์ วตั กรรม 1.3 กลมุ่ วิชาพัฒนาทักษะการเป็นพลเมืองทเี่ ข้มแข็ง

(2) หมวดวชิ าเฉพาะ 99 หนว่ ยกิต

วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 30 หนว่ ยกติ

(ก) วชิ าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 12 หน่วยกติ

(ข) วชิ าสาธารณสขุ 18 หนว่ ยกิต

วชิ าชีพ 54 หน่วยกติ

  1. กลมุ่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพและอนามัยชมุ ชน 12 หนว่ ยกิต
  1. กล่มุ ป้องกนั โรค ควบคมุ โรค ระบาดวิทยา 11 หน่วยกิต

สถติ แิ ละการวจิ ัยทางด้านสาธารณสุข

  1. กลุ่มตรวจประเมนิ การบำบัดโรคเบ้ืองตน้ 11 หนว่ ยกติ

การดแู ลชว่ ยเหลือฟน้ื ฟแู ละส่งตอ่

  1. กลุม่ อาชวี อนามัยและส่ิงแวดลอ้ ม 10 หน่วยกติ
  1. กลุ่มบรหิ ารสาธารณสขุ และกฎหมายสาธารณสขุ 10 หนว่ ยกิต

การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี แบบบูรณาการ 15 หนว่ ยกติ

(3) หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ

รวม 135 หน่วยกติ

3.1.3 คำอธิบายความหมายของรหสั วิชา

(1) ความหมายของรหสั ประจำกระบวนวชิ า

COH หมายถงึ กระบวนวชิ าในสาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน

PHC หมายถึง กระบวนวิชาแกนของคณะสาธารณสุขศาสตร์

(2) ความหมายของเลขประจำกระบวนวิชา

เลขหลักพัน หมายถงึ ช้ันปขี องกระบวนวิชา (ตวั เลข 1, 2, 3 และ 4

แสดงถึงกระบวนวิชาช้นั ปีท่ี 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ)

เลขหลักร้อย หมายถึง กลุ่มวชิ า ที่มคี วามหมาย ดังนี้

เลข 0, 1 หมายถงึ กลมุ่ วิชาศึกษาทวั่ ไป

เลข 2 หมายถึง กลมุ่ วิชาชพี พื้นฐานสาธารณสุข

เลข 3 หมายถงึ กลมุ่ วิชาชีพเฉพาะด้าน

เลข 4 หมายถึง กล่มุ วิชาเลือกเสรี

เลข 9 หมายถึง กลุ่มวิชาสัมมนา การศึกษาอสิ ระ และฝึกประสบการณ์

วชิ าชีพ

เลขหลักสบิ และหลกั หนว่ ย หมายถงึ ลำดบั ท่ีของกระบวนวิชาในแต่ละกล่มุ วิชา

(3) ความหมายของจำนวนหน่วยกิต

ตัวเลขในวงเล็บต่อจากจำนวนหน่วยกิตในคำอธิบายวิชา เช่น 3 (3-0-6) หมายถึง จำนวน

ช่ัวโมงบรรยาย (3) จำนวนช่ัวโมงฝกึ ปฏิบัติ (0) และจำนวนช่ัวโมงศึกษาดว้ ยตนเองนอกเวลา (6) ตามลำดับ

(4) * หมายถึง กระบวนวิชาทเ่ี ปิดใหม่ ไมน่ ้อยกวา่ 30 หน่วยกิต ** หมายถึง กระบวนวชิ าปรับปรุง ไม่นอ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต ไม่น้อยกวา่ 15 หน่วยกิต 3.1.4 รายวิชาตามโครงสร้างของหลกั สตู ร 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 9 หน่วยกิต รายวิชาตามกลุ่มทักษะ 3 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 3(3-0-6) ดา้ นทกั ษะการใชภ้ าษาเพ่อื การส่ือสาร (1) ภาษาไทย (เลือก 1 วิชา) 3(3-0-6) RAM1101 ทกั ษะการใช้ภาษาไทย Thai Language Skills 3(3-0-6) RAM1102 ภาษาไทยเพอ่ื การนำเสนอ Thai for Presentations 3 หน่วยกติ RAM1103 ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสารในการทำงาน 3(3-0-6) Thai for Communication at Work (2) ภาษาอังกฤษ (บังคับ 1 วิชา) 3 หน่วยกิต RAM1111 ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจำวัน 3(3-0-6) English in Daily Life (3) ภาษาและวฒั นธรรมต่างประเทศ (เลือก 1 วิชา) 3(3-0-6) RAM1112 ภาษาและวัฒนธรรมองั กฤษ English Language and Culture 3(3-0-6) RAM1113 ภาษาและวัฒนธรรมจนี Chinese Language and Culture 3(3-0-6) RAM1114 ภาษาและวัฒนธรรมญป่ี ุ่น Japanese Language and Culture 3(3-0-6) RAM1115 ภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี Korean Language and Culture 3(3-0-6) RAM1116 ภาษาและวัฒนธรรมมลายู Malay Language and Culture 3(3-0-6) RAM1117 ภาษาและวฒั นธรรมเมยี นมา Myanmar Language and Culture RAM1118 ภาษาและวฒั นธรรมเขมร Khmer Language and Culture

RAM1119 ภาษาและวฒั นธรรมเวยี ดนาม 3(3-0-6)

Vietnamese Language and Culture

RAM1121 ภาษาและวัฒนธรรมลาว 3(3-0-6)

Laotian Language and Culture

RAM1122 ภาษาและวัฒนธรรมอาหรบั 3(3-0-6)

Arabic Language and Culture

RAM1123 ภาษาฮินดีและวัฒนธรรมอนิ เดีย 3(3-0-6)

Hindi Language and Indian Culture

RAM1124 ภาษาและวัฒนธรรมฝร่ังเศส 3(3-0-6)

French Language and Culture

RAM1125 ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมนั 3(3-0-6)

German Language and Culture

RAM1126 ภาษาและวัฒนธรรมสเปน 3(3-0-6)

Spanish Language and Culture

RAM1127 ภาษาและวัฒนธรรมรัสเซยี 3(3-0-6)

Russian Language and Culture

RAM1128 ภาษาและวัฒนธรรมกรีก 3(3-0-6)

Greek Language and Culture

ด้านทกั ษะการใช้เทคโนโลยี (เลือก 1 วิชา) 3 หน่วยกติ

RAM1131 ทักษะการเข้าใจดจิ ิทัล 3(3-0-6)

Digital Literacy

RAM1132 ทักษะทางสารสนเทศ 3(3-0-6)

Information Literacy

ดา้ นทักษะการปรบั ตัว (เลอื ก 1 วชิ า) 3 หน่วยกติ

RAM1141 ศาสตร์แหง่ บุคลิกภาพ 3(3-0-6)

Science of Personality

RAM1142 การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และสังคม 3(3-0-6)

Quality of Life and Society Development

1.2 กลุ่มวิชาพฒั นาทกั ษะการเป็นผู้สร้างสรรคน์ วตั กรรม ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต

ด้านทกั ษะการคดิ (เลือก 1 วิชา) 3 หน่วยกติ

RAM1201 ความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่ือการพัฒนานวตั กรรม 3(3-0-6)

Creativity for Innovation Development

RAM1202 ศิลปส์ รา้ งสรรค์ 3(3-0-6)

Creativity Arts

RAM1203 ศาสตร์การคิดเปล่ียนโลก 3(3-0-6)

Thinking Science that Changes the World

RAM1204 คณิตศาสตร์และสถิติเพ่ือการดำเนินชีวิตในโลก 3(3-0-6)

สมยั ใหม่

Mathematics and Statistics for Daily Life in

the Modern World

ดา้ นทกั ษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (เลือก 1 วิชา) 3 หนว่ ยกติ

RAM1211 ศาสตรแ์ หง่ การเป็นผปู้ ระกอบการ 3(3-0-6)

Principles of Entrepreneurship

RAM1212 ผปู้ ระกอบการรุ่นใหม่ 3(3-0-6)

Smart Entrepreneurs

RAM1213 ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ กบั การพฒั นานวัตกรรมเพ่ือสังคม 3(3-0-6)

และเศรษฐกจิ

Local Wisdom and Innovation Development

for Society and Economy

RAM1214 วถิ ีวทิ ย์สโู่ มเดลเศรษฐกิจ BCG 3(3-0-6)

Science, Technology, and Innovation (STI) for

the BCG Economy Model

1.3 กลุ่มวชิ าพัฒนาทกั ษะการเปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แข็ง ไมน่ อ้ ยกวา่ 9 หน่วยกิต

ดา้ นทกั ษะการเปน็ พลเมืองและการมจี ติ อาสา 6 หนว่ ยกติ

บังคบั 1 วิชา 3 หน่วยกิต

RAM1301 คุณธรรมคู่ความรู้ 3(3-0-6)

(RAM1000) Morality and Knowledge

เลอื ก 1 วิชา 3 หนว่ ยกิต

RAM1302 การเมืองและกฎหมายในชีวติ ประจำวนั 3(3-0-6)

Politics and Law in Daily Life

RAM1303 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการพฒั นาที่ย่ังยืน 3(3-0-6)

Science for Sustainable Development

ด้านการเห็นคุณคา่ ของศิลปะและวฒั นธรรม (เลือก 1 วชิ า) 3 หนว่ ยกติ

RAM1311 ศลิ ปะและวฒั นธรรมในทอ้ งถ่ินไทย 3(3-0-6)

Thai Local Art and Culture

RAM1312 วฒั นธรรมรว่ มสมยั กับการเปลี่ยนฉบั พลนั ทางดิจิทัล 3(3-0-6)

Contemporary Culture and Digital Disruption

2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกติ

วชิ าพ้นื ฐานวิชาชพี 30 หน่วยกิต

(ก) วิชาทางวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 12 หน่วยกติ

PHC1218 ชวี วิทยาพื้นฐานสำหรับงานสาธารณสุข 3(3-0-6)

Basic Biology for Public Health

PHC1219 เคมีพ้นื ฐานสำหรับงานสาธารณสุข 3(2-2-5)

Basic Chemistry for Public Health

PHC2220 ชวี เคมสี ำหรบั งานสาธารณสุข 3(2-2-5)

Biochemistry for Public Health

**PHC2224 ฟิสกิ ส์พนื้ ฐานสำหรับงานสาธารณสขุ 3(3-0-6)

(PHC1205) Fundamental Physics for Public Health

(ข) วชิ าสาธารณสุข 18 หน่วยกิต

PHC1203 การสาธารณสุขท่ัวไป 3(3-0-6)

General Public Health

PHC2206 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วิทยาของมนุษย์ 3(2-2-5)

Human Anatomy and Physiology

**PHC2212 สขุ ศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 3(2-2-5)

Health Education and Behavioral Science

PHC2217 ประชากรศาสตรใ์ นงานสาธารณสขุ 3(3-0-6)

Demography in Public Health

PHC2221 จลุ ชีววทิ ยาและปรสิตวทิ ยาสำหรับงานสาธารณสขุ 3(2-2-5)

Microbiology and Parasitology for Public Health

**PHC2223 ชีวสถิติ 3(2-2-5)

(PHC3209) Biostatistics

วชิ าชพี 54 หน่วยกติ

  1. กลุ่มส่งเสรมิ สุขภาพและอนามัยชมุ ชน

COH3303 โภชนศาสตร์ชมุ ชน 3(3-0-6)

Community Nutrition

**COH3304 การสร้างเสรมิ สุขภาพ 2(2-0-4)

Health Promotion

**COH3308 สุขภาพจติ ชุมชน 2(2-0-4)

Community Mental Health

**COH3314 สุขภาพครอบครัว 2(2-0-4)

Family Health

COH4310 สาธารณสขุ ชุมชน 3(2-2-5)

Community Health

  1. กลุม่ ป้องกันโรค ควบคุมโรค ระบาดวิทยา สถติ ิและการวิจยั ทางดา้ นสาธารณสุข

**COH2315 วิทยาการระบาด 3(2-2-5)

(PHC2210) Epidemiology

**COH3305 การปอ้ งกนั และควบคุมโรค 3(2-2-5)

Disease Prevention and Control

**COH3322 ระเบยี บวิธีวิจัยทางสาธารณสขุ 3(2-2-5)

(PHC3216) Research Methodology in Public Health

**COH4901 การศกึ ษาอิสระทางสาธารณสุข 2(1-2-3)

Independent Study in Public Health

  1. กลมุ่ ตรวจประเมนิ การบำบัดโรคเบอ้ื งตน้ การดแู ลช่วยเหลือฟ้ืนฟูและสง่ ต่อ

**COH3302 เภสชั สาธารณสุข 3(2-2-5)

Public Health Pharmacology

COH3306 การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการดูแลฉกุ เฉนิ 3(2-2-5)

First Aids and Emergency Care

**COH3313 การตรวจประเมนิ และบำบดั โรคเบื้องต้น 3(2-2-5)

Primary Health Assessment and Therapy

**COH3323 การใหค้ ำปรึกษาด้านสุขภาพ 2(1-2-3)

(COH3402) Health Counseling

  1. กลุ่มอาชีวอนามยั และส่ิงแวดล้อม

**COH2316 อนามัยส่ิงแวดล้อม 3(2-2-5)

(PHC2222) Environmental Health

**COH2318 อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 3(2-2-5)

(PHC2214) Occupational Health and Safety

**COH2320 การประเมนิ ผลกระทบดา้ นสุขภาพ 2(1-2-3)

(COH3405) Health Impact Assessment

**COH3324 การจัดการสาธารณภยั 2(2-0-4)

(COH3406) Disaster Management

  1. กลุม่ บรหิ ารสาธารณสขุ และกฎหมายสาธารณสขุ

**COH2317 กฎหมายสาธารณสุขและจริยธรรม 2(2-0-4)

(PHC2213) Public Health Laws and Ethics

**COH2319 เศรษฐศาสตร์สาธารณสขุ 2(2-0-4)

(COH3301) Public Health Economics

**COH3321 การบริหารงานสาธารณสุข 2(2-0-4)

(PHC3215) Public Health Administration

**COH4311 ภาวะผู้นำในการพัฒนาสขุ ภาพชุมชน 2(1-2-3)

Leadership in Community Health Development

**COH4312 การวางแผนและการประเมนิ ผลโครงการสขุ ภาพ 2(1-2-3)

Health Program Planning and Evaluation

การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพแบบบรู ณาการ 15 หน่วยกิต

*COH1904 การศึกษาระบบบริการสาธารณสุข 3(0-12-0)

Health Service System Study

*COH2905 การศึกษาชุมชนและการสาธารณสุขมลู ฐาน 3(0-12-0)

Community Study and Primary Health Care

**COH3903 การฝกึ ปฏิบัตติ รวจประเมนิ และบำบัดโรคเบ้ืองตน้ 3(0-12-0)

Practice of Primary Health Assessment and

Therapy

**COH4909 การฝึกประสบการณ์วิชาชพี สาธารณสขุ ชมุ ชน 6(0-24-0)

Field Practicum

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ

ใหเ้ ลือกวิชาทเี่ ปิดสอนในมหาวิทยาลัยรามคำแหงตามทสี่ นใจ หรือกระบวนวิชาในสาขาวิชา

อ่ืนของคณะสาธารณสุขศาสตร์ หรอื รายวิชาดังนี้

COH3401 คอมพิวเตอร์ในงานสาธารณสุข 3(2-2-5)

Computer in Public Health

COH3403 สุขภาพผู้สูงอายุ 3(3-0-6)

Elderly Health

COH3404 ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ 3(2-2-5)

Health Information System

COH3407 การส่ือสารในงานสาธารณสขุ 3(3-0-6)

Communication in Public Health

COH3408 การนิเทศงานสาธารณสุข 3(3-0-6) COH3409 Supervision in Public Health 3(3-0-6) COH3410 ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ไทยกบั สุขภาพทางเลือก 3(3-0-6) Local Thai Wisdom and Alternative Health มานษุ ยวิทยาและสงั คมวทิ ยาสุขภาพ Health Sociology and Anthropology

แผนการศึกษาหลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน

รหสั วิชา ชนั้ ปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ยกิต 3(3-0-6) RAM1101 กระบวนวชิ า RAM1102 กลุม่ วชิ าพัฒนาทกั ษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 3(3-0-6) RAM1103 ด้านทักษะการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร 3(3-0-6) RAM1111 ภาษาไทย (เลือก 1 วชิ า) 3(3-0-6) RAM1141 ทักษะการใชภ้ าษาไทย RAM1142 ภาษาไทยเพื่อการนำเสนอ 3(3-0-6) ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารในการทำงาน 3(3-0-6) RAM1201 ภาษาองั กฤษ (บังคบั 1 วิชา) 3(3-0-6) RAM1202 ภาษาองั กฤษในชวี ิตประจำวนั RAM1203 ด้านทักษะการปรบั ตัว (เลือก 1 วชิ า) 21 RAM1204 ศาสตร์แหง่ บคุ ลิกภาพ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และสงั คม RAM1301 กลุม่ วชิ าพัฒนาทักษะการเป็นผสู้ ร้างสรรคน์ วัตกรรม (RAM1000) ดา้ นทกั ษะการคดิ (เลือก 1 วชิ า) ความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่อื การพัฒนานวตั กรรม PHC1218 ศิลป์สร้างสรรค์ PHC1203 ศาสตร์การคดิ เปล่ยี นโลก คณิตศาสตร์และสถติ เิ พอ่ื การดำเนนิ ชีวติ ในโลกสมยั ใหม่ กลมุ่ วชิ าพัฒนาทักษะการเปน็ พลเมืองทีเ่ ขม้ แข็ง ดา้ นทักษะการเปน็ พลเมอื งและการมีจติ อาสา บงั คับ 1 วิชา คุณธรรมคูค่ วามรู้

พนื้ ฐานวิชาชีพ (ก) วชิ าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ชีววิทยาพื้นฐานสำหรับงานสาธารณสขุ (ข) วชิ าสาธารณสขุ การสาธารณสุขทว่ั ไป

รวมจำนวนหน่วยกิต

รหสั วชิ า ชนั้ ปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกติ 3(3-0-6) RAM1112 กระบวนวิชา RAM1113 กลมุ่ วชิ าพัฒนาทกั ษะการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ 3(3-0-6) RAM1114 ดา้ นทักษะการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) RAM1115 ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ (เลอื ก 1 วิชา) 3(3-0-6) RAM1116 ภาษาและวัฒนธรรมองั กฤษ RAM1117 ภาษาและวัฒนธรรมจนี RAM1118 ภาษาและวฒั นธรรมญี่ปนุ่ RAM1119 ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี RAM1121 ภาษาและวฒั นธรรมมลายู RAM1122 ภาษาและวัฒนธรรมเมยี นมา RAM1123 ภาษาและวัฒนธรรมเขมร RAM1124 ภาษาและวฒั นธรรมเวียดนาม RAM1125 ภาษาและวัฒนธรรมลาว RAM1126 ภาษาและวัฒนธรรมอาหรับ RAM1127 ภาษาฮินดีและวฒั นธรรมอินเดีย RAM1128 ภาษาและวัฒนธรรมฝรัง่ เศส ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมัน RAM1131 ภาษาและวัฒนธรรมสเปน RAM1132 ภาษาและวฒั นธรรมรัสเซยี ภาษาและวฒั นธรรมกรกี RAM1211 ดา้ นทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี (เลือก 1 วชิ า) RAM1212 ทกั ษะการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั RAM1213 ทกั ษะทางสารสนเทศ RAM1214 กลุ่มวชิ าพัฒนาทักษะการเป็นผู้สรา้ งสรรค์นวัตกรรม ดา้ นทกั ษะการเป็นผู้ประกอบการ (เลอื ก 1 วชิ า) RAM1302 ศาสตร์แหง่ การเปน็ ผ้ปู ระกอบการ RAM1303 ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินกับการพฒั นานวตั กรรมเพ่อื สังคมและเศรษฐกจิ วิถวี ทิ ยส์ ู่โมเดลเศรษฐกิจ BCG กลุ่มวชิ าพฒั นาทกั ษะการเปน็ พลเมืองที่เขม้ แข็ง ด้านทกั ษะการเป็นพลเมอื งและการมีจติ อาสา เลือก 1 วิชา การเมืองและกฎหมายในชวี ิตประจำวัน วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื

รหสั วิชา ชน้ั ปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 (ต่อ) หน่วยกิต RAM1311 3(3-0-6) RAM1312 กระบวนวิชา ดา้ นการเหน็ คณุ คา่ ของศลิ ปะและวฒั นธรรม (เลือก 1 วชิ า) 3(2-2-5) PHC1219 ศลิ ปะและวฒั นธรรมในทอ้ งถ่นิ ไทย 3(0-12-0) *COH1904 วัฒนธรรมรว่ มสมยั กับการเปลี่ยนฉับพลันทางดิจทิ ัล พน้ื ฐานวิชาชพี 21 (ก) วชิ าทางวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ เคมพี น้ื ฐานสำหรับงานสาธารณสขุ การฝึกประสบการณ์วิชาชพี แบบบรู ณาการ การศึกษาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ

รวมจำนวนหน่วยกิต

รหสั วชิ า ชน้ั ปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 หน่วยกิต

กระบวนวชิ า 3(2-2-5) 3(3-0-6) พ้นื ฐานวิชาชีพ 3(2-2-5) (ก) วชิ าทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ 3(3-0-6)

PHC2220 ชวี เคมสี ำหรับงานสาธารณสุข 3(2-2-5) 3(2-2-5) **PHC2224 ฟสิ ิกส์พืน้ ฐานสำหรับงานสาธารณสุข (PHC1205) 2(2-0-4) 20 (ข) วิชาสาธารณสขุ

PHC2206 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วิทยาของมนษุ ย์

PHC2217 ประชากรศาสตร์ในงานสาธารณสขุ

วิชาชพี

กลุ่มอาชีวอนามยั และสงิ่ แวดล้อม

**COH2316 อนามัยส่ิงแวดลอ้ ม (PHC2211)

**COH2318 อาชีวอนามยั และความปลอดภยั (PHC2214)

กลุ่มบรหิ ารสาธารณสุขและกฎหมายสาธารณสุข

**COH2319 เศรษฐศาสตรส์ าธารณสุข (COH3301)

รวมจำนวนหน่วยกติ

รหสั วิชา ชนั้ ปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 หนว่ ยกติ

กระบวนวิชา

พ้ืนฐานวชิ าชพี

(ข) วชิ าสาธารณสขุ

**PHC2212 สุขศกึ ษาและพฤตกิ รรมศาสตร์ 3(2-2-5)

PHC2221 จลุ ชีววทิ ยาและปรสติ วทิ ยาสำหรบั งานสาธารณสุข 3(2-2-5)

**PHC2223 ชวี สถติ ิ 3(2-2-5) (PHC3209)

วชิ าชีพ

กลุ่มป้องกนั โรค ควบคมุ โรค ระบาดวิทยา สถิตแิ ละการวจิ ยั ทางดา้ นสาธารณสุข

**COH2315 วิทยาการระบาด 3(2-2-5) (PHC2210)

**COH2320 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ 2(1-2-3) (COH3405)

กล่มุ บรหิ ารสาธารณสุขและกฎหมายสาธารณสุข

**COH2317 กฎหมายสาธารณสขุ และจริยธรรม 2(2-0-4) (PHC2213)

การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี แบบบูรณาการ

*COH2905 การศึกษาชุมชนและการสาธารณสุขมลู ฐาน 3(0-12-0)

รวมจำนวนหนว่ ยกติ 19

รหัสวิชา ชน้ั ปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 หนว่ ยกิต

กระบวนวชิ า

วิชาชพี

กลุ่มส่งเสรมิ สขุ ภาพและอนามัยชมุ ชน

COH3303 โภชนศาสตร์ชมุ ชน 3(3-0-6)

**COH3304 การสร้างเสริมสุขภาพ 2(2-0-4)

กลมุ่ ป้องกนั โรค ควบคมุ โรค ระบาดวทิ ยา สถติ แิ ละการวิจยั ทางด้านสาธารณสุข

**COH3305 การป้องกันและควบคมุ โรค 3(2-2-5)

กลุ่มตรวจประเมิน การบำบดั โรคเบ้ืองต้น การดูแลชว่ ยเหลอื ฟน้ื ฟูและส่งตอ่

**COH3302 เภสัชสาธารณสขุ 3(2-2-5)

COH3306 การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการดูแลฉุกเฉิน 3(2-2-5)

กลุ่มอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม

**COH3324 การจัดการสาธารณภยั 2(2-0-4) (COH3406)

รวมจำนวนหน่วยกิต 16

รหสั วิชา ชน้ั ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกิต

กระบวนวิชา

วิชาชีพ

กลุ่มสง่ เสรมิ สุขภาพและอนามยั ชมุ ชน

**COH3308 สขุ ภาพจิตชุมชน 2(2-0-4)

**COH3314 สขุ ภาพครอบครวั 2(2-0-4)

กลมุ่ ปอ้ งกนั โรค ควบคมุ โรค ระบาดวิทยา สถิติและการวจิ ัยทางดา้ นสาธารณสุข

**COH3322 ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางสาธารณสุข 3(2-2-5) (PHC3216)

กลุ่มตรวจประเมนิ การบำบัดโรคเบ้ืองต้น การดแู ลช่วยเหลือฟ้ืนฟูและสง่ ต่อ

**COH3313 การตรวจประเมินและบำบัดโรคเบ้ืองต้น 3(2-2-5)

**COH3323 การใหค้ ำปรึกษาดา้ นสขุ ภาพ 2(1-2-3) (COH3402)

กลุ่มบรหิ ารสาธารณสขุ และกฎหมายสาธารณสุข

**COH3321 การบรหิ ารงานสาธารณสุข 2(2-0-4) (PHC3215)

การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพแบบบรู ณาการ

**COH3903 การฝกึ ปฏิบัติตรวจประเมินและบำบัดโรคเบื้องตน้ 3(0-12-0)

รวมจำนวนหนว่ ยกิต 17

รหัสวชิ า ชนั้ ปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 หนว่ ยกิต

COH4310 กระบวนวิชาในภาคเรียนที่ 1 **COH4901 **COH4311 วชิ าชีพ **COH4312 กลุ่มสง่ เสรมิ สขุ ภาพและอนามัยชมุ ชน

สาธารณสขุ ชุมชน 3(2-2-5)

กลมุ่ ป้องกนั โรค ควบคมุ โรค ระบาดวิทยา สถติ ิและการวิจยั ทางดา้ นสาธารณสขุ

การศกึ ษาอิสระทางสาธารณสขุ 2(1-2-3)

กลุ่มบรหิ ารสาธารณสุขและกฎหมายสาธารณสุข

ภาวะผู้นำในการพัฒนาสุขภาพชุมชน 2(1-2-3)

การวางแผนและการประเมนิ ผลโครงการสุขภาพ 2(1-2-3)

หมวดวิชาเสรี

วชิ าเลือกเสรี 1 3(X-X-X)

วชิ าเลอื กเสรี 2 3(X-X-X)

รวมจำนวนหน่วยกติ 15

รหสั วชิ า ชนั้ ปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยกติ **COH4909 กระบวนวิชา 6(0-24-0) การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพแบบบรู ณาการ 6 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี สาธารณสุขชมุ ชน

รวมจำนวนหน่วยกติ

3.1.6 คำอธบิ ายกระบวนวิชา

หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป

1.1 กลุ่มวิชาพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชวี ติ

ด้านทกั ษะการใชภ้ าษาเพือ่ การสื่อสาร

(1) ภาษาไทย

RAM1101 ทักษะการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6)

Thai Language Skills

ฝึกทกั ษะการใช้ภาษาไทย การฟัง การพูด การอา่ น และการใชภ้ าษาให้เหมาะสมตามยุคสมัย

สามารถวิเคราะห์ และตีความหมายข้อความได้อย่างถูกต้องและสร้างสรรค์ ตลอดจนการใช้ราชาศัพท์และ

สำนวนไทย ระดับภาษาและการใช้ภาษาในส่ือดิจิทลั

Practice Thai listening, speaking, and reading skills and appropriate language

usage according to various periods. Students will learn to analyze and interpret texts

accurately and creatively. The use of the Thai royal language and expressions, together with

language levels and language usage in digital media, is included.

RAM1102 ภาษาไทยเพือ่ การนำเสนอ 3(3-0-6)

Thai for Presentations

ศึกษาศิลปะการพูด การออกเสียงคำให้ถูกต้องตามอักขระ ฝึกปฏิบัติเพ่ือการพูดใน

ชีวิตประจำวัน การพูดในที่ประชุม การแสดงความคิดเห็น การนำเสนอในโอกาสต่าง ๆ การนำเสนอ

เชงิ วชิ าการ เชิงธรุ กิจ หรอื งานในหน้าท่ี การสมั ภาษณ์เขา้ ทำงาน การพดู อธิบายข้อมูลเพ่อื ให้มีความน่าเช่อื ถือ

The art of speaking and accurate pronunciation. Practice speaking for daily

life, speaking at meetings, commenting, giving presentations on various occasions, including

academic and business situations, or those relating to work, job interviewing, and explaining

information in order to build credibility.

RAM1103 ภาษาไทยเพื่อการส่อื สารในการทำงาน 3(3-0-6)

Thai for Communication at Work

ฝึกทักษะการใช้ภาษาไทยในการทำงาน การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตาม

หลักเกณฑ์และวัฒนธรรมการใช้ภาษา การพูดท่ีใช้ในงานอาชีพและในโอกาสต่าง ๆ ของสังคม การเขียน

จดหมายที่จำเป็นต่อการทำงาน การเขียนประชาสัมพันธ์ และเขียนโฆษณาที่เกิดประโยชน์ในงานอาชีพและ

การดำเนินชวี ติ

Practice Thai language skills for effective and accurate communication in work

situations, according to the language rules and culture, as well as speaking for careers and

on various social occasions, writing correspondence essential for work, writing press releases,

and copywriting, which will be beneficial for work and life.

(2) ภาษาองั กฤษ

RAM1111 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจำวนั 3(3-0-6)

English in Daily Life

ประยุกต์หลักไวยากรณ์ คำศัพท์ และสำนวน เพื่อใช้ในการเสริมสร้างทักษะในการสื่อสาร

คือ การสนทนา การอ่านและการเขียน ให้สอดคล้องและบรรลุวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ในบริบทและ

กรอบสถานการณท์ างสังคมทัว่ ๆ ไป ของการใช้ภาษาอังกฤษ

Application of grammar structure, vocabulary, and expressions to enhance

communication skills—conversation, reading, and speaking—to conform with and achieve

the communicative objectives in the context and general social conventions of English

usage.

(3) ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ

RAM1112 ภาษาและวัฒนธรรมอังกฤษ 3(3-0-6)

English Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยฝึกการฟัง

และการพูดเพื่อใช้ส่ือสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรม

อังกฤษ

A study of basic English vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the English social and cultural context.

RAM1113 ภาษาและวัฒนธรรมจนี 3(3-0-6)

Chinese Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาจีนเบ้ืองต้น โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพ่อื ใชส้ ื่อสารในชวี ติ ประจำวนั ในสถานการณต์ ่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสงั คมและวฒั นธรรมจีน

A study of basic Chinese vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Chinese social and cultural context.

RAM1114 ภาษาและวฒั นธรรมญ่ีปนุ่ 3(3-0-6)

Japanese Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น โดยฝึกการฟัง

และการพดู เพื่อใชส้ ่ือสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบริบทสังคมและวฒั นธรรมญี่ปุ่น

A study of basic Japanese vocabulary and expressions, the sound and

grammar system, and practicing listening and speaking for daily-life communication

appropriate for in various situations within the Japanese social and cultural context.

RAM1115 ภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี 3(3-0-6)

Korean Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาเกาหลีเบ้ืองต้น โดยฝึกการฟังและ

การพูดเพอื่ ใชส้ ่ือสารในชวี ิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรมเกาหลี

A study of basic Korean vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Korean social and cultural context.

RAM1116 ภาษาและวฒั นธรรมมลายู 3(3-0-6)

Malay Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษามลายูเบ้ืองต้น โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพอื่ ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรมมลายู

A study of basic Malay vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Malay social and cultural context.

RAM1117 ภาษาและวัฒนธรรมเมยี นมา 3(3-0-6)

Myanmar Language and Culture

ศกึ ษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณภ์ าษาพม่าเบ้อื งตน้ โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพ่ือใช้ส่อื สารในชีวติ ประจำวนั ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรมเมียนมา

A study of basic Myanmar vocabulary and expressions, the sound and

grammar system, and practicing listening and speaking for daily-life communication

appropriate for various situations within the Myanmar social and cultural context.

RAM1118 ภาษาและวฒั นธรรมเขมร 3(3-0-6)

Khmer Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาเขมรเบื้องต้น โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพอื่ ใช้สื่อสารในชวี ิตประจำวนั ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบริบทสังคมและวฒั นธรรมเขมร

A study of basic Khmer vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Khmer social and cultural context.

RAM1119 ภาษาและวฒั นธรรมเวยี ดนาม 3(3-0-6)

Vietnamese Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาเวียดนามเบ้ืองต้น โดยฝึกการฟัง

และการพูดเพ่ือใช้ส่ือสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรม

เวียดนาม

A study of basic Vietnamese vocabulary and expressions, the sound and

grammar system, and practicing listening and speaking for daily-life communication

appropriate for various situations within the Vietnamese social and cultural context.

RAM1121 ภาษาและวฒั นธรรมลาว 3(3-0-6)

Laotian Language and Culture

ศกึ ษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสยี ง และระบบไวยากรณ์ภาษาลาวเบอ้ื งต้น โดยฝึกการฟังและ

การพูดเพอ่ื ใชส้ อ่ื สารในชวี ติ ประจำวัน ในสถานการณต์ ่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบรบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมลาว

A study of basic Laotian vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Laotian social and cultural context.

RAM1122 ภาษาและวฒั นธรรมอาหรับ 3(3-0-6)

Arabic Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาอาหรับเบ้ืองต้น โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพื่อใชส้ ื่อสารในชวี ิตประจำวนั ในสถานการณต์ ่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรมอาหรับ

A study of basic Arabic vocabulary and expressions, the sound and grammar system, and

practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for various

situations within the Arabic social and cultural context.

RAM1123 ภาษาฮนิ ดีและวฒั นธรรมอินเดีย 3(3-0-6)

Hindi Language and Indian Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณภ์ าษาฮินดเี บื้องต้น โดยฝึกการฟังและ

การพดู เพ่ือใชส้ ือ่ สารในชีวติ ประจำวนั ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสงั คมและวฒั นธรรมอนิ เดีย

A study of basic Hindi vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Indian social and cultural context.

RAM1124 ภาษาและวัฒนธรรมฝรัง่ เศส 3(3-0-6)

French Language and Culture

ศกึ ษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสยี ง และระบบไวยากรณ์ภาษาฝร่ังเศสเบื้องต้น โดยฝึกการฟัง

และการพูดเพ่ือใช้ส่ือสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรม

ฝรงั่ เศส

A study of basic French vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the French social and cultural context.

RAM1125 ภาษาและวัฒนธรรมเยอรมนั 3(3-0-6)

German Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณภ์ าษาเยอรมันเบื้องต้น โดยฝึกการฟัง

และการพูดเพ่ือใช้ส่ือสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรม

เยอรมนั

A study of basic German vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the German social and cultural context.

RAM1126 ภาษาและวฒั นธรรมสเปน 3(3-0-6)

Spanish Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษาสเปนเบื้องต้น โดยฝึกการฟังและ

การพูดเพือ่ ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมในบริบทสังคมและวฒั นธรรมสเปน

A study of basic Spanish vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Spanish social and cultural context.

RAM1127 ภาษาและวฒั นธรรมรัสเซยี 3(3-0-6)

Russian Language and Culture

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษารัสเซียเบื้องต้น โดยฝึกการฟังและ

การพูดเพ่ือใชส้ ื่อสารในชวี ติ ประจำวัน ในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในบริบทสังคมและวัฒนธรรมรสั เซีย

A study of basic Russian vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Russian social and cultural context.

RAM1128 ภาษาและวัฒนธรรมกรีก 3(3-0-6)

Greek Language and Culture

ศกึ ษาคำศพั ท์ สำนวน ระบบเสียง และระบบไวยากรณ์ภาษากรกี เบื้องตน้ โดยฝกึ การฟังและ

การพดู เพอื่ ใชส้ อ่ื สารในชวี ติ ประจำวัน ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมในบรบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมกรกี

A study of basic Greek vocabulary and expressions, the sound and grammar

system, and practicing listening and speaking for daily-life communication appropriate for

various situations within the Greek social and cultural context.

ดา้ นทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี

RAM1131 ทกั ษะการเขา้ ใจดจิ ิทลั 3(3-0-6)

Digital Literacy

ศึกษาสิทธิและความรับผิดชอบยุคดิจิทัล การเข้าถึงดิจิทัล การส่ือสารยุคดิจิทัล

ความปลอดภัยยุคดิจิทัล การรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศ แนวปฏิบัติในสังคมดิจิทัล สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทัล