Visa non ท ประเทศจ น จำก ดอาย ม ย

วีซ่าอื่นๆสำหรับผู้ไม่มีประสงค์จะอพยพ

(Other Non- Immigrant Visas)

รายละเอียด

ยังมีวีซ่าอื่นๆสำหรับผู้ที่ไม่มีประสงค์จะอพยพอีกที่ไม่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้แก่

A-1 ออกให้สมาชิกของการทูตในประเทศต่างๆ

C-1 ออกให้ผู้ที่กำลังรอไปประเทศอื่นได้อย่างรวดเร็ว สำหรับเหตุผลที่ต้องการเปลี่ยนเครื่องบิน หรือเรือ

D-1 ออกให้ลูกเรืออย่างชั่วคราว เพื่อนำผู้โดยสารออกจากพาหนะในประเทศสหรัฐอเมริกา ข้อจำกัดบางส่วนจะถูกใช้เมื่อไม่อนุญาตมีการให้เปลี่ยนแปลงสถานะถูก

G-1 ออกให้พนักงานในองค์กรระหว่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับ

I-1 ออกให้ตัวแทนสำนักข่าวต่างชาติ การวิทยุ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ หรือสื่อข้อมูลต่างๆ

J-1 ออกให้กับผู้มาเยี่ยมเยือนต่างชาติ มีรายการมากมายที่มีคุณลักษณะมีข้อจำกัดการพักอาศัยต่างชาติเป็นเวลา ๒ ปี ซึ่งบังคับให้ผู้ที่มาเยี่ยมเยือนต้องกลับประเทศภายใน ๒๔ เดือนก่อนทำวีซ่าในสถานะอื่น

K-1 ออกให้คู่หมั้นที่แท้จริงของชาวอเมริกัน วีซ่าชนิดนี้อนุมัติให้ผู้ถือเดินทางเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาได้เป็นเวลา ๙๐ วันเพื่อเหตุผลในการแต่งงานกับชาวอเมริกัน

M-1 อนุญาตให้นักเรียนต่างชาติเรียนที่โรงเรียนเพื่อฝึกวิชาชีพ

N-1 ออกให้ผู้ปกครอง หรือบุตรของผู้ถือวีซ่า G-4 (หรือพนักงานขององค์กรระหว่างประเทศ)

O-1 ออกให้กับคนต่างด้าวที่มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ ศิลปะ การศึกษา ธุรกิจ หรือกีฬา ผู้สมัครดังกล่าวต้องแสดงความสามารถดังกล่าวผ่านทางสถาบันของชาติ หรือระหว่างประเทศ สมาชิกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์และโทรทัศน์ต้องแสดงข้อมูลผลงานในอดีต

Q-1 ออกให้ผู้เข้าร่วมโปรแกรมแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมโปรแกรมดังกล่าวต้องมีการอนุมัติก่อนจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง และ สำนักงานการแสดงสัญชาติ นอกจากนั้น โปรแกรมยังต้องมีการฝึกงาน การจ้างงาน และการมีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีในประเทศของคนต่างด้าว

R-1 อนุญาตให้พระผู้สอนศาสนา ผู้มีความเชี่ยวชาญทางศาสนา หรือผู้ที่ทำงานทางด้านศาสนากับองค์กรเพื่อส่วนรวมเดินทางเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาได้ และพำนักอาศัยได้ไม่เกิน ๕ ปี

S-1 ออกให้กับชาวต่างชาติที่มีข้อมูลน่าเชื่อถือให้กับการสอบสวนหรือการฟ้องร้องของรัฐบาล วีซ่า S-2 เป็นอีกสถานะสำหรับผู้ให้ข้อมูลของผู้ก่อการร้าย

TN ออกให้กับผู้มีความเชี่ยวชาญด้านการค้าเสรีของกลุ่มประเทศสหรัฐอเมริกาเหนือ จากประเทศแคนาดา หรือเม็กซิโก เพื่อเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา

– กฎกระทรวงฉบับที่ 27 (พ.ศ.2546) ออกตามในประราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 120 ตอน 59 ก. วันที่ 27 มิถุนายน 2546 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2546)

– คำสั่งสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ที่ 116/2560 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ สำหรับผู้ที่ประสงค์เข้ามาพำนักระยะยาว ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 (Non-O-X)

*** หมายเหตุ : การขอ Visa on Arrival อาจมีค่าธรรมเนียมตามแต่ละประเทศ และข้อมูลต่าง ๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ กรุณาตรวจสอบกับประเทศปลายทางให้แน่ชัดอีกครั้งก่อนเดินทาง ***

เป็นยังไงกันบ้างคะ มีประเทศไหนสนใจอยากไปเที่ยวแล้วหรือยังเอ่ย ? ถ้ามีแล้วก็เตรียมวางแผน ลางาน และจองตั๋วเครื่องบินกันได้เลย แต่ว่าถ้ายุ่งมาก ๆ งานรัดตัวจนไม่มีเวลาเตรียมตัวจริง ๆ การเลือกเดินทางกับทัวร์ ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สะดวกมาก ๆ ช่วยประหยัดเวลาและอำนวยความสะดวกให้คุณได้ และมัชรูมทราเวลก็มี ทัวร์ต่างประเทศ มากมายให้เลือกสรรกันด้วยค่ะ

ส่วนใครอยากไปเที่ยวประเทศนอกเหนือจากนี้ ที่ต้องทำการขอวีซ่าก่อนไปเยือน เราก็มี บริการยื่น วีซ่า ท่องเที่ยว และ วีซ่าธุรกิจ ขอวีซ่า เชงเก้น ด้วยเช่นกัน มีทีมงานคอยให้คำปรึกษาและดำเนินการให้คุณได้รับความสะดวกและรวดเร็วในทุกขั้นตอน สนใจติดต่อมัชรูมเข้ามาได้เลยค่ะ 🙂

Visa Non-B หรือ Non-Immigration Visa Business เป็นประเภทใบอนุญาตให้เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพื่อทำงาน

ผู้ขอ Visa Non-B มีอยู่ 3 กรณีค่ะ

  1. กรณีที่ยังไม่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย หรือวีซ่าหมดอายุ ให้ดำเนินการขอ Visa NON-B ที่สถานทูตไทยในประเทศนั้นๆ โดยตรวจสอบการเตรียมเอกสารได้ที่สถานกงสุลประเทศนั้นๆ (ขึ้นอยู่กับประเทศที่ขอ)
  2. กรณีที่มีการเดินทางเข้ามาในประเทศไทยแล้ว โดยถือวีซ่านักท่องเที่ยว (Tourist Visa) วีซ่าผ่านทาง (Transit Visa) หรือวีซ่าอื่นๆ ให้ดำเนินการเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็น Visa NON-B ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง แจ้งวัฒนะ
  3. กรณีที่มี Visa Non-B อยู่แล้ว แต่อายุวีซ่าใกล้หมด ให้ดำเนินการต่อวีซ่าเพิ่ม ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง แจ้งวัฒนะ

เอกสารประกอบการขอ Visa Non-B / ขอต่อ Visa Non-B / ขอเปลี่ยนประเภท Visa เป็น Visa Non-B มีอะไรบ้าง

  1. แบบฟอร์ม ตม.86 (กรณีเปลี่ยนประเภท Visa เป็น Non-B) หรือ ตม.87 (กรณีต่อ Visa Non-B) หรือแบบฟอร์มของสถานกงสุล ในประเทศนั้นๆ
  2. รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. จำนวน 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)
  3. หนังสือเดินทาง อายุการใช้งานไม่ต่ำกว่า 6 เดือน
  4. หนังสือรับรองจากกระทรวงแรงงาน แจ้งผลอนุญาตให้ทำงาน
  5. ใบอนุญาตการทำงาน และ Visa Non-B ล่าสุด (กรณีต่อ Visa Non-B)
  6. ภ.ง.ด.91 ของคนต่างชาติ
  7. เอกสารสำคัญของบริษัทที่จ้างงาน

ผู้ขอ Visa Non-B ต้องมีคุณสมบัติเบื้องต้นอย่างไร?

  • ชาวต่างชาติ ต้องมีใบอนุญาตทำงาน
  • ชาวต่างชาติ ต้องได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว และมีเงินเดือนตามที่กฎหมายกำหนด
  • บริษัท ต้องมีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ไม่ต่ำกว่า 2 ล้านบาท
  • บริษัท ต้องมีความมั่นคงทางธุรกิจ และต้องมีการประกอบการจริงและต่อเนื่อง
  • บริษัท ต้องมีอัตราส่วน จำนวนคนต่างด้าว กับพนักงานคนไทย 1 ต่อ 4 คน

ค่าธรรมเนียมในการทำ Visa Non-B มี 2 แบบ แล้วแต่ความต้องการของผู้ขอเลยค่ะ

  1. Single Entry (เข้าได้ครั้งเดียว) ราคา 2,000 บาท
  2. Multiple Entry (เข้าได้หลายครั้ง) ราคา 5,000 บาท

ระยะเวลาที่รอ Visa Non-B ประมาณ 1 เดือน ส่วนอายุวีซ่าที่จะได้ขึ้นอยู่กับทางสถานกงสุล หรือ สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองพิจารณา มีทั้ง 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี แต่สำหรับมือใหม่ ได้อยู่ประมาณ 3-6 เดือนนะจ้ะ

ทั้งนี้ Visa Non-B เป็นเพียงแค่ใบเบิกทางอันดับแรกที่จะให้ชาวต่างชาติจากหลายๆ ประเทศ สามารถเดินทางเข้ามาที่ประเทศไทยเพื่อทำงานได้อย่างถูกต้อง แต่สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้คือใบอนุญาตทำงานในประเทศไทย หรือ Work Permit ที่จะต้องใช้ควบคู่กันระหว่างทำงานอยู่ในประเทศไทย