ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer

คำตอบ : เวลาเรียนไม่ต่างจากภาคปกติมากนัก ด้วยในการจัดตารางเรียน จะจัดให้ภาคปกติก่อน เมื่อเสร็จจึงจัดให้กับภาคพิเศษทำให้เวลาเรียนของภาคพิเศษ มีทั้งเช้ามาก (8:00) กลางวัน เย็น และ เสาร์-อาทิตย์ ซึ่งภาคปกติก็มีตารางเรียนแบบนี้เช่นกัน

2. ค่าเทอม เท่าไหร่ มีค่าใช้จ่ายอื่นอีกหรือไม่ และ ประมาณเท่าไหร่?

คำตอบ : ภาคพิเศษ เป็นการเรียนที่ผู้ปกครองออกค่าใช้จ่ายในการเรียนของนิสิต โดยรัฐ ฯ มิได้ให้การสนับสนุน มีค่าใช้จ่ายดังนี้

  1. เทอมตามประกาศของมหาวิทยาลัย 45,700 บาทโดยประมาณ (อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามประกาศ) และไม่รวมภาคฤดูร้อน
  2. เทอมที่มีการลงทะเบียนสหกิจศึกษา (ปี 4/1 หรือ 4/2) เป็นค่าเทอมเหมาจ่ายสหกิจศึกษา ประมาณ 26,100 บาท (ดูประกาศของมหาวิทยาลัย)
  3. ค่าอุปกรณ์ประกอบการเรียน อาทิ Computer, Notebook Computer, Tablet, ตำราเรียน, คู่มือ, ค่าใช้จ่ายอินเตอร์เน็ต, ค่าทำกิจกรรม-รายงาน

3.เรียนแล้วคุ้มไหม

คำตอบ : หากนิสิตมีความตั้งใจ อุตสาหะ หมั่นฝึกฝนตนเองอย่างสม่ำเสมอ ทำงานหนัก พัฒนาตนเอง พัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรม คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ และเข้าร่วมกิจกรรมพิเศษของทางภาควิชา อย่างสม่ำเสมอ และสามารถจบได้ด้วยผลการเรียนที่ดี สามารถหางานที่มีเงินเดือนเฉลี่ยที่ 23,000 – 50,000 บาท (ไม่นับเงินเดือนราชการ และ รัฐวิสาหกิจ) มีโอกาสได้งานสูง ตลาดงานยังมีความต้องการในระดับสูงมากแต่ก็ต้องการคนที่มีความตั้งใจและมีฝีมือดีจริงๆ

4. การเรียน 2 มาตรฐานไหม

คำตอบ : ในวิชาหลักๆของภาควิชาที่นิสิตต้องลงเรียนไม่น้อยกว่า 30 รายวิชา นั้น จะตัดเกรดนิสิตภาคปกติกับภาคพิเศษด้วยกัน และในวิชานอกภาคฯ จำนวนหนึ่งก็จะตัดเกรดด้วยกัน

5. กิจกรรมต่าางๆของภาคพิเศษ มีอะไรบ้าง

คำตอบ : โครงการปริญญาตรีสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ภาคพิเศษ ได้จัดกิจกรรมและให้การสนับสนุนนิสิตภาคพิเศษ ในหลากหลายรูปแบบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

  1. ทุนการศึกษาสำหรับนิสิตชั้นปีที่ 1 ใน 2 ภาคการศึกษา หากนิสิตเรียนไม่ช้าไปกว่าแผนการเรียนที่กำหนดไว้
  1. ทุนผลการเรียนดีเด่น ได้ A 3 รายวิชา และ 5 รายวิชา
  1. การหาที่ฝึกสหกิจศึกษาให้
  1. โครงการความร่วมมือกับ SCB, SaleForce, CP All, CPF, ….. เพื่อเพิ่มโอกาสในการหางาน
  1. ทุนสนับสนุนการไปฝึกสหกิจศึกษาในต่างประเทศ (ประมาณ 5-10 ทุน)
  1. สามารถสมัครเข้าโครงการแลกเปลี่ยน ในต่างประเทศ (ไต้หวัน) 1 ปี
  1. หากสนใจไปเรียนต่อต่างประเทศ (ต้องมีประวัติการเรียนที่ใช้ได้ ระดับภาษาอังกฤษระดับกลางขึ้นไป และ มีทัศนคติที่ดี ฝีมือการเขียนโปรแกมดี) จะมีบริการหาทุนการศึกษาให้
  1. ทุนการนำเสนอ senior project
  1. ทุนนำเสนอผลงานทางวิชาการ ทั้งในและต่างประเทศ
  1. ทุนผู้ช่วยสอน ทุนผู้ช่วยวิจัย
  1. ทุน Summer Camp ต่างประเทศ 2 สัปดาห์ ฟรี (ยกเว้นค่าใช้จ่ายส่วนตัว ค่าประกันสุขภาพ และ หนังสือเดินทาง)

หมายเหตุ : กิจกรรมและทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ขึ้นกับงบประมาณ และ จำนวนนิสิตในแต่ละปี

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เรียนเกี่ยวกับอะไร?

เรียนเกี่ยวกับทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีเครือข่าย

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
ปี 1 เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป เรียนวิชาพื้นฐานเหมือนกันทุกสาขา เช่น แคลคูลัส ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ สถิติ จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ โครงสร้างข้อมูล ปรัชญาวิทยาศาสตร์ พื้นฐานทางการเขียนโปรแกรม

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
ปี 2 เริ่มเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ เรียนวิชาระบบฐานข้อมูล เช่นแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล โครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และต้องเลือกเรียนหมวดวิชาเฉพาะ เช่น วิชาการโปรแกรมภาษาจาวา วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เชิงมัลติมีเดีย

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
ปี 3 เรียนลึกลงไปเกี่ยวกับวิชาเลือก ในปีนี้ต้องเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟแวร์ วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร วิชาปัญญาประดิษฐ์ วิชาภาษาโปรแกรม และต้องเรียนวิชาเลือกตามที่น้องๆสนใจ เช่น วิชาภาษาซีพลัสพลัส วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ฯลฯ

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
ปี 4 ฝึกงาน , สหกิจศึกษา มีการเรียนวิชาเลือกเสรี และฝึกงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรืองานอื่นที่เทียบเท่า ต้องเขียนรายงานและนำเสนอผลงาน หรือฝึกอบรมหรือฝึกงานในต่างประเทศ ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยอาจจะแตกต่างกันไป

ว ทยาการคอมพ วเตอร ราม ม เร ยน summer
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เรียนจบแล้วทำงานอะไร? 1. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 3. นักทดสอบซอฟต์แวร์ (Software Tester) 4. นักออกแบบเว็บ (Web Designer) 5. ผู้บริหารเว็บ (Webmaster) 6. วิศวกรระบบ (System Engineer) 7. วิศวกรเครือข่าย (Network Engineer) 8. ผู้ประสานงานโครงการด้านเทคนิค (Technical Project Coordinator) 9. เจ้าหน้าที่สนับสนุนด้านเทคนิคซอฟต์แวร์ (Software Technical Support) 10. เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือด้านเทคนิค (Technical Help Desk) 11. ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะผลิตภัณฑ์(Product Specialist) 12. นักบริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) 13. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 14. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)