ห จก ชุมพร ค้าวัสดุก่อสร้าง ถือ เป็น ห้างหุ้นส่วน ประเภท ใด

การบัญชีห้างหุ้นส่วน

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีห้างหุ้นส่วน

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับบัญชีห้างหุ้นส่วน

สาระสำคัญ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกิจการธุรกิจห้างหุ้นส่วน สําหรับ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี ต้องการให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ ประเภทและรูป

แบบของการดําเนินธุรกิจ ความหมายและลักษณะของกิจการ ห้างหุ้นส่วน ประเภทของกิจการห้างหุ้นส่วน

ข้อแตกต่างของกิจการห้างหุ้นส่วน การจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วน

สาระการเรียนรู้
1. ประเภทและรูปแบบของการดําเนินธุรกิจ
2. ความหมายและลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน
3. ประเภทของกิจการห้างหุ้นส่วน
4. ข้อแตกต่างของกิจการห้างหุ้นส่วน
5. การจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วน

สมรรถนะประจำหน่วย
เเสดงความรู้เกี่ยวกับกิจการห้างหุ้นส่วน

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วนได้
2. จําแนกประเภทของกิจการห้างหุ้นส่วนได้
3. เปรียบเทียบข้อแตกต่างของกิจการห้างหุ้นส่วนได้
4. บอกขั้นตอนการจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วนได้

เเบบทดสอบก่อนเรียน

เลือกคําตอบที่ ถูกแล้วเขียนลงในช่องเขียนคําตอบ
1. ธุรกิจห้างหุ้นส่วนแบ่งได้เป็นกี่ประเภท ตามข้อใด

ก. 2 ประเภทห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจํากัด
ข. 2 ประเภทห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนไม่จดทะเบียน
ค. 3 ประเภทห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
ง. 3 ประเภทห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจํากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ

ไม่จดทะเบียน
2. กิจการที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปตกลงกระทํากิจกรรมร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์
ที่จะแบ่งกําไรขาดทุน หมายถึงกิจการในข้อใด

ก. กิจการร่วมค้า
ข. กิจการห้างหุ้นส่วน
ค. บริษัทจํากัด

ง. กิจการสมาคมและสโมสร

3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน
ก. ร่วมลงทุนทํากิจกรรมร่วมกัน
ข. มีวัตถุประสงค์แบ่งกําไรขากการประกอบกิจการ
ค. มีสัญญาตกลงจัดตั้งห้างหุ้นส่วนด้วยวาจาหรือลายลักษณ์ อักษร
ง. ผู้เป็นหุ้นส่วนต่างลงทุนไม่เกินจํานวนเงินที่ตนถืออยู่

4. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้บัญญัติกิจการห้างหุ้นส่วนเป็น 2 ประเภท
คือข้อใด

ก. ห้างหุ้นส่วนสามัญและห้างหุ้นส่วนจํากัด
ข. ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและห้างหุ้นส่วนไม่จดทะเบียน
ค. ห้างหุ้นส่วนสามัญและห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
ง. ห้างหุ้นส่วนจํากัดและห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
5. ข้อใดคือเงินทุนที่หุ้นส่วนจําพวกจากัดความรับผิดชอบ สามารถนํามาลงทุนได้
ก. เงินสด

ข. เงินสดและสินทรัพย์อื่น

ค. สินทรัพย์

ง. เงินสด สินทรัพย์อื่นและแรงงาน

6. ข้อใดคือเงินทุนที่หุ้นส่วนจําพวกไม่จากัดความรับผิดชอบ
สามารถนํามาลงทุนได้

ก. เงินสด

ข. เงินสดและสินทรัพย์อื่น

ค. สินทรัพย์

ง. เงินสด สินทรัพย์อื่นและแรงงาน

7. ธุรกิจห้างหุ้นส่วนได้แก่ข้อใด
ก. นายบีม ตั้งร้านค้าขายปลีกย่านดอนเมืองชื่อ “บีมบริการ”
และมีนายเต๋า เป็นผู้ส่งสินค้าให้นายบีม ย่านดอนเมือง
ข. นายแดงลงทุนกับนายดําคนละ 10,000 บาท เพื่อซื้อทุเรียนขาย

ในหน้าทุเรียน เมื่อหมดหน้าทุเรียนแล้วก็เลิกโดยแบ่งกําไรกัน
ค. นาย ก. และญาติอีก 7 คน รวมทุนกันทําธุรกิจขนส่งสินค้า

จากดอนเมืองไปบางนา ตั้งชื่อธุรกิจว่า “ห้างหุ้นส่วน ก.รวมญาติ”
ง. นายขาวและนายเขียวนําเงินสดมาลงทุนคนละ 5,000 บาท

เพื่อซื้อยาอีมาขาย และตกลงแบ่งกําไรขาดทุนเท่ากัน
8. ห้างหุ้นส่วนสามัญมีลักษณะตามข้อใด

ก. จดทะเบียนหรือไม่จดก็ได้
ข. มีหุ้นส่วนสองจําพวก
ค. กฎหมายบังคับให้จดทะเบียน
ง. เงินลงทุนได้แก่สินทรัพย์อื่น
9. ถ้าหุ้นส่วนมิได้ตกลงเรื่องการแบ่งกําไรขาดทุนไว้ กฎหมายให้ปฏิบัติตามข้อใด
ก. แบ่งเท่ากัน
ข. คิดดอกเบี้ยทุน

ค. แบ่งตามข้อตกลง
ง. แบ่งตามอัตราส่วนทุน
10.ห้างหุ้นส่วนจํากัด มีลักษณะตามข้อใด
ก. จดทะเบียนหรือไม่จดก็ได้
ข. มีหุ้นส่วนสองจําพวก
ค. กฎหมายบังคับให้จดทะเบียน
ง. เงินลงทุนได้แก่สินทรัพย์อื่น

ประเภทเเละรูปเเบบของการดำเนินธุรกิจ

1.ประเภทเเละรูปเเบบของการดำเนินธุรกิจ

วิธีการดําเนินชีวิตของคนในปัจจุบันจะต้องเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับธุรกิจ

บ อ น น า เ ป ตี !ต่างๆหลายรูปแบบ ซึ่งตอบสนองความต้องการหรือสร้างความพึงพอใจให้กับผู้บริโภค

โดยสามารถจําแนกประเภทและ รูปแบบของธุรกิจได้ ดังนี้

1.1 ประเภทของการดาเนินธุรกิจ (Type of Business)
เพื่อใช้ ประก1อ2บก3การถาลรนงตนัทดเุลนสี่ิยทนํงาใเธมจุืรอwกงโิwจด0อแยw1ำตธ2เ่.ุภdลร-อ3eกะิปeเ4จมsรื5ตอi่ะ-tาเง6eงภ7ๆ.จทcั8งo9หผส.ูt้วลาhัดมงขทาุรอนถนจแแะบกต่่้งนออง5อพ0ิกจ4ไา1ดร้0เณป็านถึง2ปัจจปัยรตะ่เาภงทๆ
ใหญ่ๆ คือ
[email protected]
1) ธุรกิจขายสิน@ค้าdeเปe็sนiกtิeจการที่จําหน่ ายสินค้าให้แก่ลูกค้า โดยมี

รายได้จากการขาย สินค้า ธุรกิจจําหน่ ายสินค้าแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ

(1) ธุรกิจพาณิชยกรรม (Merchandising Business) เป็นกิจการ

ซื้อมาขายไป จะดําเนินการโดย ซื้อสินค้าสําเร็จรูปมาแล้วจําหน่ ายต่อให้ลูกค้า ดังนั้ น

รายได้หลักของธุรกิจประเภท นี้จึงมาจากการขายสินค้า เช่น ร้านขายของชํา ร้านขาย

เครื่องใช้ไฟฟ้ า ร้านขายหนังสือ ร้ายขาย อะไหล่รถยนต์ ตัวแทนจําหน่ ายเครื่องสําอาง

ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น

(2) ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing Business) เป็นธุรกิจที่

มีการผลิตสินค้า สําเร็จรูปออกมาจําหน่ ายเอง โดยมีกระบวนการผลิตจากวัตถุดิบและ

แปรสภาพเป็นสินค้าสําเร็จรูป เช่น โรงงานผลิตเสื้อผ้าสําเร็จรูป โรงงานผลิตรองเท้า

โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ โรงงานผลิตผลไม้ กระป๋ อง เป็นต้น

2) ธุรกิจบริการ (Service Business) เป็นกิจการที่มีลักษณะ

ขายบริการให้ลูกค้า โดยได้รับผลตอบแทนในรูปของค่าบริการ เช่น ร้านเสริมสวย
ล้างอัดฉีดรถ โรงแรม สถาบัน การเงิน สํานักงานรับทําบัญชี สํานักงานทนายความ
กิจการรักษาความปลอดภัย สถานีบริการ น้ํามัน ร้านซ่อมเครื่องยนต์รถยนต์

บ อ น น า เ ป ตี !เป็นต้น

1.2 รูปแบบการจัดตั้งธุรกิจ

การดําเนินธุรกิจขายสินค้าและธุรกิจบริการ แบ่งการรูปแบบการจัดตั้ง

ธุรกิจได้เป็น 3 รูปแบบ คือ

1) รูปแบบเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็นธุรกิจที่มีการ

จัดตั้ง โดยมีผู้ลงทุนหรือเจ้าของเพียงบุคคลคนเดียว การดําเนินของกิจการอยู่ภายใต้
การควบคุมดูแลของ บุคคลเพียงคนเดียว จึงเรียกกิจการที่มีการจัดตั้งแบบนี้

ว่า“กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship)”การจัดตั้งกิจการเป็นไปอย่างง่าย

ไม่ซับซ้อน และส่วนใหญ่เป็นกิจการมีขนาดเล็ก ได้แก่ ร้านค้าขายปลีก กิจการให้

บริการขนาดเล็กซึ่งเจ้าของกิจการจะเป็นผู้ดําเนินงานต่าง ๆ ของ กิจการเองเกือบ

ทั้ งหมดและเมื่อมีผล

กําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานเกิดขึ้นนั้ น เจ้าของจะเป็นผู้รับกําไรหรือขาดทุน

ทั้ งหมดแต่เพียงผู้เดียวในทางกฎหมายกิจการเจ้าของคนเดียวถือว่า เป็นบุคคล

ธรรมดาไม่ได้เป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากผู้เป็นเจ้าของ

2) รูปแบบห้างหุ้นส่วน (Partnership) ห้างหุ้นส่วนเป็นกิจการที่มีการ
จัดตั้งโดย บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันลงทุนโดยทําสัญญาตกลงร่วมกันดําเนิน

กิจการเป็นหุ้นส่วนกัน เพื่อ หวังผลกําไรจากกิจการที่ทําร่วมกัน ซึ่งโดยทั่ วไปห้างหุ้น

บ อ น น า เ ป ตี !ส่วนจะมีขนาดใหญ่กว่ากิจการเจ้าของคน เดียวและสิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนทุก

คนในกิจการจะเรียกว่า “ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน”ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ ได้แบ่งห้างหุ้นส่วนออกเป็น 2 ประเภท คือ

123 ถ(น1)น. เหล้ีา่ยงงหุ้เนมืสอ่วงนอสำเาภมัอญเมื(อOงrdจัiงnหarวัyดขPaอrนtแnกe่rนsh5i0p4) 1คื0อ ห้างหุ้นส่วน
สสสที่่าาวมมมีนหััุญญ้(นกสิสจ่าวกมนาารรป)ถรจะเโดภดททยะเไเดมบี่ียจยํวานกัโเดปด็นsยaหจนุํwิ้wานตนaิwสบ0s่วุวw1คdนน2eค[email protected]เde-ทรลุd3eี@ยกหee4กsรคse5ืiวอiนst่-tาeiไ6eตtมd้7.่eอcกeห8ุ็oง้eน9ร..่tcสวไh่oดมว้.นกtัhนไดมัร่งจับนํัา้ผนกิัดดจึใงคนสวหาามมนี้ารสรัิบนถผแิขดยอกงหหห้้้าาางงงหหหุุุ้้้นนน

เป็น 2 ประเภทย่อย คือ

(1.1) ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน หมายถึง ห้างหุ้นส่วน
ที่ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุกคนร่วมกันรับผิดชอบในหนี้สินทั้ งปวงของกิจการโดยไม่มีขอบ
เขตจํากัด ผู้รับผิดชอบในการดําเนิน กิจการห้างหุ้นส่วนสามัญ เรียกว่า หุ้นส่วน
ผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนสามัญจะต้องมีป้ ายชื่อและสถาน ที่ตั้งประกอบกิจการ เช่น
ห้างหุ้นส่วนสามสหาย ห้างหุ้นส่วนสามัญสามสหาย

(1.2) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่
ต้องจดทะเบียน เป็นนิติบุคคล ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วน
และบริษัท โดยห้างหุ้นส่วนมี สิทธิถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ และใช้
คําว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ไว้หน้าชื่อ เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
สามสหาย มีผู้ดําเนินกิจการที่เรียกว่า หุ้นส่วนผู้จัดการ

(2) ห้างหุ้นส่วนจํากัด (Limited Partnership) หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่
ต้องจดทะเบียนก่อตั้งเป็นนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจํากัด ตาม ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ว่า ด้วยหุ้นส่วนและบริษัท ห้างหุ้นส่วนจํากัดจําแนกความรับผิดชอบ
ของ

ผู้เป็นหุ้นส่วนได้ 2 ประเภทคือ
(2.1) หุ้นส่วนประเภทที่จํากัดความรับผิดชอบในหนี้สินของห้าง

คือ ผู้เป็น หุ้นส่วนรับผิดชอบในหนี้สินไม่เกินจํานวนทุนที่ตนรับลงทุน เช่น สัญญาว่า
ลงเงินเข้าหุ้น 500,000บาท ผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้ นจะรับผิดชอบต่อหนี้สินของห้างใน
วงเงิน 500,000 เท่านั้ น กฎหมายได้ห้าม มิให้ผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทจํากัดความรับ
ผิดชอบเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ

(2.2) หุ้นส่วนประเภทที่ไม่จํากัดความรับผิดชอบในหนี้สินของ
ห้างทั้ งหมด แม้ว่าหนี้สินนั้ นจะเกินกว่าทุนที่ได้ลงไปก็ตาม กิจการห้างหุ้นส่วนประเภท
นี้จะมีผู้เป็นหุ้นส่วนเป็น ผู้รับผิดชอบในการดําเนินกิจการที่เรียกว่า “หุ้นส่วนผู้
จัดการ”

3)รูปแบบบริษัท(CompanyLimitedorCorporation) เป็นธุรกิจที่มี

ผู้ลงทุน อย่างน้อย 7 คนขึ้นไป ซึ่งเรียกว่า “ผู้ถือหุ้น” ต้องจดทะเบียนก่อตั้งเป็น

นิติบุคคลตามประมวล กฎหมายแพ่งแลพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท บริษัท

จํากัดจะแบ่งทุนที่นํามาลงเป็นหุ้นที่มีมูลค่า เท่า ๆ กัน การบริหารงานของบริษัทจะ
บ อ น น า เ ป ตี !ต้องเป็นรูปแบบคณะกรรมการซึ่งได้เลือกมาจากผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทผู้ที่
กิจการ (บริษัท) ขายหุ้นให้หรือผู้ซื้ อหุ้นจากกิจการเรียกว่า“ผู้ถือหุ้น

(Shareholders)”

โดยผู้ถือหุ้นจ1ะ2รั3บผถิดนชนอเลีบ่ยใงนเมหือนี้งสิอนำขเภอองเบมืรอิษงัทจัเงทห่าวกัดับขสอ่วนนแทกี่ลนง5ทุ0น4ไ1ป0เท่านั้ น
บริษัท แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 012-345-6789

(1) บริษัwทwเอwก.ชdนeeจํsาiกtัดe.cหoร.ือthบริษัทจํากัด (Private Company
แLiกm้ไiขteเพdิ่)มเตต้ิอมงปรจะดมทวละเกบีฎยหนมsตaาายwมปaแsรพd่ะงม[email protected]แeวล[email protected]ละeกsพeiฎาstณeiหtิdมeชeายe์ย).แcoพ่.งthและพาณิชย์ (พระราชบัญญัติ

(2) บริษัทมหาชนจํากัด ( Public Company Limited)

เป็นกิจการที่จัดตั้งใน รูปของบริษัทที่จะต้องจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติบริษัท

มหาชนจํากัด ซึ่งมีข้อกําหนดสรุปได้ดังนี้

ความหมายเเละลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน

2.ความหมายและลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน
2.1 ความหมายของกิจการห้างหุ้นส่วน

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ บัญญัติความหมายของห้างหุ้นส่วน

บ อ น น า เ ป ตี !(Partnership) ไว้ 2 มาตรา คือ
มาตรา 1012 อันว่าสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนคือ สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่สอง
คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทําการร่วมกันด้วยประสงค์จะแบ่งปันกําไรอันจะพึงได้
แต่กิจการที่ทํา1นั2้ น3 ถนนเลี่ยงเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 50410
หพุ้นจนส่าวนนุกสิ่รงมมที่ฉามตบารัลบางรด1า้0วช2ยบ6ันณั้ผนูฑ้เิจปต็ะนsเยปaห็สุนw้wนถเawสาง0s่ินนวw1dนห2e.ใ@de-รทห้ืุ[email protected]อคกee4ทsวคse5iารiนst-มtัพei6etหdตย7.e์้cมeสอ8oิeา9นง.ย.tมcสีhไิo่สวิง่้.งดอtืหั่hนงนนึีห่้งรสืิอ่งลใงดแมรางลงงาทนุนก็ดไ้ดว้ยในห้าง

ห้างหุ้นส่วน หมายถึง ชื่อ สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปตกลงเข้ากัน
เพื่อกระทํากิจกรรมร่วมกันด้วยประสงค์ จะแบ่งปันกําไรอันจะพึงได้แต่กิจการที่ ทํา

นั้ นสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้คําจํากัดความ
ของ กิจการห้างหุ้นส่วนไว้ว่า ห้างหุ้นส่วน คือ กิจการหรือกิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2
คน

ขึ้นไปมีวัตถุประสงค์ ร่วมกันที่ จะประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งและแบ่งปัน

ผลกําไรหรือขาดทุนจากการ นั้ นโดยมีสัญญาเข้าเป็นหุ้นส่วน
จากบทบัญญัติและความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า กิจการห้างหุ้นส่วน หมาย

ถึง กิจการที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงทําสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนโดยนํา
เงินสด สินทรัพย์อื่น หรือแรงงานมาลงทุนเพื่อกระทํากิจกรรมร่วมกันที่ถูกต้องตาม

กฎหมาย โดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่ง กําไรขาดทุนอันได้จากกิจการที่ทํานั้ น

2.2 ลักษณะของกิจการห้างหุ้นส่วน
ตามบัญญัติของกฎหมาย ห้างหุ้นส่วนประกอบด้วยลักษณะสําคัญ 4 ประการ ดังนี้

1)บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน โดยสัญญาดังกล่าว
สามารถตกลงกันด้วยวาจาซึ่งมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมาย แต่เพื่อป้ องกันและขจัด

ปัญหาความไม่ชัดเจนต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น จึงควรจัดทําสัญญาเป็นลายลักษณ์ อักษร

และให้ผู้ร่วมลงทุนทุกคนลง ลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน
2)การลงหุ้นร่วมกัน (Investment) ทุนที่นํามาลงร่วมกัน มี 2 ลักษณะ คือ
1) สินทรัพย์ที่มีตัวตน ได้แก่ เงินสด ลูกหนี้ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
2) สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน ได้แก่ เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ ค่าความนิยม

และแรงงานซึ่งหมายถึงกําลังกาย กําลังความคิดและความสามารถพิเศษ แต่หุ้นส่วน
จํากัดความรับผิดชอบไม่สามารถลงทุนด้วยแรงงานได้

การลงทุนด้วยสินทรัพย์ทั้ ง2 ลักษณะดังกล่าวจะต้องตีค่าเป็นจํานวนเงิน หากไม่มี

การประเมินราคาสินทรัพย์นั้ น ตามกฎหมายถือว่า การลงทุนมีมูลค่าเท่ากัน

3) การดำเนินกิจการร่วมกัน (Operating) ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กําหนดไว้

ใน สัญญา และการดําเนินกิจการจะต้องชอบด้วยกฎหมาย

4) มีวัตถุประสงค์จะแบ่งปันกำไรขาดทุน ตามสัดส่วนที่ระบุไว้ในสัญญาแต่

ถ้ามิได้ตก ลงกันไว้ให้แบ่งกําไรขาดทุนตามส่วนทุนที่นํามาลง

บ อ น น า เ ป ตี !ประเภทของกิจการห้างหุ้นส่วน

3. ประเภทของกิจการห้างหุ้นส่วน
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แบ่งห้างหุ้นส่วนเป็น 2 ประเภทคือ

3.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ผู้
เป็นหุ้นส่วน ทุกคนจะต้องรับผิดชอบร่วมกันในบรรดาหนี้สินทั้ งปวงของห้างหุ้น
ส่วนโดยไม่จํากัดจํานวนโดยผู้เป็น หุ้นส่วนสามารถนําเงินสด ทรัพย์สิน หรือ
แรงงาน

มาลงทุนได้ และห้างหุ้นส่วนสามัญจะจดทะเบียน เป็นนิติบุคคลหรือไม่ก็ได้
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

1) ห้างหุ้นส่วนสามัญมิได้จดทะเบียน (Unregistered Ordinary
Partnership) เป็นห้างหุ้นส่วนที่มีฐานะเป็นบุคคลธรรมดาในรูปของกลุ่มบุคคล
และให้เขียนคํานําหน้าชื่อว่า ห้าง หุ้นส่วนสามัญ เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญจิราภร

2) ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน (Registered Ordinary Partnership)
เป็นห้าง หุ้นส่วนที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย และให้เขียนคํานําหน้า
ชื่อว่าห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคล เช่น ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลจิราภรลักษณะ
สําคัญของห้างหุ้นส่วนสามัญมิได้จดทะเบียนกับห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
ที่แตกต่างกัน คือ ห้างหุ้นส่วนสามัญมิได้จดทะเบียน ไม่ต้องจดทะเบียน
เป็นนิติบุคคล และเสียภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา ส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญจด
ทะเบียน ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล และเสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคลลักษณะ

สําคัญของห้างหุ้นส่วนสามัญมิได้จดทะเบียนกับห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนที่
เหมือนกัน คือ

1. หุ้นส่วนทุกคนรับผิดชอบในหนี้สินไม่จํากัดจํานวน
2. หุ้นส่วนทุกคนมีอํานาจจัดการในห้างหุ้นส่วน ยกเว้นมีข้อตกลงอย่างอื่น
43..หุหุ้น้นสส่่ววนนจละงดํทาุเนนิดน้วธยุรเงกิินจสลักดษแณละะ/เหดีรยือวสกิันนทกัรบัพห้ยา์งอื่หนุ้นแส่ลวะน/หไมร่ืไอดแ้ รยงกงเาว้นนกจ็ไะดม้ี

ข้อตกลงเป็นอย่างอื่น

5. หุ้นส่วนสามารถนําบุคคลอื่นเข้ามาเป็นหุ้นส่วนได้เมื่อได้รับความยินยอม

จากหุ้นส่วนคนอื่น ยกเว้นมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น

6. เมื่อหุ้นส่วนถึงแก่กรรม หรือล้มละลาย หรือไร้ความสามารถ ห้างหุ้นส่วน

นั้ นจะต้องเลิกกิจการ

3.2 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ต้อง
จดทะเบียน เป็นนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจํากัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและ

พาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและ บริษัท แบ่งผู้เป็นหุ้นส่วนออกเป็น 2 แบบ คือ

1) หุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบ หมายถึง หุ้นส่วนที่จํากัดความรับผิดชอบ

เฉพาะ ไม่เกินจํานวนเงินที่นํามาลงหุ้น โดยห้ามมิให้หุ้นส่วนจํากัดความรับผิดเป็น

หุ้นส่วนผู้จัดการ

2) หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดชอบ หมายถึง หุ้นส่วนที่จะต้องรับผิดชอบใน

หนี้สิน ของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จํากัดจํานวน ผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทนี้มีสิทธิเข้าไปนั่ ง
เป็นหุ้นส่วนผู้บริหารของ กิจการห้างหุ้นส่วนจํากัด เรียกว่า หุ้นส่วนผู้จัดการ ตาม

กฎหมายระบุว่าต้องมีหุ้นส่วนแบบไม่จํากัด ความรับผิดชอบอย่างน้อย 1 คนในห้าง

หุ้นส่วนจํากัดนั้ น

ข้อเเตกต่างของกินการห้างหุ้นส่วน

4. ข้อแตกต่างของกิจการห้างหุ้นส่วน
ข้อแตกต่างและข้อดีข้อเสียของกิจการห้างหุ้นส่วนได้ดังต่อไปนี้
4.1 ข้อแตกต่างระหว่าง หุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบกับ หุ้นส่วน

ไม่จำกัดความ รับผิดชอบ

4.2 ข้อแตกต่างระหว่าง ห้างหุ้นส่วนสามัญกับห้างหุ้นส่วนจากัด

บ อ น น า เ ป ตี !

4.3 ข้อดีและข้อจากัดของการประกอบกิจการห้างหุ้นส่วน
1) ข้อดี

(1) ห้างหุ้นส่วนจัดทําขึ้นโดยง่าย เพียงให้มีสัญญาระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน

เท่านั้ นและจะเลิกเมื่อใดก็ได้

(2) มีเงินทุนมากกว่าการประกอบกิจการแบบเจ้าของคนเดียว เพราะห้าง
หุ้นส่วนมีบุคคลหลายคนนํามาลงทุนร่วมกัน และห้างหุ้นส่วนเพิ่มทุนเท่าไรก็ได้

(3) มีความเชื่อถือทางการเงินดีกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว เพราะหุ้น

ส่วนรับผิดชอบในหนี้สินโดยไม่จํากัดจํานวน เว้นแต่พวกจํากัดความรับผิดชอบ
เจ้าหนี้จึงยอมให้เครดิต เพราะมีหลักประกันในหนี้สินมั่นคง

(4) ห้างหุ้นส่วนมีอิสระในการประกอบธุรกิจในด้านไหนก็ได้ หุ้นส่วน
จะเปลี่ยน วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วนก็ได้ เพื่อเหมาะสมกับเหตุการณ์

(5) ห้างหุ้นส่วนสามารถชวนคนที่มีความรู้ความสามารถร่วมกิจการใน

ห้างหุ้นส่วนได้

(6) บรรดาหุ้นส่วนส่วนทั้ งหมดต่างก็มีส่วนได้เสียในห้างหุ้นส่วน
ย่อมมีความระมัดระวังดูแลรักษาผลประโยชน์ ได้ดีกว่ากิจการเจ้าของคนเดียว

(7) หุ้นส่วนได้รับประโยชน์ จากการปรึกษาหรือ และสามารถแบ่งงานกัน
ได้ตาม ความถนัด เช่น ควบคุมบัญชี ควบคุมการขาย

บอนนาเปตี!2) ข้อเสีย
(1) หุ้นส่วนแต่ละคนต้องรับผิดชอบในหนี้สินโดยไม่จํากัดจํานวน ซึ่งอาจ
จะกระทบกระเทือนถึงสินทรัพย์ส่วนตัว เว้นแ่ตพ่ วกจํากัดความรับผิดชอบเท่านั้ น

(21)2ก3าถรดนํานเเนลิี่นยงงเามนือใงนอห้ำาเงภหุอ้นเมสื่อวงนจอังาหจลว่ัดาชข้าอเนพแรกา่นะหุ้5น0ส4่ว1น0พวกรับผิดชอบ

โดยไม่จํากัดจํานวนต้องมีการปรึก0ษ12าห-3าร4ือ5ก-ั6น789

(3) หุ้นส่วนจะถอนwเงwินwทุ.นdeอeอsกitจeา.กcoห้.าtงhหุ้นส่วนได้ยาก เพราะต้องได้รับ

ความยินยอมจากหุ้นส่วนด้วsยaกwันasเสdียeกe่@อนsitedee.co.th

(4) การกระทําของหุ้นส่ว@นdทีe่มeีผsiลteเสียเพียงคนเดียวจะกระทบหุ้นส่วนคน
อื่น ๆหมดทุกคน

(5) ห้างหุ้นส่วนต้องเลิก เมื่อหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตายหรือลาออกอาจทํา
ให้งานที่ กําลังดําเนินอยู่ต้องหยุดชะงักลงได้

(6) การประกอบการแบบห้างหุ้นส่วนกับกิจการที่ใช้ทุนปานกลาง
เป็นกิจการที่ไม่ มีหนี้สินเกี่ยวกับบุคคลภายนอกมากนัก

การจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วน
5. การจัดตั้งกิจการห้างหุ้นส่วน
กิจการห้างหุ้นส่วนเกิดจากบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีข้อตกลงร่วมกัน
ดําเนินธุรกิจการค้าโดยมีวัตถุประสงค์ชอบด้วยกฎหมายไม่ขัดต่อความสงบ

เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของสังคมและ แบ่งปันผลกําไรตามข้อตกลง จึงเป็น

เหตุให้ผู้ประสงค์จะประกอบการห้างหุ้นส่วนควรดําเนินการดังนี้
5.1 การเตรียมการศึกษารายละเอียดและข้อตกลง

5.2 การดําเนินการจัดตั้งและจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 5.3
การวางระบบบัญชีและการจัดทําบัญชี

5.1 เตรียมการศึกษารายละเอียดและข้อตกลง

ในการตกลงที่ จะร่วมลงทุนจัดตั้งเป็นห้างหุ้นส่วนต้องมีการศึ กษา
ข้อมูลรายละเอียด เกี่ยวกับสินค้า บริการ รวมทั้ ง รูปแบบประเภทของห้างหุ้นส่วน
ต้องการให้เป็นนิติบุคคลหรือไม่ การลงทุน และทําความตกลงระหว่างผู้เป็นหุ้น
ส่วนในเรื่องสําคัญ ๆ เช่น จํานวนเงินลงทุน วัตถุประสงค์ การประกอบกิจการ แต่ง

ตั้งหุ้นส่วนผู้จัดการ การแบ่งส่วนผลกําไรขาดทุน เป็นต้น ซึ่งเมื่อตัดสินใจเป็น ที่
แน่ นอนแล้ว ในทางปฏิบัติมักจัดทําเป็นลายลักษณ์ อักษร หรือป้ องกันปัญหาการ

โต้แย้งภายหลัง โดย ให้หุ้นส่วนทุกคนลงนามรับรองและบรรจุข้อความที่เป็นสา
ระสําคัญ

ไว้ในสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน

5.2 การดาเนินการจัดตั้งและจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1078 กําหนดให้ ห้างหุ้นส่วนจํากัด และ
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล จดทะเบียน มีขั้นตอนการจัดตั้งและจดทะเบียนห้างหุ้น

ส่วนนิติบุคคล ดังนี้

บ อ น น า เ ป ตี !1) ตรวจสอบและจองชื่อห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ผู้ขอจดทะเบียนตรวจสอบ

ชื่อที่ต้องการจองว่า ชื่อดังกล่าวต้อง ไม่เหมือนหรือมีเสียงเรียกขานตรงกัน หรือ

คล้ายคลึงกันก1ั2บ3ชื่อถทนี่ ไนดเ้ลจี่ยองงเหมืรอืองไดอ้ำจเดภทอะเมเืบอียงนจัไงว้หกว่ัอดนขอแนล้แวก่หนรื5อ0ขั4ด1ร0ะเบียบสํา

นักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกล0า1ง2ว่า-ด3้4วย5-ก6า7ร8จ9ดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและ บริษัท

(ฉบับที่ 9) พ.ศ.2557 ข้อ 38 (1w) -w(w11.)dดe้eวsยiตteน.cเอoง.thและ นําใบแจ้งผลการจองชื่อไป

ประกอบคําขอจด ทะเบียนต่sอaไwปaผูs้ยdื่นeeค@ําขsiอteสdาeมeา.รcถoต.tรhวจสอบชื่อและจองชื่อผ่านทาง
@deesite
www.dbd.go.th

2) จัดทําคําขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบ เมื่อได้จองชื่อแล้ว ผู้ขอ

จดทะเบียน ต้องจัดทําตราสําคัญของห้างหุ้นส่วน กรอกรายละเอียด (โดยวิธีการพิมพ์
ด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือ คอมพิวเตอร์) ในแบบพิมพ์คําขอจดทะเบียน ให้ครบถ้วนถูก

ต้องตรงตามความเป็นจริงในแบบพิมพ์คํา ขอจดทะเบียน

3) การยื่นขอจดทะเบียน มีหลักเกณฑ์ ในการยื่นขอจดทะเบียน ดังนี้

(1) การกรอกข้อความในแบบพิมพ์คําขอจดทะเบียนและเอกสาร

ประกอบคําขอที่ ใช้ในการจดทะเบียนให้พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด หรือเครื่อง

คอมพิวเตอร์ โดยผู้ขอจดทะเบียนต้องลงลายมือชื่อทุกหน้า
(2) การลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียน จะต้องให้หุ้นส่วนผู้จัดการ

เป็นผู้ลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียนกระทําได้ตามวิธี ดังนี้
(2.1) การลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียนในราชอาณาจักร ผู้ขอ

จดทะเบียนจะต้องลงลายมือชื่อต่อหน้ าบุคคลดังต่อไปนี้

(2.1.1) นายทะเบียน โดยต้องแสดงบัตรประจําตัวต่อนาย

ทะเบียนเพื่อตรวจสอบ

(2.1.2) พนักงานฝ่ ายปกครอง ตํารวจชั้นผู้ใหญ่ซึ่งประจํา

อยู่ในท้องที่ที่ผู้ขอจด ทะเบียนมีภูมิลําเนาอยู่สามัญสมาชิกหรือสมาชิกวิสามัญแห่ง

เนติบัณฑิตยสภา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี หรือบุคคล

ที่กําหนดไว้ตามประกาศสํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท กลาง เรื่อง กําหนดบุคคล
ที่ ผู้ขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัทจํากัดจะลงลายมือชื่อต่อหน้ าได้
(ฉบับที่ 2) (ฉบับที่ 3) และ (ฉบับที่ 4)

(2.2) การลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียนในต่างประเทศ ผู้ขอจด

ทะเบียนจะต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าบุคคล ดังต่อไปนี้

(2.2.1) เจ้าหน้าที่ผู้มีอํานาจของสถานทูตไทยหรือสถาน

กงสุลไทย หรือหัวหน้าสํานักงานสังกัดกระทรวง พาณิชย์ซึ่งรับผิดชอบการดําเนินงาน

บ อ น น า เ ป ตี !ณ ประเทศนั้น หรือเจ้าหน้าที่ผู้ ได้รับมอบหมายให้ทําการแทนบุคคลดังกล่าว หรือ

แห่งประเทศนั้ น

123 ถนนเลี่ยง(2เม.ื2อ.2ง)อบำุคเภคอลเมซึื่องงสาจมังาหรวถัดใขห้อกนารแรก่ับนร5อ0ง4ที่1ส0มบูรณ์ ตามแบบ

ของกฎหมาย 012-345-6789

(2.2.w3w) บwุค.dคeลeทsี่iคteว.รcเoชื่.อthถือได้สองคนมาลงลายมือชื่อ

รับรองต่อหน้ านาย ทะเบียนว่sาaเปw็นasลdาeยeมื@อsชื่iอteผู้dนัe้ นe.จcรoิง.th

(3) การยื่นขอจดทะเบียนท@ําdไดe้e2sวiิtธeี คือ

(3.1) ยื่นคําขอจดทะเบียนพร้อมเอกสารประกอบต่อนายทะเบียน

กรณี นี้ หุ้นส่วนผู้จัดการจะไปยื่นขอจดทะเบียนด้วยตนเองหรือมอบอํานาจให้ผู้อื่น

ไปดําเนินการแทนก็ได้

(3.2) ยื่นคําขอจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตเพื่อให้นายทะเบียนตรวจ

พิจารณา คําขอจดทะเบียนก่อน และเมื่อผ่านการตรวจและตอบรับว่าคําขอจดทะเบียน

ถูกต้องแล้วให้ผู้ขอจด ทะเบียนสั่ งพิมพ์ (print out) เอกสารคําขอจดทะเบียนดังกล่าว

ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ลงลายมือชื่อและ ประทับตราสําคัญของห้างหุ้นส่วน หลังจากนั้ นก็นํา

ไปยื่นขอจดทะเบียนที่สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วน บริษัทหรือส่งทางไปรษณีย์ (คําขอ

จดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตจะอยู่ในระบบ 2 เดือน นับแต่วันที่ยื่นคํา

ขอเข้ามาในระบบ)

(4) ผู้ประกอบการธุรกิจซึ่งประสงค์จะขอจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วนไม่ว่า

จะมีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดใดสามารถยื่นขอจดทะเบียน ณ หน่ วยงาน

ในสังกัดของกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าทุกจังหวัดทั่ วประเทศ ยกเว้น การขอจดทะเบียน

จัดตั้งที่มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการซึ่ง มีกฎหมายพิเศษควบคุม ได้แก่ หลักทรัพย์

คลังสินค้า ห้องเย็น ไซโล นายหน้าประกันภัย บริหาร สินทรัพย์ ให้ยื่นขอจดทะเบียน

ณ สํานักงานบริการจดทะเบียน ดังต่อไปนี้

(4.1) ห้างหุ้นส่วนที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ ตั้งอยู่ในเขต

กรุงเทพมหานครให้ ยื่นขอจดทะเบียนที่กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า (สนามบินน้ํา)

(4.2) ห้างหุ้นส่วนที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัดใด ให้ยื่น

ขอจด ทะเบียนที่สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดซึ่งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทนั้ น

มีสํานักงานแห่งใหญ่ ตั้งอยู่

บ อ น น า เ ป ตี !

บ อ น น า เ ป ตี !

บ อ น น า เ ป ตี !

ตัวอย่างหนังสือสัญญาเข้าหุ้นส่วน
ของห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

บ อ น น า เ ป ตี !

บ อ น น า เ ป ตี !

เเบบทดสอบหลังเรียน

เลือกคําตอบที่ ถูกแล้วเขียนลงในช่องเขียนคําตอบ
1. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของห้างหุ้นส่วน

ก. มีการลงทุนร่วมกัน
ข. ดําเนินกิจการร่วมกัน
ค. มีวัตถุประสงค์แบ่งปันกําไรกัน
ง. เป็นสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
2. หุ้นส่วนประเภทจํากัดความรับผิดลงทุนด้วยสิ่งใดไม่ได้
ก. เงินสด
ข. รถยนต์
ค. สิทธิบัตร
ง. ความเชี่ยวชาญพิเศษ
3. ห้างหุ้นส่วนแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
4. ห้างหุ้นส่วนสามัญ มีลักษณะตามข้อใด
ก. จดทะเบียนหรือไม่ก็ได้
ข. ต้องจดทะเบียน
ค. มีหุ้นส่วน 2 ประเภท
ง. หุ้นส่วนลงทุนด้วยแรงงานไม่ได้
5. จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทางระบบอินเทอร์เน็ตได้ตามข้อใด
ก. www.dbd.go.th
ข. www.rd.go.th
ค. www.bdb.go.th
ง. www.boga.go.th

6. ห้างหุ้นส่วนประเภทใดต่อไปนี้ ที่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันใน

บรรดาหนี้สินทั้ งปวงของ ห้างหุ้นส่วนโดยไม่จํากัดจํานวน

ก. ห้างหุ้นส่วนสามัญ
ข. ห้างหุ้นส่วนจํากัด
ค. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
ง. ห้างหุ้นส่วนสามัญ และห้างหุ้นส่วนจํากัด
7. ผู้มีความประสงค์จะขอจดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน ในเขตภูมิภาคต้องยื่นจด
ทะเบียนได้ที่หน่ วยงานใด

ก. สํานักงานพาณิชย์จังหวัด

ข. สํานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด

ค. สํานักงานบริการจดทะเบียนธุรกิจ 1

ง. ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง

8. หจก. ชุมพรค้าวัสดุก่อสร้าง ถือเป็นห้างหุ้นประเภทใด
ก. ห้างหุ้นส่วนสามัญ
ข. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
ค. ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิได้จดทะเบียน
ง. ห้างหุ้นส่วนจํากัด

9. ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนมิได้กําหนดหลักเกณฑ์ ในการแบ่งกําไรขาดทุนไว้ กฎหมาย

ให้ปฏิบัติตามข้อใด

ก. แบ่งเท่ากัน

ข. ตามส่วนที่ลงหุ้น
ค. ตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน

ง. คิดเงินเดือน และกําไรที่เหลือแบ่งเท่ากัน

10. ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชีของกิจการห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน คือข้อใด
ก. ผู้จัดการ
ข. ผู้จัดการสาขา
ค. หุ้นส่วนผู้จัดการ
ง. ผู้อํานวยการ
******************

วิทยาลัยอาชีวศึกษา

สุราษฎร์ธานี

หจก. ถือเป็นห้างหุ้นส่วนประเภทใด

หจก. หรือชื่อเต็มๆก็คือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด เป็นนิติบุคคลประเภทหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำธุรกิจร่วมกัน โดยหวังนำผลกำไรมาแบ่งกัน ในบทความนี้เราจะมาทำความเข้าใจในทุกแง่มุมของ หจก.(ห้างหุ้นส่วนจำกัด) กัน

ห้างหุ้นส่วนแบ่งเป็น 2 ประเภทคืออะไรบ้าง

ห้างหุ้นส่วนเป็นรูปแบบองค์กรธุรกิจที่อยู่ภายใต้บังคับตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยเป็นสัญญาที่บุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไปตกลงเข้าร่วมกัน เพื่อท ากิจกรรมโดยประสงค์จะแบ่งก าไรจาก กิจการที่ท าขึ้น ห้างหุ้นส่วนมี 2 ประเภท คือห้างหุ้นส่วนสามัญ และ ห้างหุ้นส่วนจ ากัด

ข้อใดถือเป็นหลักเกณฑ์การแบ่งกำไรขาดทุนของห้างหุ้นส่วน

การแบ่งส่วนแบ่งก าไรหรือขาดทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน ควรระบุไว้ในสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนให้ชัดเจน โดยมีหลักเกณฑ์วิธีการแบ่งก าไรขาดทุนที่นิยมปฏิบัติกันโดยทั่วไป คือ 1. แบ่งเท่ากัน 2. แบ่งตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน 3. แบ่งตามอัตราส่วนทุน 4. คิดดอกเบี้ยทุน และแบ่งก าไรขาดทุนที่เหลือตามข้อตกลง 5. คิดเงินเดือน หรือโบนัส แล้วแบ่งก ...

ผู้เป็นหุ้นส่วนที่มีสิทธิ์เป็นผู้จัดการห้างหุ้นส่วนได้จะต้องเป็นหุ้นประเภทใด

1. มีผู้เป็นหุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2. มีผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกเดียว คือ หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดชอบ โดยผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบร่วมกันในบรรดาหนี้สินทั้งปวง ของห้างหุ้นส่วนไม่จำกัดจำนวน 3. ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนเข้าเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้