ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

คลิกทำแบบทดสอบก่อนเรียน หรือ สแกน QR  Code ทำข้อสอบ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

การร้องโน้ตเบื้องต้น

1111111ก่อนจะปฏิบัติเครื่องดนตรีหรือร้องเพลง ต้องเข้าใจหลักการของทฤษฎีดนตรี เพื่อจะได้นำไปสู่การปฏิบัติได้ถูกต้อง  การเรียนรู้ทฤษฎีดนตรีเริ่มต้นด้วยการทำความเข้าใจกับเครื่องหมายทางดนตรีในระดับพื้นฐาน  ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีความสำคัญมากอาจเปรียบเทียบได้กับ พยัญชนะ  สระ และวรรณยุกต์  อันเป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการเขียนและการอ่านภาษาไทยซึ่งใช้สอนผู้เริ่มเรียน  เครื่องหมายทางดนตรีที่นำเสนอนี้เป็นเครื่องหมายในระดับพื้นฐานทางดนตรีสากล  ซึ่งมีรูปแบบและชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้

ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้นทm

1111111ตัวโน้ต   เป็นระบบการบันทึกแทนเสียงดนตรีที่มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 11 โดย กีโด เดอ อเรซ์โซ (Guido d’ Arezzo, 995-1050) บาทหลวงชาวอิตาเลียน ต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งสมบูรณ์อย่างที่เราได้พบเห็นและใช้กันในปัจจุบัน
ตัวโน้ตสามารถบอกหรือสื่อให้นักดนตรีทราบถึงความสั้น – ยาว, สูง – ต่ำ ของระดับเสียงเราจึงควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะของตัวโน้ตดนตรี (Music Notation)

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111ชื่อตัวโน้ตหรืออักษรดนตรี (Alphabet  of  sound)  ใช้เรียงลำดับจากเสียงสูงไปเสียงต่ำนิยมใช้  2  ระบบได้แก่  ระบบอังกฤษ คือ  C   D    E     F    G    A    B    และระบบอิตาลี  คือ  Do    Re    Me    Fa    So    La    Ti

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111บรรทัด   5 เส้น  หมายถึง เส้นขนานแนวนอน  5  เส้นซึ่งเป็นส่วนประกอบพื้นฐานสำคัญในการบันทึกโน้ตดนตรีสากลในปัจจุบัน (ณัชชา โสคติยานุรักษ์, 2550: 34)  ใช้กำหนด

ระดับเสียงสูง-ต่ำของตัวโน้ต  ในการนับให้นับเส้นล่างสุดเป็นเส้นที่ 1 แล้วเรียงลำดับไปจนถึงเส้นที่ 5 และนับจากช่องล่างสุดเป็นช่องที่ 1 แล้วเรียงลำดับไปจนถึงช่องที่  4

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
บรรทัด  5  เส้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ตัวเลขแสดงเส้นของบรรทัด  5  เส้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ตัวเลขแสดงช่องของบรรทัด  5  เส้น

                  2.1  เส้นน้อย (Ledger line) เมื่อนำตัวโน้ตทั้งคาบเส้นและในช่องมาเรียงลำดับจากเสียงต่ำไปเสียงสูงหรือเสียงสูงลงมาเสียงต่ำพบว่าสามารถบันทึกตัวโน้ต
ได้เพียง 11 ตัวเท่านั้น  หากต้องการบันทึกตัวโน้ตเพิ่มเติมให้มีเสียงสูงขึ้นหรือต่ำกว่าบรรทัด  5  เส้นนั้นต้องใช้เส้นที่ต่อขึ้นไปหรือลงมาจากบรรทัด 5 เส้น เรียกเส้นนี้ว่า
“เส้นน้อย” ซึ่งมีลักษณะเป็นเส้นสั้น ๆ ขนานไปกับบรรทัด  5  เส้น และมีช่องห่างระหว่างเส้นเท่ากันดังภาพ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
1111111111

1111111111กุญแจประจำหลักเสียง  เป็นเครื่องหมายกำหนดช่วงเสียงดนตรี  เช่น  กุญแจโซลกำหนดเสียงสูง  กุญแจฟากำหนดช่วงเสียงต่ำ  เป็นต้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
                                           กุญแจโซล                                         กุญแจฟา

11111111113.1  กุญแจโซล  เป็นเครื่องหมายประจำหลักที่ใช้สำหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับกลางถึงสูง ภาษาอังกฤษเรียก “จี เคลฟ”(G Clef) หรือ “เทร็บเบิ้ล เครฟ” (Treble Clef) โดยทั่วไปเรียกว่า “กุญแจโซล” ในการเขียนกุญแจโซลบันทึกโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่  2 ของบรรทัด 5 เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ “โซล”

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111113.2  กุญแจฟา  เป็นเครื่องหมายประจำหลักที่ใช้สำหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับต่ำ ภาษาอังกฤษเรียก “เอฟ เคลฟ” (F Clef) หรือ “เบส เครฟ” (Bass Clef) โดยทั่ว ๆ ไปมักเรียกว่า “กุญแจฟา” ในการเขียนกุญแจฟาเขียนโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่   4 ของบรรทัด  5  เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่  4  ของบรรทัด  5  เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ  “ฟา”

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111เครื่องหมายกำหนดจังหวะ เป็นเครื่องหมายใช้เขียนทำนองเพลง ตัวเลขด้านบน  หมายถึง จำนวนจังหวะใน  1 ห้องเพลง ตัวเลขด้านล่าง  หมายถึง ชนิดของตัวโน้ตที่เป็นเกณฑ์  1  จังหวะ  ความหมายของตัวเลขด้านล่างที่สัมพันธ์กับโน้ตดังนี้
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
หมายถึงในหนึ่งห้องมี สองจังหวะ โดยโน้ตตัวดำมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111111111เลข  2  ตัวบน   หมายถึง  ในหนึ่งห้องเพลงมี    2    จังหวะ
111111111111111เลข  4  ตัวล่าง  หมายถึง   โน้ตตัวดำมีค่าเท่ากับ   1  จังหวะ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  หมายถึงในหนึ่งห้องมี สี่จังหวะ โดยโน้ตตัวดำมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111111111เลข  4  ตัวบน   หมายถึง  ในหนึ่งห้องเพลงมี    4    จังหวะ
111111111111111เลข  4  ตัวล่าง  หมายถึง   โน้ตตัวดำมีค่าเท่ากับ   1  จังหวะ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  หมายถึงในหนึ่งห้องมีสองจังหวะ โดยโน้ตตัวขาวมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

  111111111111111เลข  2  ตัวบน   หมายถึง  ในหนึ่งห้องเพลงมี    2    จังหวะ
111111111111111  เลข  2  ตัวล่าง   หมายถึง  โน้ตตัวขาวมีค่าเท่ากับ   1  จังหวะ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
 หมายถึงในหนึ่งห้องมีหกจังหวะ โดยโน้ตตัวเขบ็ต  1  ชั้น  มีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

  111111111111111เลข  6  ตัวบน   หมายถึง  ในหนึ่งห้องเพลงมี    6    จังหวะ
111111111111111  เลข  8  ตัวล่าง   หมายถึง  โน้ตตัวเขบ็ต  1  ชั้นมีค่าเท่ากับ   1  จังหวะ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111โน้ต (Note) คือ เครื่องหมายที่สามารถปฏิบัติโดยการออกเสียง ในที่นี้หมายถึง“โน้ตสากล”   โรเจอร์ คาเมน (Roger Kamien) ได้กล่าวถึงส่วนประกอบของโน้ตไว้ดังนี้

11111111115.1.  ส่วนประกอบของโน้ต  ส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดของโน้ตคือส่วนที่เรียกว่า “หัวโน้ต (Note Head)”  มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับฟองไข่สอดคล้องกับภาษา
ต้นแบบที่เรียกว่า  “โอวอล์  (Oval)”  มีอยู่  2  รูปแบบ คือ รูปแบบที่  1  เป็นหัวโน้ตที่ไม่ระบายสี  ภาษาต้นแบบเรียกว่า “ไวท์ โอวอล์  (White Oval)” ส่วนรูปแบบที่   2 นั้นเป็นหัวโน้ตที่ระบายสีทึบ ภาษาต้นแบบเรียกว่า “แบล๊ค โอวอล์ (Black Oval)”  ส่วนประกอบอีกอย่างหนึ่งมีลักษณะเป็นเส้นตรงในแนวดิ่ง เมื่ออยู่ด้านขวาของหัวโน้ตจะชี้ขึ้นทาง
ด้านบน และเมื่ออยู่ทางด้านซ้ายของหัวโน้ตจะชี้ลงทางด้านล่าง ภาษาต้นแบบเรียกว่า  “สเทิม  (Stem)”

ส่วนประกอบของโน้ต

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

                      5.2.   ชื่อของลักษณะต่าง ๆ  โดยทั่วไปมีลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

1111111111111111111111

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
111Whole note              เรียกว่า     ตัวกลม

11111111111111111111 1

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
1    1Half  note                 เรียกว่า      ตัวขาว

111111111111111111111

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
11     Quarter  note           เรียกว่า     ตัวดำ

111111111111111111111

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
1     1Eighth  note              เรียกว่า     ตัวเขบ็ต 1 ชั้น

111111111111111111111

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
111  Sixteenth  note         เรียกว่า     ตัวเขบ็ต 2 ชั้น


แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของตัวโน้ต
 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ภาพที่  6  แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของตัวโน้ต
( ที่มา :  ณัชชา  โสคติยานุรักษ์, 2545 )

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111การเพิ่มค่าตัวโน้ตหรือค่าตัวหยุดให้ยาวขึ้นสามารถทำได้   3  วิธีดังนี้
11111111116.1.   โน้ตประจุด  (Dotted note)  เป็นการเพิ่มอัตราจังหวะของตัวโน้ตโดยการประจุด  (.) เพิ่มเข้าไปด้านหลังของตัวโน้ตที่ต้องการเพิ่มอัตราจังหวะ  จุด  (.)  ที่นำมาประหลังตัวโน้ตจะมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของตัวโน้ตข้างหน้าแล้วรวมกัน ดังตัวอย่าง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
 ภาพที่   7  โน้ตประจุด

11111111116.2.  การใช้เครื่องหมายโยงเสียง  การโยงเสียงจะทำให้อัตราจังหวะของตัวโน้ตเพิ่มขึ้นตามอัตราจังหวะของตัวโน้ตที่ถูกโยงโดยใช้เส้นโค้ง   (    

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
   ,       
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
         )   โยงระหว่างตัวโน้ตที่ต้องการจะเพิ่มอัตราของจังหวะ  การโยงเส้นโค้งสามารถโยงตัวโน้ตที่อยู่ต่างห้องกันได้
การโยงเสียงมี  2  ลักษณะ  คือ
111111111111116.2.1  การโยงเสียงชนิดที่เรียกว่า  “ทาย (Tie)”  คือ  การโยงเสียงตัวโน้ต
ที่อยู่ในบรรทัดเดียวกันหรือช่องเดียวกัน  เพื่อให้เสียงยาวออกไป  ดังตัวอย่าง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111111116.2.2  การโยงเสียงชนิดที่เรียกว่าสเลอร์  (Slur) คือ  การรวมจังหวะตัวโน้ตที่อยู่ต่างเส้นของบรรทัดหรืออยู่ในช่องต่างกัน ดังตัวอย่าง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111116.3  การใช้สัญลักษณ์เฟอร์มาตา  (Fermata) สัญลักษณ์เฟอร์มาตามีลักษณะเป็นเส้นโค้งครึ่งวงกลม  มีจุดอยู่เหนือตัวโน้ตหรือตัวหยุด  เฟอร์มาตาจะทำให้โน้ตหรือตัวหยุดมีค่าที่ยาวกว่าค่าที่แท้จริง  แต่ค่าจะมากหรือน้อยเท่าใดไม่กำหนดขึ้นอยู่กับผู้ควบคุมวงดนตรีหรือนักดนตรี

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111จังหวะ  หมายถึง  ช่วงเวลาที่ดำเนินอยู่ในขณะที่บรรเลงดนตรี  จังหวะมีหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของทำนองและแนวประสานให้มีความสัมพันธ์กัน  การเดินของจังหวะจะดำเนินไปอย่างสม่ำเสมอจึงเปรียบเทียบจังหวะเหมือนกับเวลาหรือชีพจรของดนตรี (สมนึก  อุ่นแก้ว,2549,หน้า 1)  จังหวะแบ่งออกเป็น  3  ประเภทดังนี้
11111111117.1  จังหวะเคาะ  (Beat)   หมายถึงจังหวะที่เคาะอย่างสม่ำเสมอเพื่อใช้ยึดเป็นหลักในการบรรเลงดนตรี หรือการขับร้อง โดยปกติมักปฏิบัติโดยการเคาะจังหวะด้วยเท้าเมื่อเล่นดนตรี เช่น เคาะเท้า 1 ครั้งคือ 1 จังหวะเพื่อวัดค่าความยาวของตัวโน้ต เป็นต้น
การเคาะจังหวะแต่ละครั้งจะมีลักษณะดังนี้
111111111111117.1.1  จังหวะตก  (Down Beat)  คือจุดที่ตกกระทบ
11111111111111
7.1.2  จังหวะยก  (Up  Beat)  คือช่วงที่ถอยห่างออกจากกันถึงจุดที่เริ่มตกกระทบ  สามารถปฏิบัติได้หลายวิธีดังนี้

การเคาะจังหวะด้วยเท้า

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ภาพที่    8    แสดงการเคาะจังหวะตกและจังหวะยก
( ที่มา :  อัญชลี  เมฆวิบูลย์ , 2558 )

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ภาพที่  9  การเคาะ  1  จังหวะ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ภาพที่   10   การเคาะ  2  จังหวะ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ภาพที่   11  การเคาะ  4  จังหวะ
( ที่มา :  อัญชลี  เมฆวิบูลย์ , 2558 )

                           7.1.3  จังหวะหนัก (Strong beat) หมายถึงจังหวะที่หนักกว่าจังหวะอื่น ๆ ภายในห้องเพลงเดียวกันมีหลายกลุ่ม เช่น
                                     7.1.3.1  กลุ่ม 2 จังหวะ (Duple Meter) คือ จังหวะหนักอยู่
ที่จังหวะที่  1  จังหวะที่  2  เป็นจังหวะ
เบา

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

                                     7.1.3.2   กลุ่ม 3 จังหวะ (Triple Meter)  คือจังหวะหนักอยู่ที่จังหวะที่  1  จังหวะที่  2,3  เป็นจังหวะเบา

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

 จังหวะที่  2  และ  4   เป็นจังหวะเบา

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111117.2  จังหวะลีลา  (Rhythm)   เช่น  ช่าช่าช่า  รุมบ้า  แทงโก้  เป็นต้น
31111111117.3  จังหวะเทมโป้  (Tempo)   เป็นอัตราจังหวะในเพลง  Classic

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111ในบทเพลงจะมีตัวหยุดเพื่อใช้ในการพักทำนองเพื่อจบวรรคเพลงหรือเพื่อให้เพลงมีสีสันมากขึ้น  “ตัวหยุด” (Rest)  หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเงียบเสียงดนตรีหรือเสียงร้องแต่อัตราจังหวะยังคงดำเนินไปตลอด ตัวหยุดจะถูกเขียนลงบนบรรทัด 5 เส้น เช่นเดียวกับตัวโน้ต มีลักษณะต่างกันดังนี้

11111111111.  ตัวหยุดโน้ตตัวกลม (Whole rest) มีความยาวจังหวะเท่ากับโน้ตตัวกลมแต่ไม่ต้องออกเสียงหรือปฏิบัติ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111112.  ตัวหยุดโน้ตตัวขาว (Half  rest)  มีความยาวจังหวะเท่ากับโน้ตตัวขาวแต่ไม่ต้องออกเสียงหรือปฏิบัติ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111113.  ตัวหยุดโน้ตตัวดำ (Quarter  rest)  มีความยาวจังหวะเท่ากับโน้ตตัวดำแต่ไม่ต้องออกเสียงหรือปฏิบัติ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111114.  ตัวหยุดโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น (Eighth rest)   มีความยาวจังหวะเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้นแต่ไม่ต้องออกเสียงหรือปฏิบัติ

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111115.  ตัวหยุดโน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น (Sixteenth rest)  มีความยาวจังหวะเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้นแต่ไม่ต้องออกเสียงหรือปฏิบัติ

                     

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
      

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111เส้นกั้นห้อง   เป็นเส้นตรงแนวดิ่งเพื่อใช้ในการแบ่งห้องเพลง โดยเขียนลงมาในแนวดิ่งทำให้เกิดห้องเพลง  (Measure)

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

                        9.1  เครื่องหมายจบตอน  (Double line) มีลักษณะเป็นเส้นคู่  ใช้เขียนปิดห้องเพลงเพื่อแสดงให้รู้ถึงการจบตอนของบทเพลง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

                          9.2  เครื่องหมายจบบทเพลง  (Fine)   เป็นเครื่องหมายที่มีลักษณะเป็น
เส้นคู่ที่ประกอบด้วยเส้นบางและเส้นหนา ใช้เขียนปิดห้องเพลงสุดท้ายของบทเพลง
เพื่อแสดงให้รู้ถึงการจบบทเพลง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

                         9.3   เครื่องหมายย้อน  (Repeat Marks) เป็นเครื่องหมายที่ใช้เมื่อมีความประสงค์ที่จะบรรเลงหรือร้องซ้ำในตอนใดตอนหนึ่งของบทเพลง  มีลักษณะเป็นเส้นคู่ที่ประกอบด้วยเส้นหนาและเส้นบางมีจุด  2  จุดประกบอยู่ทางเส้นด้านข้าง

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

11111111111เครื่องหมายแปลงเสียง  เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการยกเสียงของโน้ตให้สูงขึ้น  ลดระดับเสียงของโน้ตให้ต่ำลง  เครื่องหมายแปลงเสียงสำคัญ  5  ชนิด  ดังนี้

111111111110.1  เครื่องหมาย  

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  อ่านว่า ดับเบิ้ลชาร์ป (Double Sharp) คือเครื่องหมายที่มีผลทำให้ตัวโน้ตใดก็ตามที่มีเครื่องหมายนี้ วางอยู่ข้างหน้า โน้ตตัวนั้นจะถูกเลื่อนเสียงให้สูงขึ้นหนึ่งเสียง (1 Tone) ตัวอย่างเช่น  ในบทเพลงหนึ่งเราต้องการให้  A   มีระดับเสียงเพิ่มขึ้นหนึ่งเสียง  เราก็ต้องกำกับด้วยเครื่องหมายดับเบิ้ลชาร์ปหน้าตัว  A  แล้วอ่านเป็น  B เป็นต้น

 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111110.2  เครื่องหมาย 

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  อ่านว่า  ชาร์ป  (Sharp)  คือ  เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงให้สูงขึ้นกว่าเดิมครึ่งเสียง  ตัวอย่างเช่น  ในบทเพลงหนึ่งเราต้องการให้  G  มีระดับเสียงเพิ่มขึ้นครึ่งเสียง  เราก็ต้องกำกับด้วยเครื่องหมายชาร์ปหน้าตัว  G  แล้วอ่านเป็น  G ชาร์ป   เป็นต้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111110.3  เครื่องหมาย     

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  อ่านว่า  ดับเบิ้ลแฟลต  (Double Flat)  คือเครื่องหมายที่มีผลทำให้โน้ตตัวใดก็ตามที่มีเครื่องหมายนี้ วางอยู่ข้างหน้า โน้ตตัวนั้นจะถูกเลื่อนเสียงให้ต่ำลงหนึ่งเสียง   (1 Tone) ตัวอย่าง  เช่น  ในบทเพลงหนึ่งเราต้องการให้  A  มีระดับเสียงลดลงหนึ่งเสียง  เราก็ต้องกำกับด้วยเครื่องหมายดับเบิ้ลแฟลตหน้าตัว  A  แล้วอ่านเป็น  G  เป็นต้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111110.4  เครื่องหมาย     

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
   อ่านว่า  แฟลต (Flat) คือเครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงให้ต่ำลงกว่าเสียงปกติครึ่งเสียง  ตัวอย่าง  เช่น  ในบทเพลงหนึ่งเราต้องการให้  B  มีระดับเสียงต่ำลงมาครึ่งเสียง  เราก็ต้องกำกับด้วยเครื่องหมายแฟลตหน้าตัว  B  แล้วอ่านเป็น  B  แฟลต  เป็นต้น

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

111111111110.5  เครื่องหมาย   

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
  อ่านว่า  เนเจอรัล  (Natural)  คือ  เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงให้กลับมาอยู่ในสภาพเสียงปกติ  คือ ให้มีเสียงต่ำลงมาครึ่งเสียงอันเนื่องมาจากเครื่องหมายแฟลต  หรือให้มีเสียงสูงขึ้นครึ่งเสียงอันเนื่องมาจากเครื่องหมายชาร์ป ตัวอย่างเช่น  เสียง  C  ถูกกำหนดให้ต่ำกว่าปกติครึ่งเสียงโดยเครื่องหมายแฟลตอยู่ที่หลังกุญแจประจำหลัก  เมื่อเราต้องการให้เสียง  C  อยู่ในสภาพเดิม  ก็ต้องกำกับด้วยเครื่องหมายเนเจอรัลหน้าตัว  C  อ่านเป็น  C เนเจอรัล  เป็นต้น

                

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

1111111111สัญลักษณ์ทางดนตรีและศัพท์ทางดนตรี  เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องบันทึกประกอบกับโน้ตดนตรีด้วย  เครื่องหมายเหล่านี้สามารถใช้แทนศัพท์บางคำ  หรือแทนคำสั่งยาว  ๆ  ได้เป็นอย่างดี  นักดนตรีจำเป็นต้องรู้จักและจดจำ (ประสิทธิ์  เลียวศิริพงศ์,2533,100)  ในบทเพลงแต่ละเพลง  การที่จะเล่นดนตรีหรือร้องเพลงไปตามโน้ตนั้นจะต้องรู้ความหมายของสัญลักษณ์และศัพท์ต่างๆ  ที่จะพบในบทเพลง  ดังนี้

เครื่องหมาย คำอ่าน ความหมาย
p. เปียอาโน (Piano) เบา               
f. ฟอร์เต้  (Forte) ดัง
Fine ฟิเน่  (Fine) จบบทเพลง
 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
เครเซนโด   (Crescendo) ค่อย ๆ เร่งเสียงให้ดังขึ้นทีละน้อย
 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
เดเครเซนโด  ( Decrescendo) ค่อยๆ ลดเสียงให้เบาลงทีละน้อย
D.S. ดัลเซกโน (Dal Segno Sign) ให้กลับไปเล่นที่เครื่องหมาย
 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
โคดา (Coda  Sign) บอกท่อนจบของบทเพลง
 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
รีพีท (Repeat Sign) บรรเลงซ้ำในห้องเพลงที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายย้อนกลับอีก
1 รอบ
 
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ฟอร์มาต้า การบรรเลงแบบยึดเสียงออกไปไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของโน้ตตัวข้างหน้า

แบบฝึกหัดที่  1

คลิกทำแบบทดสอบหลังเรียน หรือ สแกน QR  Code ทำข้อสอบ

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร

ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร
ขั้น เตรียม หยุด เพลง มี ลักษณะ การ นับ จังหวะ เพลง อย่างไร