อสังหาทรัพย์ชนิดพิเศษ มีอะไรบ้าง

การขายฝากสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ

คืออะไร มาดูกัน 

อสังหาทรัพย์ชนิดพิเศษ มีอะไรบ้าง

แน่นอนว่าในเรื่องของการทำสัญญาซื้อขาย ขายฝาก จำนอง จำนำ หรือนิติกรรมอื่นๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินนั้น สิ่งแรกที่เราจำเป็นจะต้องพิจารณาเลยก็คือ วัตถุประสงค์ของการทำนิติกรรมนั้นคืออะไร เพราะถ้าหากว่าเราไม่รู้วัตถุประสงค์ที่แท้จริงแล้วการที่เราจะกระทำการอื่นใดต่อไปนั้นก็เป็นการยาก เนื่องจากว่าในแต่ละนิติกรรมนั้นก็จะมีวัตถุประสงค์และเงื่อนไขทางกฎหมายที่แตกต่างกันออกไปนั่นเอง  

ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องของการทำนิติกรรมสัญญาซื้อขายเราก็ต้องดูวัตถุประสงค์แท้จริงของเราก่อนว่าต้องการขายหรือซื้อกรรมสิทธิ์ขาดไปเลยไหม เพราะถ้าหากว่าเราเป็นผํ้ขายและเรายังอยากที่จะซื้อทรัพย์นั้นกลับคืนมา เราก็ควรทำเป็นสัญญาขายฝากเสียดีกว่า เพราะว่ามันเงื่อนไขที่ว่าเราสามารถไถ่ทรัพย์คืนได้ภายในกำหนดระยะเวลา แต่ทั้งนี้เมื่อเรารู้แล้วว่าต้องการทำสัญญาขายฝาก เราก็ต้องมาดูกฎหมายในเรื่องนี้ว่ามีเงื่อนไขอย่างไร เพราะมันจะมีการแบ่งรูปแบบของการทำสัญญาให้มีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมายที่แตกต่างกันออกไปด้วย  

และนั่นก็คืออสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์พิเศษ เป็นต้น ซึ่งถ้าหากว่าเป็น การขายฝากสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ นั้นเราก็จะต้องใช้กฎเกณฑ์เดียวกันกับการขายฝากอสังหาริมทรัพย์ คือ เราจะต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่นั่นเอง และ กาขายฝากสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ นั้นได้แก่ การขายฝากเรือที่มีระวางตั้งแต่ 5 ตันขึ้นไป ขายฝากแพ และการขายฝากสัตว์พาหนะด้วย คือ ช้าง ม้า วัว ควยาย ล่อ และลานั่นเอง 

ข้อควรทราบเกี่ยวกับสัญญาขายฝากที่ดิน

Page 30 - สัญญาสำหรับผู้ประกอบการ - กรมบังคับคดี

P. 30

อสังหาทรัพย์ชนิดพิเศษ มีอะไรบ้าง

สัญญาสํำาหรับผู้ประกอบการ  29







               อย่างไรก็ดี สัญญาบางประเภทกฎหมายกำาหนดวิธีการทำาสัญญา

          ไว้โดยเฉพาะ หมายความว่า กฎหมายกำาหนด “แบบของสัญญา” เนื่องจาก

          ผลของสัญญานั้นอาจกระทบถึงสังคมและประชาชนทั่วไปได้ การกำาหนด

          แบบในการทำาสัญญาก็เพื่อสร้างความชัดเจนว่าสัญญามีการเกิดขึ้นแล้ว

          จริงๆ และสามารถอ้างอิงตรวจสอบได้อย่างชัดเจน โดยกฎหมายได้กำาหนด

          แบบที่เป็นวิธีการทำาสัญญาลักษณะต่างๆ ไว้ดังนี้
                 (1)  ทำาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

                       วิธีการทำาสัญญาแบบนี้คู่สัญญาจะต้องตกลงทำาสัญญากัน

          เป็นหนังสือลายลักษณ์อักษร ลงลายมือชื่อของคู่สัญญาทุกฝ่าย และ

          จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับ

          สัญญานั้นๆ สัญญาจึงจะสมบูรณ์ ซึ่งได้แก่การทำาธุรกรรมที่เกี่ยวข้อง

          กับ “อสังหาริมทรัพย์” เช่น ที่ดิน อาคาร บ้าน เป็นต้น หรือการทำา

          ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์ที่มีความสำาคัญมากในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เรือ

          เครื่องจักร ช้าง ม้า วัว ควาย ที่เรียกว่า “สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ”













                                 สัญญาสํำาหรับผู้ประกอบการ

อสังหา กับ สังหา ต่างกันอย่างไร

1. อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นที่ดินจะต้องมีเจ้าของกรรมสิทธิ์เสมอ แต่สังหาริมทรัพย์อาจจะไม่มีเจ้าของก็ได้ 2. ทรัพย์สิทธิบางอย่าง ได้แก่ สิทธิอาศัย สิทธิเก็บกิน ภาระจำยอม สิทธิเหนือพื้นดิน และภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ มีได้เฉพาะในอสังหาริมทรัพย์เท่านั้น ส่วนในสังหาริมทรัพย์ไม่มีสิทธิดังกล่าว

สังหาทรัพย์ มีกี่ประเภท

สังหาริมทรัพย์ แบ่งออกได้ 2 ประเภท 1 ทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์ 2 สิทธิอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย์ 3 ไม่ล้มรุกหรือธัญชาติ 1 ทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่อสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์สินตามมาตรา 138 วัตถุที่

ที่ดินเป็นทรัพย์ประเภทใด

1. อสังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์ที่เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แก่ 1.1 ที่ดินหมายถึง พื้นแผ่นดินทั่วไป ได้แก่ พื้นดิน ภูเขา เกาะ ที่ ชายทะเล หรือที่ชายตลิ่ง - ที่ดินมี 2 ประเภท คือ ที่ดินซึ่งผู้เป็นเจ้าของมีกรรมสิทธิ์และ ที่ดินซึ่งผู้เป็นเจ้าของไม่มีกรรมสิทธิ์แต่มีเพียงสิทธิครอบครอง

นาฬิกาเป็นทรัพย์ประเภทใด

2. ทรัพยแ์ บ่งไม่ได้คือ ทรัพย์ที่ไม่อาจแบ่งแยกออกจากกัน โดยใหค้างภาวะเดิมของทรัพย์เช่น รถยนต์จักรยาน ร่ม หนังสือ ปากกาแว่นตา นาฬิกาข้อมือรองเท้า และหมายรวมถึงทรัพย์ที่มีกฎหมายกำหนดว่าแบ่งไม่ได้ด้วย เช่น หุ้นในบริษัท การแบ่งโดยใชเ้กณฑ์นี้เพื่อประโยชน์ในการจดัการปัญหาในกรณีที่ต้องมีการแบ่งทรัพย์ดังกล่าว หากเป็นทรัพย์แบ่ง ...