ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง

ลองเปิดเว็บไซต์ หากอยู่ในที่สาธารณะ เช่น ร้านกาแฟหรือห้องสมุด คุณอาจต้องยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไขก่อน จึงจะเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

ปิดโหมดบนเครื่องบิน

  1. เปิดแอปการตั้งค่า
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ของอุปกรณ์
  2. แตะเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต 
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ปิดโหมดบนเครื่องบิน

ตรวจสอบการตั้งค่าการซิงค์ Gmail

  1. เปิดแอป Gmail
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
  2. แตะเมนู
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    การตั้งค่าที่ด้านซ้าย
  3. แตะบัญชีของคุณ
  4. ตรวจสอบว่าทำเครื่องหมายในช่องข้าง "ซิงค์ Gmail" แล้ว

ตรวจสอบการตั้งค่าโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต

  1. เปิดแอปการตั้งค่า
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ของอุปกรณ์
  2. แตะผู้ใช้และบัญชี
  3. เปิดซิงค์ข้อมูลโดยอัตโนมัติ

ขั้นที่ 4: ล้างพื้นที่เก็บข้อมูล

หากไม่เหลือพื้นที่ในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต การซิงค์จะไม่ทำงาน หากต้องการล้างพื้นที่เก็บข้อมูลในอุปกรณ์ ให้ทำดังนี้

  • ถอนการติดตั้งแอปที่คุณไม่ได้ใช้
  • ลบไฟล์ที่ดาวน์โหลดหรือไฟล์ที่คุณสร้างขึ้น หรือย้ายไฟล์ไปยังคอมพิวเตอร์
  • นำเพลง หนังสือ ภาพยนตร์และรายการทีวี Google Play ที่ดาวน์โหลดไว้ออก

ขั้นที่ 5: ตรวจสอบรหัสผ่าน

เปิด Gmail ในคอมพิวเตอร์ หากลงชื่อเข้าใช้ไม่ได้ หรือได้รับข้อผิดพลาดอย่างใดอย่างหนึ่งด้านล่าง นั่นแปลว่าซิงค์ไม่ทำงานในแอป Gmail

  • "ระบบไม่ยอมรับชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน"
  • "ข้อมูลรับรองไม่ถูกต้อง"
  • ระบบขอให้คุณป้อนชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านซ้ำหลายครั้ง

คุณดำเนินการต่อไปนี้ได้

  • ตรวจสอบว่าป้อนชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านอย่างถูกต้อง
  • หากใช้การยืนยันแบบ 2 ขั้นตอน คุณอาจต้องลงชื่อเข้าใช้ด้วยรหัสผ่านของแอปแทนรหัสผ่านปกติ
  • หากยังคงลงชื่อเข้าใช้ไม่ได้ โปรดทำตามขั้นตอนการแก้ปัญหาต่อไปนี้

ขั้นที่ 6: ล้างข้อมูล Gmail

คำเตือน: ขั้นตอนต่อไปนี้อาจลบข้อความร่าง ลายเซ็น เสียงเรียกเข้า และการตั้งค่าอื่นๆ ทำตามขั้นตอนเหล่านี้เมื่อขั้นตอนข้างต้นแก้ไขปัญหาไม่ได้เท่านั้น

  1. เปิดแอปการตั้งค่า
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ของอุปกรณ์
  2. แตะแอปและการแจ้งเตือน
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
     ข้อมูลแอป
  3. แตะGmail
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    พื้นที่เก็บข้อมูล
  4. แตะล้างข้อมูล
    ข้อผิดพลาดในการกรอกใบสมัครมีสาเหตุใดบ้าง
    ตกลง
  5. รีสตาร์ทอุปกรณ์

คุณมีการเชื่อมต่อข้อมูลที่กำลังทำงานไหม หากต้องการทราบ ให้ลองทำอย่างอื่นที่ต้องใช้การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เช่น ไปที่เว็บไซต์ในเว็บเบราว์เซอร์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่

  • เอาข้อมูลในเรซูเม่ทั้งหมดมาเขียนใส่ในจดหมายสมัครงานอีกครั้ง

  • เขียนความสามารถมากมายจนบางครั้งกลายเป็นโอ้อวดแทนที่จะน่าสนใจ

  • พูดถึงเรื่องส่วนตัวมากเกินไป และเล่าถึงบริษัทเดิมในทางที่ไม่เหมาะสม

  • ไม่ควรพูดถึงเรื่องเงินเดือน ยกเว้นในกรณีที่เขาแจ้งไว้ในประกาศงานเท่านั้น

จดหมายสมัครงาน (Cover Letter) คือสิ่งที่ HR จะเห็นเป็นอันดับแรก ๆ รองจากชื่อเมลหรือก่อนด้วยซ้ำ เมื่อเป็นสิ่งแรกที่จะเห็นยิ่งต้องทำให้ดี แต่สิ่งหนึ่งไม่ว่าจะเป็นผู้สมัครในสายงานไหน หรือช่วงอายุเท่าไหร่ก็มักจะทำเหมือน ๆ กันก็คือการเขียน Cover Letter หรือจดหมายสมัครงานที่ไม่เหมาะสมจนทำให้ถูกคัดเรซูเม่ทิ้งไปอยู่ดี

เพื่อให้จดหมายสมัครงาน หรือ Cover Letter ออกมาสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากที่สุด JobThai เลยเอาคำแนะนำเพิ่มเติมในเรื่องนี้มาฝากกัน

คิดอะไรไม่ออกเอาเรซูเม่มาทั้งอันเลย

ข้อผิดพลาดที่พบเป็นประจำในการเขียนจดหมายสมัครงานคือผู้สมัครนำข้อมูลจากเรซูเม่ ‘ทั้งหมด’ มาเขียนเป็นจดหมายสมัครงานโดยไม่คัดกรองทำให้เห็นถึงความไม่ใส่ใจในจดหมายสมัครงาน และสุดท้ายก็ถูกคัดทิ้ง แม้ในเรซูเม่เราอาจจะเขียนลิสต์ประสบการณ์การทำงานทั้งหมด แต่เราต้องไม่ยกทั้งหมดมาเขียนในจดหมายสมัครงาน อาจเลือกแค่เหตุการณ์ โปรเจกต์ หรือผลงานที่เรารับผิดชอบและประสบความสำเร็จก็พอ

โอ้อวดหรือถ่อมตัวมากเกินไป

การนำเสนอความสามรถของตัวเองในจดหมายสมัครงาน สิ่งสำคัญนอกจากต้องเขียนความจริงเสมอคือต้องไม่โอ้อวดตัวเองจนเกินไป ในขณะที่ถ่อมตัวเกินไปก็ไม่ดีเช่นกัน เพราะหากไม่เขียนถึงตัวเองลงไปเลย ผู้อ่านใบสมัครเราคงไม่เห็นเหตุผลว่าทำไมถึงควรเรียกมาร่วมงานด้วย

เล่าเรื่องบริษัทเดิมในทางลบ

การพูดถึงบริษัทที่เคยทำในด้านลบหรือสิ่งไม่ดีที่เราเคยเจอที่บริษัทเก่านั้น ไม่ได้เพิ่มโอกาสให้เราได้งาน ดูน่าเห็นใจ หรือได้คะแนนความน่าสงสารเพิ่มเลย กลับจะทำให้ผู้อ่านได้เห็นทัศนคติที่ไม่ดีในตัวเราและมองเราในด้านลบด้วยซ้ำ 

บอกเรื่องเงินเดือน

การพูดเรื่องเงินเดือน ไม่ว่าจะเป็นเงินเดือนเดิมที่เคยได้หรือเงินเดือนที่ต้องการได้จากบริษัทที่ส่งใบสมัครไป ไม่ใช่สิ่งที่ควรจะพูดถึง นอกจากว่าทางบริษัทที่เราสมัครได้แจ้งชัดเจนว่าให้ระบุเงินเดือน และกรณีที่ต้องบอกเงินเดือน ก็ไม่ควรระบุตัวเลขเงินเดือนที่เจาะจง ให้ระบุเป็นช่วงเงินเดือนแทน

บอกว่าตัวเองเหมาะกับงานนี้

หากจะบอกว่าเราเหมาะกับงานนี้เพราะทักษะและความสามารถที่เรามีนำมาประยุกต์ใช้กับตำแหน่งที่จะสมัครได้มากแค่ไหน ก็ทำได้ แต่หากเขียนจดหมายแนะนำตัวด้วยประโยค ‘เชื่อว่าตัวเองเหมาะกับงานนี้’ อาจทำให้เราพลาดงานได้ เพราะผู้อ่านไม่ได้ต้องการความเชื่อมั่นของเราแต่ต้องการรู้ว่าเราจะทำงานนี้ได้อย่างไรบ้างมากกว่า

พูดเรื่องที่เป็นส่วนตัวมากเกินไป

เราไม่จำเป็นต้องบอกข้อมูลส่วนตัวอย่างอายุ สัญชาติ หรือเล่าเรื่องส่วนตัวมากเกินไปในจดหมายสมัครงานเอาประวัติการทำงานหรือทักษะที่มีใส่ไปจะเป็นประโยชน์และเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งจดหมายสมัครงานมากขึ้น

tags : จดหมายสมัครงาน, cover letter, นักศึกษาจบใหม่, ทำงาน, สมัครงาน, career & tips, หางาน, เทคนิคสำหรับเด็กจบใหม่, เคล็ดลับสำหรับเด็กจบใหม่, เด็กจบใหม่, freshgrad, ไม่มีประสบการณ์, หางานเด็กจบใหม่, หางานนักศึกษาจบใหม่, การหางาน, การเขียนจดหมายสมัครงาน