ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

ปัญหาไฟฟ้าสถิต เป็นอีกปัญหาที่หลายๆ คนคงได้พบเจออยู่บ่อยๆ อย่างที่ใกล้ตัวที่สุด คือ การไปใช้บริการที่ห้างสรรพสินค้า และเข็นรถเข็น พอถึงระยะเวลาหนึ่ง พอสัมผัสกับโลหะก็จะรู้สึกเหมือนโดนไฟช็อตอยู่ในระยะเวลาหนึ่ง หรือในการทดสอบในห้องเรียน โดยการทำผ้าถูกับลูกโป่งแล้วนำลูกโป่งมาใกล้กับเส้นผมและเส้นผมก็จะชี้ขึ้นไปยังลูกโป่ง ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนี้ คือการเกิด “ไฟฟ้าสถิต” แล้วไฟฟ้าสถิตนี้คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไรมาลองติดตามได้จากบทความนี้ได้เลยครับ

ไฟฟ้าสถิต คืออะไร

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) คือ ปรากฎการณ์ที่บนผิวของวัสดุนั้นมีปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบไม่เท่ากัน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้จากการที่พื้นผิวสองชนิดมีการสัมผัสและแยกออกจากกัน โดยที่ด้านหนึ่งมักจะเป็นพื้นผิวที่มีความต้านทานสูงต่อกระแสไฟฟ้า (หรือเป็นฉนวนไฟฟ้า)

โดยปกติแล้ววัสดุหรือพื้นผิวมักจะเป็นกลางทางไฟฟ้า เพราะภายในอะตอมจะมีประจุบวก (โปรตอนในนิวเคลียส) และจำนวนของประจุลบ (อิเล็กตรอนใน “วงรอบนิวเคลียส”) มีปริมาณที่เท่ากัน หลังที่พื้นผิวทั้งสองได้สัมผัสจะทำให้ประจุลบ และประจุบวก เกิดการแยกออกจากกัน และเกิดการเคลื่อนที่ของประจุลบไปยังพื้นผิวหนึ่ง และประจุบวกก็เคลื่อนที่ไปอีกพื้นผิวหนึ่ง เมื่อทำการแยกพื้นผิวออกจากกัน ทำให้เกิดการไม่สมดุลของประจุขึ้น และไฟฟ้าสถิตเองก็สามารถเกิดขึ้นได้กับทั้งวัตถุที่เป็นของเหลว และของแข็ง

การปลดปล่อย ไฟฟ้าสถิต

การปลดปล่อยไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Discharge) จะเกิดเมื่อมีการไหลของประจุจากพื้นผิวไปยังสภาพแวดล้อม โดยผลกระทบจากไฟฟ้าสถิต ก็อาจจะพบเห็นได้ เช่น เกิดประกายไฟ ได้ยินเสียง และหลังจากที่เกิดการไหลของประจุเรียบร้อย จะเกิดการเป็นกลางของประจุ

อันตรายจากไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิต นั้นก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งของอุบัติเหตุได้ โดยทั่วไปเราจะพบไฟฟ้าสถิตในรูปแบบ สะเก็ตไฟ หรือโดนไฟดูดเล็กๆ โดยปกติก็จะทำให้รู้สึกช็อตเพียงนิดเดียว เพราะกระแสไฟฟ้าไม่สูงมากนัก แต่กระแสไฟฟ้าแบบนี้ก็เป็นต้นเหตุที่อาจตจะทำให้อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์เสียหายได้ แต่ถ้ามีปริมาณกระแสไฟฟ้าที่สูงขึ้นก็จะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้เช่นกัน และฟ้าผ่าก็ยังเป็นการปลดปล่อยประจุไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่มีความรุนแรงเป็นอย่างมาก

นอกจากนี้ สะเก็ดไฟ ที่เกิดขึ้นจากไฟฟ้าสถิต หากไปเกิดขึ้นในจุดที่มีความเสี่ยง เช่น ใกล้จุดวัตถุไวไฟ หรือในโรงงานอุตสาหกรรม ก็อาจจะเป็นต้นเหตุของอุบัติเหตุที่ร้ายแรงได้เช่นกัน

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง
ฟ้าผ่า ก็เป็นไฟฟ้าสถิตอีกชนิดหนึ่งที่มีความอันตรายเป็นอย่างมาก

การป้องกัน และการกำจัดไฟฟ้าสถิตออก

ไฟฟ้าสถิตนั้น มักจะเกิดขึ้นในพื้นที่ที่มีความชื้นต่ำ เพราะความชื้นในอากาศ จะทำให้อากาศเป็นสื่อกระแสไฟฟ้า เมื่อมีการเพิ่มความชื้นอากาศก็จะช่วยให้การปลดปล่อยประจุไฟฟ้าได้ดีขึ้น ดังนั้นการเพิ่มความชื้นในอากาศจะจะมีผลที่ช่วยได้ โดยวิธีง่ายๆ คือ ใช้เครื่องเพิ่มความชื้น หรือเปิดหน้าต่าง และเสื้อผ้านั้นก็มีผลต่อการเกิดไฟฟ้าสถิตด้วย โดยเฉพาะ เสื้อขนสัตว์ ผ้าใยสังเคราะห์ โพลีเอสเตอร์ จะเป็นผ้าที่เป็นตัวนำไฟฟ้าได้ดี จึงทำให้พบปัญหาไฟฟ้าสถิตได้

และสำหรับในโรงงานอุตสาหกรรม ในบางครั้งก็จะมีการใช้ รองเท้านิรภัยต้านไฟฟ้าสถิต มาใช้ในการแก้ไขปัญหาไฟฟ้าสถิต แต่รองเท้าชนิดนี้จะมีพื้นรองเท้าที่นำไฟฟ้าที่ดี ไม่ควรนำไปใช้สลับกับ รองเท้าฉนวน ที่ใช้ในการป้องกันไฟฟ้าช็อตจากไฟฟ้าสายหลัก

การนำไปใช้ประโยชน์

นอกจากอันตรายจากไฟฟ้าสถิตนั้น ปัจจุบันก็ยังมีการนำไปใช้ในการทำงานของอุปกรณ์และเครื่องจักรต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น การใช้ในเครื่องถ่ายเอกสารที่จะช่วยในการที่ทำให้ผงหมึกไปเกาะในจุดที่ต้องการทำให้ได้ภายสำเนาที่ชัดเจน การใช้ในการพ่นสี ไมโครโฟนแบบเก็บประจุ และอื่นๆ อีกมากมาย

ที่มา : th.wikipedia.org

สินค้าของเรา

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

ท่อดูดเกลียวโพลียูรีเทนกันไฟฟ้าสถิต

เป็นท่อที่ผลิตจาก โพลียูริเทน, PVC, ลวดทองแดง ที่สามารถใช้ในในการดูดลม อากาศ ก๊าช ของเหลว ได้ดี มีความยืดหยุ่น และช่วยป้องกันไฟฟ้าสถิตได้อีกด้วย

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

 

ไฟฟ้าสถิต (Static  electricity)

                ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันปกติจะ

แสดงในรูปการดึงดูดการผลักกัน และเกิดประกายไฟ

            การเกิดไฟฟ้าสถิต

            การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรง ดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน

 หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 

ชิ้นมีประจุ   

ชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้

ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยน กัน โดยจะ

เกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยางพลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น

โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุ ไม่เท่า

กันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อน

ย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง ชิ้น

                จากผลการทดลองแสดงว่า ประจุไฟฟ้าที่เกิดบนแท่งแก้วคู่แรกต้องเป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดี่ยวกันเพราะ ต่างถูด้วยแพรด้วย

กัน และประจุไฟฟ้าที่เกิดบนแท่งแก้วคู่หลังก็

เป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันเพราะ ต่างถูด้วยชนสัตว์เช่นเดียวกัน โดยทีแท่งแก้วคู่แรกผลักกันและแท่งแก้วคู่หลังผลักกัน แต่แท่ง

แก้วจากคู่แรกและจากคู่หลังดูดกันย่อมแสดงว่า 

ประจุไฟฟ้าบนแท่งแก้วคู่แรกและคู่หลังต้องเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน แม้ว่าจะทดลองใช้วัตถุคู่อื่นๆที่เหมาะสม ก็จะให้ผลทำนอง

เดียวกัน จึงสรุปผลได้ว่า ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจาก

การขัดสีมีต่างกันอยู่สองชนิดเท่านั้นจึงได้กำหนด ชนิดประจุไฟฟ้า โดยเรียกประจุไฟฟ้าชนิดหนึ่งว่า ประจุไฟฟ้าบวก (positive

 charge) และเรียกประจุไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งว่า 

ประจุไฟฟ้าลบ (negative charge)

                ชนิดของประจุไฟฟ้า แรงกระทำที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า

             การทดลองนำผ้าแพร ถูกับแก้วผิวเกลี้ยงสองแท่ง แล้วนำแท่งแก้วทั้งสองขึ้นแขวนไว้ใกล้ๆ กัน จะปรากฏว่าแท่งแก้วทั้งสอง

เบนหนีออกจากกัน แสดงว่าเกิดมีแรงผลัก

ระหว่างแท่งแก้วทั้งสอง นำแท่งแก้วผิวเกลี้ยงชนิดเดียวกันอีกคู่หนึ่งถูด้วยขนสัตว์ แล้วนำ ขึ้นแขวนเช่นเดียวกัน จะปรากฏว่าแท่งแก้ว

คู่นี้ผลักกัน และเบนห่างจากกันแต่ถ้านำแงแก้ว

ที่ถูด้วยผ้าแพร จากคู่แรกมาหนึ่งแท่ง แขวนคู่กับอีกหนึ่งแท่งจากคู่หลังที่ถูด้วยขนสัตว์แล้ว จะปรากฏว่าแท่งแก้วทั้งสองเบนเข้าหากัน

 แสดงว่าแท่งแก้วคู่นี้ดูดกัน เมื่อทำการทดลอง

ซ้ำหลายครั้งก็จะปรากฏผลเช่นเดียวกัน

                จากผลการทดลองแสดงว่า ประจุไฟฟ้าที่เกิดบนแท่งแก้วคู่แรกต้องเป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดี่ยวกันเพราะ ต่างถูด้วยแพรด้วย

กัน และประจุไฟฟ้าที่เกิดบนแท่งแก้วคู่หลังก็

เป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันเพราะ ต่างถูด้วยชนสัตว์เช่นเดียวกัน โดยทีแท่งแก้วคู่แรกผลักกันและแท่งแก้วคู่หลังผลักกัน แต่แท่ง

แก้วจากคู่แรกและจากคู่หลังดูดกันย่อมแสดงว่า 

ประจุไฟฟ้าบนแท่งแก้วคู่แรกและคู่หลังต้องเป็นประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน แม้ว่าจะทดลองใช้วัตถุคู่อื่นๆที่เหมาะสม ก็จะให้ผลทำนอง

เดียวกัน จึงสรุปผลได้ว่า ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจาก

การขัดสีมีต่างกันอยู่สองชนิดเท่านั้นจึงได้กำหนด ชนิดประจุไฟฟ้า โดยเรียกประจุไฟฟ้าชนิดหนึ่งว่า ประจุไฟฟ้าบวก (positive 

charge) และเรียกประจุไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งว่า 

ประจุไฟฟ้าลบ (negative charge)

(1) ประจุไฟฟ้าบวก คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นแท่งแก้วผิวเกลี้ยง ภายหลังที่นำมาถูด้วยผ้าแพร

(2) ประจุไฟฟ้าลบ คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนแท่งอีโบไนต์ (ebonite) ภายหลังที่นำมาถูด้วยขนสัตว์ หรือสักหลาด

(1) ประจุไฟฟ้าบวก คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นแท่งแก้วผิวเกลี้ยง ภายหลังที่นำมาถูด้วยผ้าแพร

(2) ประจุไฟฟ้าลบ คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนแท่งอีโบไนต์ (ebonite) ภายหลังที่นำมาถูด้วยขนสัตว์ หรือสักหลาด

(1) ประจุไฟฟ้าบวก คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นแท่งแก้วผิวเกลี้ยง ภายหลังที่นำมาถูด้วยผ้าแพร

(2) ประจุไฟฟ้าลบ คือ ประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนแท่งอีโบไนต์ (ebonite) ภายหลังที่นำมาถูด้วยขนสัตว์ หรือสักหลาด

                แรงที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้า

                1ประจุไฟฟ้าชนิดเดียว จะผลักกัน

                2. ประจุไฟฟ้าต่างชนิด จะดูดกัน

                3. แรงผลักหรือแรงดูดนี้เป็นแรงคู่ปฏิกิริยากัน (action=reaction)

                4. วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดวัตถุที่เป็นกลางเสมอ

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

อนุภาค

สัญลักษณ์

ประจุ

มวล ( kg )

โปรตอน

อิเล็กตรอน

นิวตรอน

p

e-

n

+e

-e

0

1.67252 x 10-27

9.1091 x 10-31

1.67482 x 10-27

การส่งผ่านประจุฟฟ้า

                       หากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัสผลลัพธ์ที่เกิด

จากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่ง

ติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผมโป่ง

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

                    อิเล็กตรอนในไฟฟ้าสถิตทำให้เกิดประจุ ไฟฟ้าหยุดนิ่งตัวอย่างเช่น เมื่อถูลูกโป่งเข้ากับเส้นผมอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่บน

เส้นผมจะเปลี่ยนมาอยู่บนลูกโป่งแทน และทำให้

วัตถุที่เสียอิเล็กตรอน (เส้นผมของเรา) กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่ประจุบวกรับอิเล็กตรอน (ลูกโป่ง) กลายเป็นประจุลบ และดึงดูด

กับประจุบวกที่อยู่บนฝาผนังทำให้ลูกโป่งติด

ค้างอยู่ได้ ลักษณะเช่นเดียวกันนี้เกิดขึ้น เมื่อเราเดินผ่านพรมแล้วมาสัมผัสกับลูกบิดโลหะ อิเล็กตรอนที่เกาะกันอย่างหลวมๆ บนพรม

จะกระโดดมาอยู่ที่ตัวของเราทำให้เกิดเป็นขั้ว

ของไฟฟ้า แต่เราจะไม่ทราบจนกระทั่งได้สัมผัสกับลูกบิดประตูโลหะ เพราะ ประจุลบจากตัวเราจะวิ่งผ่านมือไปยังลูกบิด ทำให้เรา

รู้สึกเหมือนโดยไฟฟ้าช็อตที่เกิดขึ้นด้วย

            ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า

    ตัวนำไฟฟ้า

                ตัวนำ (Conductor) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย หรือวัตถุที่มีความ

ต้านทานต่ำ ได้แก่ ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน 

ซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีที่สุด แต่ในสายไฟทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวนำ เพราะตัวนำที่ทำจากจะเงินมีราคาแพง

    ฉนวนไฟฟ้า

                ฉนวน (Insulator) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่ไม่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือ ต้านการไหล

ของกระแสไฟฟ้าไม่ให้ผ่านไปได้ ได้แก่ ไม้แห้ง 

พลาสติกยางแก้ว และกระดาษแห้ง เป็นต้น

    สารกึ่งตัวนำ

                สารกึ่งตัวนำเป็นสารที่มีคุณสมบัติอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เช่น ซิลิกอน เยอรมันเนียม เทลลูเนียมเป็นต้น สารดังกล่าว

เหล่านี้มีคุณสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ คือมี

จำนวนอิเล็กตรอนอิสระอยู่น้อยจึงไม่สามารถให้กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมาก ฉะนั้นลำพังสารนี้อย่างเดียวแล้วไม่สามารถทำ

ประโยชน์อะไรได้มากนัก ดังนั้น เพื่อที่จะให้ได้

กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมากเราจึงต้องมีการปรุงแต่งโดยการเจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในเนื้อสารเนื้อเดียวเหล่านี้ หรือเอา

อะตอมของธาตุบางชนิดมาทำปฏิกิริยากันให้ได้

สารประกอบที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ สารกึ่งตัวนำที่สร้างขึ้นโดยวิธีดังกล่าวนี้เรียกว่า สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ หรือสารกึ่งตัวนำ

แบบสารประกอบตามลำดับ ซึ่งจะเป็นสารที่ใช้

ทำทรานซิสเตอร์ และไดโอดชนิดต่าง ๆ

                การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้า

        การทำให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีอำนาจทางไฟฟ้าทำได้ วิธี ดังนี้

                1. การขัดสีหรือการถู  เกิดจากการนำวัตถุ ชนิดมาขัดสี หรือถูกัน จะทำให้มีการถ่ายเทของประจุไฟฟ้า(อิเลคตรอน)ระหว่างวัตถุทั้งสอง วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปวัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก  ส่วนวัตถุที่ได้รับอิเลค ตรอนมา จะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ   ในการขัดสีหรือถู จำนวนประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนวัตถุทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่มีประจุไฟฟ้าเป็นชนิดตรงข้าม

                สำหรับคนที่สวมใส่รองเท้าหนังแล้วเดินไปบนพื้นที่ปูด้วยขนสัตว์หรือพรหม เมื่อเดินไปจับลูกปิดประตูจะมีความรู้สึกว่าถูกไฟช๊อต ที่เป็นเช่นนี้เราสามารถอธิบายได้ว่า เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเลคตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน

                เมื่อ เอาวัตถุที่กำหนดทางซ้ายมือ ชนิดมาขัดสีกัน ตัวอย่างเช่น ถ้านำหนัง( leather)มาถูกับขนสัตว์( wool) หลังการถู หนังจะมีประจุเป็นบวก ขนสัตว์จะมีประจุเป็นลบ หรือเอาแท่งยางแข็ง (hard rubber)ถูกับขนสัตว์( wool) แท่งยางจะมีประจุไฟฟ้าลบและขนสัตว์จะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก

หมายเหตุ การเรียงลำดับการให้หรือรับอิเล็กตรอนดังกล่าววัตถุนั้นจะต้อง สะอาดและแห้ง

                 2.การแตะหรือสัมผัส  โดยการนำวัตถุที่มีอำนาจทางไฟฟ้าไปแตะหรือสัมผัสกับวัตถุที่เป็นกลางทาง ไฟฟ้า  ทำให้มีการถ่ายเทของอิเล็กตรอน จนกระทั่งวัตถุทั้งสองมีศักดิ์ไฟฟ้าเท่ากันจึงหยุดการถ่ายเท   หลังการสัมผัสหรือการแตะจะทำให้วัตถุซึ่งเดิมเป็นกลางจะมีประจุไฟฟ้าชนิด เดียวกับประจุไฟฟ้าของวัตถุที่นำมาแตะ  โดยขนาดของประจุไฟฟ้าที่เกิดขึ้นบนวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า(เดิม)จะมีค่า เท่ากับขนาดประจุไฟฟ้าที่ลดลงของวัตถุที่นำมาแตะ

                3.โดยการเหนี่ยวนำ  โดยการนำวัตถุซึ่งมีประจุไฟฟ้าเข้าไปใกล้ ๆ วัตถุที่เป็นกลาง(แต่ไม่แตะ)จะทำให้ เกิดการเหนี่ยวนำให้ประจุไฟฟ้าที่อยู่ในวัตถุที่เป็นกลางเกิดการจัดเรียงตัวใหม่ เนื่องจากแรงทางคูลอมบ์ เป็นผลทำให้วัตถุที่เป็นกลางจะมีประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น  

                อิเล็กโทรสโคป (electroscope)

         อิเล็กโทรสโคปมี ชนิดด้วยกัน ได้แก่

            1. อิเล็กโตรสโคปแบบพิธบอล

                อิเล็กโทรสโคป เป็นเครื่องมือสำหรับตรวจไฟฟ้าสถิตย์ อิเล็กโตรสโคปแบบนี้ เป็นอิเล็ก โตรสโคปแบบง่ายที่สุด ประกอบ

ด้วยลูกกลมเล็กทำด้วยเม็ดโฟม หรือไส้หญ

ปล้อง ซึ่งมีน้ำหนัก เบามาก ตัวลูกกลมแขวนด้วยเชือกด้าย หรือไหมเส้นเล็กๆ จากปลายเสาที่ตั้งบนแท่นฉนนไฟฟ้า ดังรูป

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

             2. อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นทองคำเปลว

                อิเล็กโทรสโคปแบบนี้ ประกอบด้วยแผ่นทองคำเปลว หรือแผ่นอะลูมิเนียมบางๆ สองแผ่น ติด ห้อยประกบกันที่ปลายแท่ง

โลหะ AB ปลายบนของแท่งโลหะนี้ เชื่อมติด

กับจานโลหะ ตัวแท่งโลหะ สอดติดแน่นอยู่ในฉนวนไฟฟ้าท่อนหนึ่ง (ระบายทึบในรูป) ซึ่ง อาจเป็นแท่งอิโบไนต์ก็ได้ ตัวท่อน

ฉนวน เสียบแน่นอยู่กับปลั๊กยาง ซึ่งสอดแนบ

สนิท กับฝาบนของกล่องโลหะ ด้านหน้า และด้านหลังของโลหะ จะตัดออก และกรุไว้ด้วยแผ่นกระจก เพื่อให้มองเห็นแผ่นทองคำ

เปลวได้สะดวก ดังรูป

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

                เนื่่องจากตัวกล่องโลหะ และวางอยู่บนพื้น ก็เท่ากับถูกเออร์ทอยู่ตลอดเวลา ศักย์ไฟฟ้าของตัวกล่องโลหะ จึงเป็นศูนย์เท่ากับ

 ศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่เสมอ แผ่นทองคำ

เปลวทั้งสอง จะกางออกจากกันได้ เพราะเกิดความต่างศักย์ ระหว่างแผ่นทองคำ กับตัวกล่องโลหะ เมื่อนำอิเล็กโตรสโคปตั้งบนพื้น

โต๊ะ ตัวกล่องโลหะถูกเออร์ท ย่อมมีความต่างศักย์

ไฟเป็นศูนย์ เท่ากับศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่ตลอดเวลา เมื่อให้ประจุไฟฟ้าแก่จานโลหะ จะเป็นประจุชนิดใดก็ได้ การทำเช่นนี้ 

ประจุไฟฟ้าที่ให้จะกระจายไปทั่วจานโลหะ ก้านโลหะและ

แผ่น ทองคำเปลวทั้งสอง และทั้งสามสิ่งนี้ จะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันโดยตลอด ขณะนี้จะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างแผ่นทองคำ

เปลวกับกระป๋องโลหะทันที แผ่น ทองคำเปลวจะ

กางออกจากกัน (ดังรูป ก.) ส่วนรูป ข. แสดงการให้ประจุไฟฟ้าลบอิสระแก่จานโลหะ ดังนั้น แผ่นทองคำเปลว จึงปรากฏมี

ประจุไฟฟ้าลบ จึงย่อมมีศักย์ไฟฟ้าลบ ส่วยผิวในของกล่อง

โลหะ มีประจุไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดบวกแต่ศักย์ไฟฟ้าศูนย์ จึง เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างแผ่นทองคำกับกล่องโลหะ แผ่นทองคำจึงอ้า

ออก

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

             การเหนี่ยวนำ หรือการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต (Induction) เป็นวิธีการทำให้ตัวนำมีประจุไฟฟ้าโดยใช้ประจุไฟฟ้าจากวัตถุอื่น

 ซึ่งไม่แตะกัน ปกติแล้วประจุไฟฟ้าจะถูกเหนี่ยวนำตามส่วนต่างๆของวัตถุเนื่องจากการดึงดูดและผลักกัน ถ้าเคลื่อนประจุชนิดหนึ่ง

ออกไป วัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้ามคงอยู่อย่างถาวร

                แผ่นประจุ(Proof plane) เป็นแผ่นตัวนำเล็กๆมีด้ามถือทำด้วยฉนวน ใช้สำหรับถ่ายโอนประจุไฟฟ้าระหว่างวัตถุต่างๆ

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต มีอะไรบ้าง

ปรากฏการณ์ไฟฟ้าสถิต หมายถึงอะไร

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากความไม่สมดุลของปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบภายในวัสดุหรือบนพื้นผิวของวัสดุ ซึ่งประจุไฟฟ้าเหล่านั้นจะยังคงอยู่จนกระทั่งเกิดการเคลื่อนที่หรือมีการถ่ายเทประจุ (Electrostatic Discharge)

อะไรที่เกิดไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิตเกิดจากการนำวัตถุสองชนิดมาถู ลอกออก หรือ นำมาสัมผัสกัน เมื่อนำวัตถุที่มีประจุบวกมาสัมผัสกับวัตถุที่มีประจุลบ ถ้าดูกันอย่างเผินๆจะเห็นว่ากลับมาสู่สภาพเดิมโดยที่ไม่เกิดประจุไฟฟ้า แต่ที่จริงได้เกิดขึ้นแล้ว เนื่องจากทั้งประจุบวกและลบต่างก็รั่วไหลซึ่งกันและกัน การเกิดประจุไฟฟ้าจะทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตเมื่อไปสัมผัส ...

ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ มีอะไรบ้าง

ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เป็นปรากฏการณ์ที่มนุษย์ไม่ได้สร้างขึ้นเอง และมีผลกระทบกับมนุษย์ ตัวอย่างเช่นเหตุการณ์ที่พบเห็นทั่วไป ฝนตก ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุ และเหตุการณ์ที่ไม่พบบ่อยนัก เช่น โลกร้อน สุริยุปราคา ฝนดาวตก

ESD เกิดขึ้นได้ช่วงไหน

ประจุไฟฟ้าสถิต(ESD) สามารถสร้างขึ้นได้เมื่อไรก็ตามที่สองพื้นผิวสัมผัสกันและแยกจากกัน และอย่างน้อยหนึ่งในพื้นผิวนั้นมีความต้านทานสูงต่อกระแสไฟฟ้า (และดังนั้นมันจึงเป็นฉนวนไฟฟ้า) ผลกระทบทั้งหลายจากไฟฟ้าสถิตจะคุ้นเคยกับคนส่วนใหญ่เพราะผู้คนสามารถรู้สึก, ได้ยิน, และแม้แต่ได้เห็นประกายไฟเมื่อประจุส่วนเกินจะถูกทำให้เป็นกลาง ...