คำสั่งของคอมพิวเตอร์เรียกว่าอะไร

        LOAD X, PC+Constant                  เปนการโหลดขอมูลจากaddressบนหนวยความจําที่ เกิดจาก   ค่าในโปรแกรมเคาเตอรบวกกับค่าคงที่ ไวที่ตัวแปร X (ถาในโปรแกรมเคาเตอร์มีค่า 1000, คาคงที่เท่ากับ 1 และคาที่address 1001 มีคาเทากับ  40 ดังนั้นค่าX จะเทากับ 40)

คนส่วนใหญ่สมัยนี้มักไม่ค่อยพลาดเรื่องเทคโนโลยี  พูดได้เลยว่าคอมพิวเตอร์มีผลต่อชีวิตประจำวันของเกือบทุกคนเลยก็ว่าได้ เพราะเราต่างมีข้อมูลสำคัญที่ต้องเก็บไว้ แถมยังเอาไว้ทำงาน การบ้านได้ด้วย

แต่เพื่อนๆหลายคนไม่ค่อยสนใจคีย์ลัดของคอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าเราสนใจ เราจะพบว่าการทำงานมันง่ายมากเลยล่ะ เอาล่ะมาดูกันเลยว่ามีอะไรบ้าง

 

 

คำสั่งของคอมพิวเตอร์เรียกว่าอะไร

 

 

CTRL+C คัดลอก

CTRL+X ตัด/ย้าย

CTRL+V วาง (ใช้คู่กับคำสั่งคัดลอก/ตัด)

CTRL+Z ยกเลิกการทำงานครั้งล่าสุด

DELETE ลบโดยไปพักที่ถังขยะ

SHIFT+DELETE ลบโดยไม่ต้องพักที่ถังขยะ

CTRL กดค้างไว้+คลิกเลือกไฟล์ เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง

CTRL+SHIFT กดค้างไว้ แล้วคลิกที่ไฟล์แรก และไฟล์สุดท้าย จะเป็นการเลือกตั้งแต่
ไฟล์แรกถึงไฟล์สุดท้ายทั้งหมด

F2 เปลี่ยนชื่อแฟ้ม

CTRL+RIGHT ARROW ไปยังคำต่อไป (ด้านขวามือ)

CTRL+LEFT ARROW ไปยังคำก่อนหน้า (ด้านซ้ายมือ)

CTRL+DOWN ARROW ไปยังย่อหน้าต่อไป (ลงล่าง)

CTRL+UP ARROW ไปยังย่อหน้าต่อไป (ขึ้นบน)

CTRL+SHIFT ทำ Highlight ทั้งบรรทัด

SHIFT+ปุ่มลูกศร ทำ Highlight เฉพาะส่วนที่เลือก

CTRL+A เลือกทั้งหมด

F3 ค้นหา

ALT+ENTER ดู properties

ALT+F4 ปิดโปรแกรมที่ใช้งานในปัจจุบัน

ALT+SPACEBAR เปิด shortcut menu ของหน้าจอที่ใช้งานอยู่

CTRL+F4 ปิดโปรแกรมที่ใช้อยู่ทั้งหมด

ALT+TAB สลับหน้าจอระหว่างโปรแกรมที่ 1 ไปโปรแกรมที่ 2 3 4

ALT+ESC (Cycle through items in the order that they had been opened)

F6 key (Cycle through the screen elements in a window or on the desktop)

F4 แสดงรายการใน Address bar

SHIFT+F10 เหมือนการคลิกขวาที่เม้าส์

CTRL+ESC เหมือนการคลิกที่ปุ่ม Start

ALT+Underlined letter in a menu name (Display the corresponding menu)

Underlined letter in a command name on an open menu (Perform the
corresponding command)

F10 key (Activate the menu bar in the active program)

RIGHT ARROW เปิดเมนูถัดไปทางขวาหรือเปิดเมนูย่อยทางขวา

LEFT ARROW เปิดเมนูถัดไปทางซ้ายหรือเปิดเมนูย่อยทางซ้าย

F5 key รีเฟรชหน้าจอปัจจุบัน

BACKSPACE แสดงโฟลเดอร์ที่อยู่เหนือขึ้นไป 1 ระดับ

ESC ยกเลิก

SHIFT เมื่อใส่แผ่น CD-ROM หยุดยั้งการเปิดแผ่นแบบอัตโนมัติ

Dialog Box Keyboard Shortcuts /เกี่ยวกับไดอะล็อก

CTRL+TAB ไปในแถบต่อไป

CTRL+SHIFT+TAB ไปในแถบก่อนหน้า

TAB เลื่อนไปยังส่วนต่อไป

SHIFT+TAB เลื่อนไปยังส่วนก่อนหน้า

ALT+Underlined letter (Perform the corresponding command or select the corresponding option)

ENTER ตกลง

SPACEBAR เลือก/ไม่เลือกใน check box

Arrow keys (Select a button if the active option is a group of option buttons)

F1 key Help

F4 key แสดงรายการที่ active อยู่

BACKSPACE แสดงโฟลเดอร์ที่อยู่เหนือขึ้นไป 1 ระดับ

Microsoft Natural Keyboard Shortcuts /ทั่วไป ๆ

Windows Logo แสดง/ซ่อน Start menu

Windows Logo+BREAK แสดง System Properties

Windows Logo+D แสดงหน้าจอ desktop

Windows Logo+M ย่อหน้าต่างงานทั้หมด

Windows Logo+SHIFT+M โชว์หน้าต่างงานที่เราย่อไว้ (ยกเลิกการย่อหน้าต่าง)

Windows Logo+E เปิด My computer

Windows Logo+F,CTRL+Windows Logo+F ค้นหา

Windows Logo+F1 Help

Windows Logo+ L ล็อค keyboard

Windows Logo+R Run

Windows Logo+U Utility Manager

 

คำสั่งของคอมพิวเตอร์เรียกว่าอะไร

 

หวังว่าคงช่วยให้เพื่อนๆ ใช้คอมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิมนะครับ อย่าลืมติดตามข่าวสารดีๆและเคล็ดลับง่ายๆแบบนี้ได้ใหม่ที่นี่นะครับ

ชุดคำสั่ง
- โปรเซสเซอร์ใช้คำสั่งได้ตามคำสั่งที่ถูกบรรจุลงใน ALU
- คำสั่งหลาย ๆ คำสั่งที่บรรจุลงใน ALU นี้เรียกว่าชุดคำสั่งของเครื่อง (Machine Instructions Sets)
- ชุดคำสั่งนี้ทำให้ผู้ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์และโปรแกรมเมอร์อยู่ในขอบเขต เดียวกัน
- ผู้ออกแบบระบบมองว่าชุดคำสั่งประกอบด้วยฟังก์ชันพื้นฐานสำหรับการทำงานของคอมพิวเตอร์
- อาจกล่าวได้ว่าการสร้างโปรเซสเซอร์ก็คือการสร้างชุดคำสั่งนั่นเอง
- โปรแกรมเมอร์จะต้องพิจารณาถึงโครงสร้างของรีจิสเตอร์และหน่วยความจำ ประเภทข้อมูลในเครื่อง และฟังก์ชันของ ALU เพื่อเขียนโปรแกรมสั่งให้ซีพียูทำงาน

คุณสมบัติพื้นฐานของคำสั่ง
    ชุดคำสั่ง (Instruction Sets) หมายถึงชุดของคำสั่งที่โปรเซสเซอร์เอ็กซิคิวต์เพื่อดำเนินการตามที่โปรแกรมเมอร์ต้องการ อาจเรียกชุดคำสั่งว่า “คำสั่งเครื่อง” (machine instructions) หรือ “คำสั่งคอมพิวเตอร์” (computer instructions) ก็ได้ ในแต่ละชุดคำสั่งอาจจะมีคำสั่งที่หลากหลายประกอบอยู่ เช่น คำสั่งสำหรับการบวก ซีพียูจะต้องมีคำสั่งในการโหลดข้อมูลจากรีจิสเตอร์ลงหน่วยความจำ แล้วเรียกใช้คำสั่งสำหรับการบวก หลังจากนั้นจะมีคำสั่งเพื่อเก็บค่าผลลัพธ์กลับรีจิสเตอร์อีกครั้ง

- ชุดคำสั่งของแต่ละโปรเซสเซอร์จะมีความแตกต่างกัน
- สิ่งที่แตกต่างกันอาจจะเป็นขนาดของคำสั่ง ประเภทของโอเปอเรชัน ประเภทของโอเปอแรนด์ หรือประเภทของผลลัพธ์ก็ได้
- ชุดคำสั่งที่แตกต่างกันนี้อาจจะเกิดจากโครงสร้างภาษาชั้นสูงที่โปรแกรมเมอร์ใช้งาน เช่น ภาษา C Pascal หรือ Ada เป็นต้น
- โปรแกรมภาษาชั้นสูงเหล่านี้จะถูกคอมไพล์ (compile) ด้วยคอมไพเลอร์หรือตัวแปรภาษานั้นให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อทำงานต่อไป
- ต้องมีการคอมไพล์ใหม่ให้ตรงกับโปรเซสเซอร์ที่ใช้งาน
- การคอมไพล์ใหม่เป็นการเปลี่ยนภาษาชั้นสูงให้เป็นภาษาเครื่องตามชุดคำสั่งของซีพียูนั่นเอง

วงรอบคำสั่ง
- การทำงานของคอมพิวเตอร์คือการที่โปรเซสเซอร์เอ็กซิคิวต์คำสั่งในโปรแกรมตามลำดับเรื่อยไปตั้งแต่ต้นจนจบ
- รูปแบบคำสั่งที่ง่ายที่สุดจะมี 2 ขั้นตอนคือการที่โปรเซสเซอร์อ่านหรือเฟ็ตช์คำสั่ง (fetches) จากหน่วยความจำครั้งละ 1 คำสั่ง หลังจากนั้นจะเอ็กซิคิวต์ (execute) ตามคำสั่งนั้น

- Instruction Address Calculation (IAC) หาตำแหน่งที่เก็บคำสั่งต่อไปที่โปรเซสเซอร์จะอ่านเข้ามา
- Instruction Fetch (IF) อ่านคำสั่งจากตำแหน่งบนหน่วยความจำลงในโปรเซสเซอร์
- Instruction Operation Decoding (IOD) วิเคราะห์คำสั่งเพื่อพิจารณาประเภทของโอเปอเรชั่นที่กระทำและที่จะใช้
- Operand Address Calculation (OAC) หาตำแหน่งของโอเปอเรชัน
- Operation Fetch (OF) อ่านโอเปอร์แรนด์จากหน่วยความจำหรืออุปกรณ์อินพุตเอาต์พุต
- Data Operation (DO) นำข้อมูลกระทำตามโอเปอเรชั่น
- Operand Store (OS) เขียนผลลัพธ์ลงในหน่วยความจำ

ส่วนประกอบคำสั่งเครื่อง
- Operation code : กำหนดโอเปอเรชันที่จะกระทำ (เช่น ADD, I/O) โอเปอเรชันถูกกำหนดด้วยเลขฐานสองที่เรียกว่า operation code หรือ opcode
- Source operand reference : กำหนดส่วนอ้างอิงของโอเปอแรนด์ที่ใส่เข้ามาสำหรับโอเปอเรชัน
- Result operand reference : อ้างอิงถึงผลลัพธ์จากโอเปอเรชัน
- Next instruction reference : บอกซีพียูว่าจะไปอ่านคำสั่งต่อไปได้จากไหนหลังจากเอ็กซิคิวต์คำสั่งนี้เสร็จสมบูรณ์แล้ว

ประเภทคำสั่ง
- Data processing : คำสั่งทางคณิตศาสตร์และตรรกะ
- Data storage : คำสั่งจัดการหน่วยความจำ
- Data movement : คำสั่งจัดการอินพุต/เอาต์พุต
- Control : คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไขและกระโดดไปทำงาน

จำนวนแอ็ดเดรส
- One-address
- Two-address
- Three-address
- Zero-address

- โดยทั่วไปการกล่าวถึงสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์จะกล่าวถึงจำนวนแอ็ดเดรส
- ปัจจุบันมีความสำคัญน้อยกว่าการออกแบบซีพียู
- จำนวนแอ็ดเดรสของระบบมีผลต่อวงรอบการทำงานของคำสั่งเครื่อง
- ยิ่งมีจำนวนแอ็ดเดรสมากก็จะยิ่งทำให้วงรอบการทำงานน้อยลง ทำให้ทำงานได้เร็วขึ้น

การออกแบบชุดคำสั่ง
- Operation repertoire : จำนวนโอเปอเรชันที่มีให้เลือกใช้ รวมทั้งความซับซ้อนของโอเปอเรชันที่ควรเป็น
- Data type : ความหลากหลายของประเภทของข้อมูลที่ทำโอเปอเรชัน
- Instruction format : ความยาวของคำสั่ง (เป็นบิต) จำนวนแอ็ดเดรส ขนาดของฟิลด์ และอื่น ๆ
- Register : จำนวนรีจิสเตอร์ที่คำสั่งสามารถอ้างอิงและใช้ประโยชน์ได้

ประเภทโอเปอเรชัน
- โอเปอเรชันทางด้านการถ่ายโอนข้อมูล (Data transfer)
- โอเปอเรชันทางด้านคณิตศาสตร์ (Arithmetic)
- โอเปอเรชันทางด้านตรรกะ (Logical)
- โอเปอเรชันทางด้านการแปลงค่า (Conversion)
- โอเปอเรชันทางด้านอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต (I/O)
- โอเปอเรชันทางด้านการควบคุมระบบ (System control)

พื้นฐานของโอเปอเรชันสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ ได้คือ
ประเภทโอเปอแรนด์
- แอ็ดเดรส

- ตัวเลข
- คาแรกเตอร์
- ข้อมูลตรรกะ

ประเภทของโอเปอแรนด์มีดังนี้
ประเภทข้อมูลของ Pentium
- General ประเภทข้อมูลที่เป็น Byte, word, doubleword, quadword
- Integer ค่าเลขฐานสองที่มีเครื่องหมาย
- Ordinal ค่าจำนวนเต็มไม่มีเครื่องหมาย
- Unpacked binary coded decimal (BCD)การแสดงค่าของตัวเลข BCD ในช่วง 0-9
- Packed BCD ไบต์ที่แสดงตัวเลข BCD 2 ค่า อยู่ระหว่าง 0-99
- Near pointer แอ็ดเดรสขนาด 32 บิต ใช้สำหรับ พอยเตอร์เพื่ออ้างอิงในหน่วยความจำ
- Bit field ชุดของบิตที่เรียงต่อเนื่อง แต่ละบิตมีความเป็นอิสระ
- Byte string byte , word , doubleword ที่เรียงต่อเนื่องกัน
- Floating point ตัวเลขที่เป็นทศนิยม
- Addressing : การกำหนดโหมดของแอ็ดเดรสสำหรับโอเปอแรนด์

โครงสร้างข้อมูลตัวเลขของ Pentium
ประเภทข้อมูลของ PowerPC
- Unsigned byte ใช้ทางตรรกะและคณิตศาสตร์ของจำนวนเต็ม
- Unsigned Halfword เหมือนกับ Unsigned byte แต่ใช้ 16 บิต
- Signed Halfword ใช้สำหรับคำสั่งทางคณิตศาสตร์
- Unsigned Word ใช้ทางตรรกะและเป็นแอ็ดเดรสพอยเตอร์
- Signed Word ใช้สำหรับคำสั่งทางคณิตศาสตร์
- Unsigned Doubleword ใช้เป็นแอ็ดเดรสพอยเตอร์
- Byte String ขนาด 0-128 ไบต์