ใบ งาน ทัศน ศิลป์ ม 2

ใบงานที่ ๔.๑
เรื่อง วฒั นธรรมทีส่ ะท้อนในงานทศั นศลิ ปใ์ นปจ� จบุ นั
คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์วฒั นธรรมทส่ี ะทอ้ นในงานทศั นศิลปใ์ นปจ� จบุ นั จากภาพผลงาน
ทัศนศลิ ป์ที่กำหนดให้

ชอ่ื ผลงาน : สมบรู ณ์ พนู สขุ ศิลป�น : นายสวุ ิวัฒน์ หวานอารมณ์

ชอ่ื ....................................................................เลขท.่ี .................ชน้ั .....................

ใบความรู้ท่ี ๒.๑ เรื่อง งานทศั นศลิ ป์ในยคุ สมัยตา่ งๆของไทย

ศิลปะไทย
เปน� ศลิ ปะประจำชาติของชาวไทย ซงึ่ มีมาตงั้ แต่บรรพบุรษุ สมัยอดีตกาลได้เปล่ียนแปลงตามอิทธิพล

และสมยั ของแตล่ ะยคุ จากหลักฐานการสรา้ งสรรคข์ องมนุษยใ์ นดนิ แดนไทย แบง่ ได้เป�น 3 ยุค
1. ยุคก่อนประวัติศาสตร์ พบหลกั ฐานการศึกษาศลิ ปวัฒนธรรม ได้แก่
1 ยุคหินเก่า ระยะเวลาประมาณห้าแสนป�ถึงห้าหมื่นป� พบเครื่องมือหิน ที่จังหวัดกาญจนบุรี

เชยี งราย นา่ น และลพบุรี เคร่ืองมอื หนิ ท่ีพบได้แก่ ขวานหินกะเทาะจากกอ้ นอยา่ งหยาบๆ
2 ยคุ หนิ กลาง ระยะเวลาประมาณหนึ่งหมนื่ ปถ� งึ ห้าพนั ป� พบเครื่องมอื หินกะเทาะในท้องท่ีจังหวัด

แมฮ่ อ่ งสอน เชียงใหม่ เชยี งราย ลพบุรี ราชบรุ ี และกาญจนบุรี เคร่อื งมอื มีความประณีตงดงามมากขึ้นกว่าเดมิ
3 ยุคหินใหม่ ระยะเวลาประมาณห้าหม่ืนป�ถงึ ห้าพนั ป� พบเครื่องมือหินอยู่ในทุกภาคของประเทศ

ไทยรวมกันเป�นหมู่บ้าน บนหินใกล้แหล่งน้ำ รู้จักทำขวานหินให้ประณีตงดงาม รู้จักทำเครอื่ งป�นดินเผา ทำ
เครื่องประดับ เครื่องประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ นักโบราณคดีบางท่านให้ความเห็นว่า มนุษย์ยุคหินใหม่ใน
ประเทศไทย คือ บรรพบุรษุ ของคนไทยเราในป�จจุบนั เคร่ืองมอื ทพ่ี บ ได้แก่ ปลายหอย กำไลทำด้วยหิน หม้อ
หุงข้าว ภาชนะใสอ่ าหาร มลี วดลายเชอื ก ลายเสื่อ และลายจักสาน เปน� ต้น

4 ยคุ โลหะ ระยะเวลาประมาณแปดพันป�ถึงสองพนั ป� พบเครือ่ งโลหะเคร่อื งเผาทีบ่ ้านเชียง จังหวัด
อุดรธานี มีอายุประมาณเจ็ดพันปเ� ศษ ที่พบมากในประเทศไทย ได้แก่ กลองมโหระทึก อาวุธ เครื่องใช้ และ
เคร่ืองประดับ

พบภาพเขยี นสีและภาพแกะสลกั บนผนังถำ้ ท่ีอยูอ่ าศัยของมนุษย์ยุคนี้ เชน่ ถำ้ เขาเขียว ภาคกลาง
พบทจ่ี งั หวัดกาญจนบรุ ี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบทจี่ งั หวดั กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อดุ รธานี และทางภาคใต้
พบทจี่ งั หวัดพงั งา เป�นตน้

ถ้ำเขาเขยี ว ภาคกลางพบทจ่ี งั หวดั กาญจนบรุ ี

ภาพคนท่ีมา : http://www.era.su.ac.th

ภาพเรขาคณติ

ทม่ี า : http://www.era.su.ac.th

ภาพแสดงดว้ ยลายเส้นเป�นเค้าโครง หรอื รปู ทรงต่างๆ และภาพลายเส้นผสมกบั ระบายสที บึ อาจเปน�
สัญลักษณห์ รือเครือ่ งหมาย หรอื แสดงภาพตน้ ไม้ บ้าน เครือ่ งมือต่างๆ หรอื ภาพดวงอาทิตย์ ? รวมทัง้ ภาพสตั ว์
ด้วย

ภาพเขียนและภาพแกะสลกั บนผนงั ถ้ำ(Cave Arts ถือเปน� งานศิลปะทีเ่ ก่าแกท่ สี่ ุด เป�นวฒั นธรรมการ
สรา้ งอกี อย่างหน่ึงของมนษุ ย์ยุคกอ่ นประวัตศิ าสตร์ สีที่ใช้จะเป�นสีของดิน ไดแ้ ก่ สีแดง สเี หลอื ง และสีดำ เขียน
เป�นภาพสตั ว์ ลายเรขาคณิต และภาพคน

2. ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย
แบง่ ตามหลกั ฐานทางโบราณคดแี ละประวัตศิ าสตร์ ดังนี้
1 ศิลปะรุ่นเก่า จากการเผยแพร่พระพุทธศาสนาจากอินเดียมายังดินแดนสุวรรณภูมิบริเวณภาค
กลางของประเทศไทย ศลิ ปะและวฒั นธรรมทางศาสนามผี นู้ ำเขา้ มา เชน่ พระพุทธรปู ขนาดเลก็ หลอ่ ดว้ ยสำริด
เป�นศิลปะอมราวดี และพระพุทธศิลปะคุปตะของอินเดีย จึงเข้าใจว่าเป�นตัวอย่างในการสร้างพระพุทธรูป
(สันติ เล็กสขุ มุ ,2544 : 22
2 ศิลปะทวาราวดี พุทธศตวรรษ ที่ 11-16 บริเวณลุ่มแมน่ ้ำเจ้าพระยา จังหวัดที่พบศิลปวัตถุ แก่
สุพรรณบุรี สระบุรี ราชบุรี และนครปฐม ราชธานีของอาณาจักรทวารวดีไม่ทราบแน่ชัดแต่สันนิษฐานจาก
หลกั ฐานทางโบราณคดีเช่ือว่านา่ จะเป�นนครปฐม
3 ศลิ ปะศรวี ชิ ัย พุทธศตวรรษที่ 13-18 บริเวณหม่เู กาะชวา มาเลเซยี และตอนใต้ของไทย ป�จจุบัน
คือ อำเภอไชยยา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ศลิ ปวตั ถุไดร้ บั อทิ ธิพลตอ่ เน่ืองจากชวาเป�นสำคญั
เช่น พระบรมธาตไุ ชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี พระบรมธาตุ จังหวัดนครศรธี รรมราช ประติมากรรมรปู
พระโพธสิ ตั ว์อวโลกิเตศวรสำริด เปน� ตน้

พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกเิ ตศวรสำริด ทม่ี า : https://upload.wikimedia.org/

1.3 ยุคประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย
ศิลปะยุคประวัติศาสตร์ไทย เริ่มตั้งแต่ชนชาติไทยตั้งมั่นในสุวรรณภูมิแบ่งคร่าวเป�น 4 สมัย คือ

ศลิ ปะสมยั เชียงแสน ศิลปะสมยั สโุ ขทยั ศลิ ปะสมยั อยธุ ยา และศลิ ปะสมยั รัตนโกสนิ ทร์
๑ ศิลปะสมยั เชยี งแสน หรอื ศลิ ปะลา้ นนาไทย พบซากเมอื งอยู่รมิ ฝ�งแมน่ ้ำโขง อำเภอเชยี งแสน จังหวัด
เชียงราย ศิลปวตั ถขุ องสมัยเชียงแสนได้รบั อิทธิพลจากอินเดยี และลงั กา มีเอกลักษณ์เปน� ของตนเอง
เช่น สถาป�ตยกรรม โบสถ์ และวหิ าร ภาพรปู ป�นหอไตร วัดพระสงิ ห์ จงั หวดั เชยี งใหม่
๒ ศิลปะสมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐ อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทยที่เมืองสุโขทัยที่

งดงามมาก เป�นศิลปะแบบสงู สุด(Classic Art) พระพุทธรูปมีความอ่อนช้อยละมุนละมยั ตามอุดมคตอิ นั ดีงาม
ของไทย เช่น พระพุทธรูปปางลีลา ที่ระเบยี งพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร พระพทุ ธชินราช
วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ จังหวัดพิษณโุ ลก

พระพุทธชินราช วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ จังหวดั พิษณุโลก
ทมี่ า : https://th.wikipedia.org

พระพุทธรปู ปางลีลา
ทมี่ า : https://phrathai.files.wordpress.com

งานจติ รกรรม การวาดภาพระบายสใี นสมยั สุโขทยั เปน� งานที่สะทอ้ นความเช่ือถือ ศรัทธาทางศาสนา
วัฒนธรรม และภูมิป�ญญาของคนไทยในสมัยนั้น โดยมุ่งเน้นสร้างสรรค์งานจิตรกรรมตามแบบอุดมคติ
(Idealistic) มากกวา่ แบบ เหมอื นจริง (Realistic) เชน่ งานจติ รกรรมประกอบพระนิพนธ์ "ไตรภมู ิพระร่วง"ของ
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย ซ่ึงเป�นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเลม่ แรกของไทย ภาพลายเส้นที่วัดศรี
ชุม จังหวัดสุโขทัย แสดงการแต่งกายและเครื่องประดบั ของชนชั้นสูง ภาพจิตรกรรมฝาผนังในเจดีย์องค์หนึ่ง
ของวัดเจดียเ์ จด็ แถว เป�นภาพแถวพระพทุ ธเจา้ ประทบั เรียงกัน เป�นต้น

ภาพเขียนที่วดั ศรีชุม ภาพจิตรกรรม หอพระพทุ ธสริ มิ ารวิชยั

สุโขทัย

ทม่ี า : http://119.46.166.126/self_all ทีม่ า : http://www.thaimaptravel.com

๓ ศิลปะสมัยลพบุรี ยุคน้ันอาณาจักรลพบรุ หี รือเมอื งละโว้ในขณะนั้น ไดร้ ับอิทธิพลท้งั ด้านความเชื่อทาง

ศาสนา และ งานศิลปะมาจาก อาณาจักรขอมคอ่ นข้างมาก ทำให้งานศลิ ปะของเมอื งละโว้

ออกมาเป�นสไตล์ขอมเป�นส่วนใหญไ่ ม่ว่าจะเปน� งานสถาป�ตยกรรม งานปะติมากรรม มองเผินๆจะเหมือนกับ

ของขอมเลยทเี ดียว แตม่ ีรายละเอยี ดบางอย่างแตกตา่ งกันอยเู่ ลก็ น้อย

การสร้างพระพุทธรูป งานปะติมากรรมส่วนใหญย่ ุคก่อนนั้นจะเน้นการสร้างพระพุทธรูปเนื่องจากความเช่ือ

ทางดา้ นศาสนาน่นั เอง ทีนี้พระพทุ ธรปู สมัยลพบุรีนัน้ จะคลา้ ยกับงานพระพทุ ธรปู ของขอมด้วย กล่าวคอื จะทำ

ให้พระพักตร์(หน้าส้ันเปน� รปู สเี่ หลี่ยม ตาโต ปากกว้าง เป�นต้น ปา งท่นี ยิ มสรา้ งกค็ อื ปางนาคปรก นิยมสร้าง

พระจากหินทราย หรือ สำรดิ มากท่สี ดุ นอกจากน้นั จะมกี ารสรา้ งเทวรูปเพอื่ สกั การะความเชื่อ หลักๆจะมีสอง

แบบคอื เทวรูปพระนารายณ์ และ เทวรปู พระศิวะ

งานสถาปต� ยกรรม

เมืองละโว้ในยุคนั้น ไดแ้ บบแผนการสร้างเมอื งมาจากขอมดว้ ย กลา่ วคอื เมอื งจะมีการวางผงั เมอื งมาเป�นอย่าง
ดี มกี ารวางระบบน้ำประปาเพือ่ เก็บไวใ้ ช้เพาะปลกู มกี ารสำรองแหลง่ นำ้ สำคญั (เหมอื นกบั เขื่อนอีกดว้ ย ดา้ น
สถาป�ตยกรรมจะสรา้ งอยา่ งมแี บบแผนทงั้ ทางดา้ นวิศวกรรม และความเชือ่ ผสมผสานกนั อย่างเช่น การสร้าง
ปราสาทจะสร้างแบบใหแ้ ผนผงั สมมาตรกัน(เพ่อื ความสวยงามและใช้งานง่าย อกี ท้งั ปราสาทจะตอ้ งหันหนา้ ไป
ทางทิศตะวันออก(รบั แสงอาทิตย์ตอนเช้าอกี ดว้ ย นอกจากนนั้ วธิ กี ารสรา้ งก็ยอดเยย่ี ม เราใชอ้ ฐิ หินทราย ศิลา
แลงมาวางเรยี งกนั เพอื่ ทำใหเ้ กิดปราสาทขึ้นมา นกั โบราณคดีเชือ่ วา่ ยคุ นนั้ อาจจะมกี ารใชย้ างไม้พเิ ศษเพ่ือทำ
หน้าท่ยี ดึ ตดิ กอ้ นหินใหอ้ ยู่ตัว สถาปต� ยกรรมทมี่ คี วามศลิ ปะยุคสมัยลพบรุ ีมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ พระปรางคส์ ามยอด
ประติมากรรม

ทม่ี า: http://www.pennpat.org

ทีม่ า: http://www.pennpat.org

ผลงานศิลปะสมัยลพบุรีอีกชิ้นหน่ึง น่าสนใจมากนั่นก็คือ ผลงานภาพเหมือนพระบรมสาทิสลักษณ์
พระเจ้าชัยวรมนั ที่ ๗ พระเจ้าแผ่นดินองคส์ ำคญั ที่เผยแพร่ความคิด ความเชื่อหลายอย่างไปทั่วทั้งอาณาจกั ร
รวมถึงลพบุรนี ีด้ ว้ ย มีผลงานชิ้นหนง่ึ เชื่อกันว่าเหมอื นกบั ทา่ นมากถูกคนพบที่ ปราสาทหินพมิ าย จังหวดั โคราช
แม้จะชำรุดเสียหายไปบ้างจากกาลเวลา แต่โดยรวมยังสมบูรณ์อยู่มาก ใครที่สนใจศิลปะสมัยลพบุรี เสาร์
อาทิตยว์ า่ งๆลองขับรถไปดไู ม่ไกลจากกรงุ เทพเท่าไรนัก

พระปรางคส์ ามยอด จงั หวัดลพบรุ ี
ทม่ี า : https://th.wikipedia.org

๔ ศิลปะสมัยอยธุ ยา พทุ ธศตวรรษท่ี 20-23 มพี ระนครศรอี ยธุ ยาเป�นราชธานี ศิลปวตั ถุสมยั แรกไดร้ ับอิทธพิ ล

จากศลิ ปะสมยั ลพบุรี และสุโขทัย เชน่ พระเศยี รพระพทุ ธรูปหนิ ทราย และประตมิ ากรรมสลกั ไม้ที่บานประตู
เจดียว์ ัดพระศรีสรรเพชญ์ แล้วพัฒนาเป�นเอกลักษณ์ของอยุธยาแท้ เช่น ประติมากรรมสลกั ไม้นูนสูง รูปพระ
นารายณ์ทรงครุฑ ลายรดนำ้ ตู้พระธรรม ที่มีชื่อเสียง คือ “ลายรดน้ำฝ�มือครูวัดเชิงหวาย” พบที่วัดเชิงหวาย
จังหวดั นนทบุรี
งานประติมากรรม งานป�น และงานแกะสลกั สมัยอยธุ ยา เป�นงานทเี่ กี่ยวข้องกบั พระพุทธศาสนาเป�นส่วนใหญ่
มีการป�นพระพุทธรูปในลักษณะต่าง ๆ ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากสมัยสุโขทัย ต่อมาได้สร้างสรรค์
พระพุทธรูปเป�นแบบทรงเครื่องใหญ่เป�นแบบอยุธยา ซึ่งมีเครื่องประดับตกแต่งที่งดงาม เช่น พระพุทธรูป
ทรงเครื่องใหญ่ วัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป�นต้น นอกจากนี้ยังมีทองรูปประพรรณสมัย
อยุธยา พิมพ์ในกรพุ ระปรางค์ วัดราชบรู ณะ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งใหญ่ วัดหนา้ พระเมรุ จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
http://www.thaigoodview.com

๕ ศิลปะสมยั รัตนโกสนิ ทร์ เร่ิมตงั้ แตพ่ ทุ ธ
ศตวรรษที่ ๒๓ โดยรวมศิลปะสมัยธนบรุ ดี ว้ ย
ศลิ ปะสมัยรตั นโกสนิ ทรร์ ะยะแรกเลยี นแบบ
ศิลปะสมัยอยุธยาเป�นสำคญั เช่น วัดพระศรี
รัตนศาสดาราม และวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลา
ราม ต่อมาตง้ั แตส่ มัยรชั กาลที่ ๓ ไดร้ ับอทิ ธพิ ล
จากตะวนั ตก และในสมนั ยรัชกาลที่ ๔ – ๕ เริ่ม
นิยมศลิ ปกรรมยุโรปมาก ไดน้ ำมาผสมกบั แบบศลิ ปกรรมไทย เชน่ พระทีน่ ่งั จกั รมี หาปราสาทใน
พระบรมมหาราชวงั กรงุ เทพมหานคร

พระท่ีน่งั จกั รมี หาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร
ท่ีมา : https://th.wikipedia.org