ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
Ubon Ratchathani Rajabhat University
ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

ตราพระราชลัญจกร
สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ชื่อย่อมรภ.อบ. / UBRU
คติพจน์สร้างสรรค์ภูมิปัญญา นำพาการพัฒนาท้องถิ่น
สถาปนา15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 (18 ปี)
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
อธิการบดีรองศาสตราจารย์ธรรมรักษ์ ละอองนวล
นายกสภาฯพลเอก นิรุทธ เกตุสิริ
ที่ตั้งวิทยาเขตในเมือง
เลขที่2 ถนนราชธานี ตำบลในเมือง  อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000

วิทยาเขตบ้านยางน้อย

ถนนแจ้งสนิท ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 34150
สีประจำสถาบัน████ สีเทา สีชมพู
เพลงกลิ่นพะยอม
เว็บไซต์www.ubru.ac.th

ดูบทความหลักที่: มหาวิทยาลัยราชภัฏ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (อังกฤษ: Ubon Ratchathani Rajabhat University) เป็นสถาบันการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และมีการจัดการศึกษาและการค้นคว้าวิจัยในด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยปัจจุบันนี้ได้มีความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยจำปาศักดิ์ ประเทศลาว

ประวัติ[แก้]

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งจัดตั้งอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานี ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจัดการการศึกษาและให้การบริการแก่ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ (บางส่วน) และบุคลากรในเขตจังหวัดและประเทศใกล้เคียง โดยจัดการศึกษาในระดับอนุปริญญา ปริญญาบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต และปริญญาดุษฎีบัณฑิต โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีพัฒนาการและการยกฐานะดังต่อไปนี้

  • พ.ศ. 2458 มณฑลอุบลราชธานี ก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นต่ำขึ้นในโรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑล ตามตราสารเสมาธรรมจักรน้อยที่ ๗/๑๑๔๔ ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๕๘ มีการจัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ในความดูแลของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2490 เปิด "โรงเรียนฝึกหัดครูอุบลราชธานี" ขึ้น โดยใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี
  • พ.ศ. 2490 จัดการเรียนการสอนหลักสูตร "ประกาศนียบัตรจังหวัด" และหลักสูตรประโยคครูมูล
  • พ.ศ. 2497 จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร "ประโยคครูประถม" (ป.ป.)
  • พ.ศ. 2498 จัดการเรียนการสอนหลักสูตร "ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา" (ป.กศ.)
  • พ.ศ. 2499 เริ่มโครงการฝึกหัดครูชนบทซึ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลและองค์การยูเนสโก (Thailand Unesco Rural Teacher Education Project) หรือ TURTEP
  • พ.ศ. 2501 ยกฐานะขึ้นเป็น "วิทยาลัยครูอุบลราชธานี" เปิดสอนถึงระดับ ป.กศ.สูง
  • พ.ศ. 2510 เปิดสอนหลักสูตรประโยคครูประถม (ป.ป.)
  • พ.ศ. 2517 ได้เปิดสอนระดับปริญญาตรี ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518
  • พ.ศ. 2527 มีการจัดตั้งวิทยาลัยชุมชนชั้นในวิทยาลัยครูอุบลราชธานี ชื่อ "วิทยาลัยครูอุบลราชธานี"
  • พ.ศ. 2534 ทำโครงการความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ เปิดสอนระดับปริญญาโท วิชาเอกพัฒนาสังคม และวิชาเอกการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และ/หรือ การบริหารโครงการและนโยบายสาธารณะ
  • พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานนามว่า "สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี"
  • พ.ศ. 2540 เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู และหลักสูตรปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา ในปีการศึกษา 2541 ได้เปิดสอนเพิ่มอีก 2 สาขา คือ สาขาพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน และสาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา
  • ปีการศึกษา 2544 ได้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
  • ปีการศึกษา 2545 ได้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท สาขา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA)
  • ปีการศึกษา 2547 ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี" [1]
  • ปัจจุบันนี้ได้เปิดสอนระดับปริญญามหาบัณฑิตในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ครุศาสตรมหาบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต และระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตในหลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคณาจารย์และนักศึกษาเป็นจำนวนมาก อาคารสถานที่และครุภัณฑ์ที่ทันสมัยและเป็นสถาบันการศึกษาที่มีการพัฒนาการอย่างต่อเนื่องเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น และเพื่อความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการภายในจึงได้มีการสถานภาพเป็นนิติบุคคล นอกจากนี้ยังมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาอาจารย์การพัฒนาการเรียนการสอนในทุกสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ผู้บริหาร[แก้]

1 พ.ศ. 2491 - 2501 นายประสิทธิ์ สุนทโรทก ครูใหญ่ รร.ฝึกหัดครู
2 พ.ศ. 2501 - 2508 นายประสิทธิ์ สุนทโรทก ผู้อำนวยการวิทยาลัยครู
3 พ.ศ. 2508 - 2509 นายสนอง สิงหพันธ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยครู
4 พ.ศ. 2509 - 2515 นายสกล นิลวรรณ ผู้อำนวยการวิทยาลัยครู
5 พ.ศ. 2515 - 2517 นายพจน์ ธัญญขันธ์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยครู
6 พ.ศ. 2517 - 2519 นายจินต์ รัตนสิน อธิการวิทยาลัยครู
7 พ.ศ. 2519 - 2521 นายประธาน จันทรเจริญ อธิการวิทยาลัยครู
8 พ.ศ. 2521 - 2523 นายอรุณ มุขสมบัติ อธิการวิทยาลัยครู
9 พ.ศ. 2523 - 2529 ผศ.ดร.พล คำปังสุ์ อธิการวิทยาลัยครู
10 พ.ศ. 2530 - 2537 ผศ.ปุณณะ ภูละ อธิการบดีวิทยาลัยครู
11 พ.ศ. 2537 - 2538 ผศ.สมชาย วงศ์เกษม อธิการบดีสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี
12 พ.ศ. 2538 - 2546 ผศ.สมชาย วงศ์เกษม อธิการบดีสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี
13 พ.ศ. 2546 - 2547 ผศ.เกษม บุญรมย์ อธิการบดีสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี
14 พ.ศ. 2547 - 2551 ผศ.เกษม บุญรมย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
15 พ.ศ. 2551 - 2556 ผศ.ดร.ชัยวัฒน์ บุณฑริก อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
16 พ.ศ. 2556 - 2560 ผศ.ประชุม ผงผ่าน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
17 พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน รศ.ธรรมรักษ์ ละอองนวล อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย[แก้]

ตราประจำมหาวิทยาลัย[แก้]

  • ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

  • ตราประจำมหาวิทยาลัย เป็นรูปวงรี 2 วงซ้อนกัน ระหว่างวงรีส่วนบน เขียนเป็นอักษรภาษาไทยว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ส่วนล่างเขียนเป็นอักษรภาษาอังกฤษว่า " UBON RATCHATHANI RAJABHAT UNIVERSITY"ภายใต้วงรีด้านในมีตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งเป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีมีอักขระเป็นอุหรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้นตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า มีพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน
สีน้ำเงิน สีน้ำเงิน แทนค่าสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำหนดและพระราชทานสถาบันราชภัฏ
สีเขียว สีเขียว แทนค่าที่ตั้งของสถาบันฯทั้ง 36 แห่งในแหล่งธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
สีทอง สีทอง แทนค่าความเจริญรุ่งเรืองทางปัญญา
สีส้ม สีสัม แทนค่าความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ก้าวไกลใน 36 สถาบัน
สีขาว สีขาว แทนค่าความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

สีประจำมหาวิทยาลัย[แก้]

  • ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

    สีประจำมหาวิทยาลัย

  • สีประจำมหาวิทยาลัย ได้แก่ สีเทา - ชมพู

คณะที่เปิดสอน[แก้]

การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี[แก้]

กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ

  • คณะสาธารณสุขศาสตร์
  • คณะพยาบาลศาสตร์
  • คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

  • คณะวิทยาศาสตร์ Archived 2012-06-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • คณะเกษตรศาสตร์
  • คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์

กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ
  • คณะครุศาสตร์
  • คณะนิติศาสตร์ Archived 2011-01-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

การจัดการศึกษาระดับปริญญาโทและเอก[แก้]

การศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตการศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต

หลักสูตรการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

  • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต)
    • สาขา วิชาชีพครู
    • สาขา การบริหารการศึกษา

หลักสูตรการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต

  • หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
    • สาขา สัตวศาสตร์
    • สาขา คณิตศาสตร์ศึกษา
    • สาขา วิทยาศาสตร์ศึกษา
    • สาขา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
    • สาขา เทคโนโลยีวิศวกรรม
  • หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
    • สาขา ภาษาอังกฤษ
    • สาขา สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา
    • สาขา ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)
    • สาขา บริหารธุรกิจ
    • สาขา การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์
  • หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
    • สาขา การสร้างเสริมสุขภาพ
  • หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.)
    • สาขา การบริหารการศึกษา
    • สาขา วิจัยและประเมินผลการศึกษา
    • สาขา การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน
  • หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)
    • สาขา รัฐประศาสนศาสตร์

หลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต

  • หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.)
    • สาขา การบริหารการศึกษา
  • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
    • สาขา ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค

หน่วยงานภายใน[แก้]

  • สำนัก/สถาบัน/กองงาน
    • สำนักงานอธิการบดี
    • สถาบันวิจัยและพัฒนา
    • สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
    • สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
    • สำนักบริการวิชาการชุมชน
    • สำนักงานตรวจสอบภายใน
    • กองกลาง
    • กองนโยบายและแผน
    • กองบริหารงานบุคคล
    • กองพัฒนานักศึกษา
    • สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
    • สถาบันเศรษฐศาสตร์ลุ่มน้ำโขง
    • สถาบันการศึกษานานาชาติ (International Education Institute) Archived 2019-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ศูนย์
    • ศูนย์คอมพิวเตอร์
    • ศูนย์ภาษา
    • คลินิกเทคโนโลยี
    • ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ
    • ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
    • ศูนย์แม่น้ำโขงศึกษา
    • หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี
    • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
    • ศูนย์ศึกษาและการพัฒนาครู
    • ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา
  • คณะ/วิทยาลัย
    • คณะวิทยาศาสตร์
    • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    • คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ
    • คณะครุศาสตร์
    • คณะเกษตรศาสตร์
    • คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    • คณะนิติศาสตร์
    • คณะแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
    • คณะพยาบาลศาสตร์
    • คณะสาธารณสุขศาสตร์
    • คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์
    • บัณฑิตวิทยาลัย
  • โรงเรียน
    • โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • วิทยาเขต
    • วิทยาเขตบ้านยางน้อย (อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี)

พิธีพระราชทานปริญญาบัตร[แก้]

พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร จังหวัดสกลนคร ในช่วงประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ในการพระราชทานปริญญาบัตร แก่บัณฑิต มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

เกียรติประวัติ/รางวัล/ผลงาน[แก้]

  • วงโปงลางของวิทยาลัยครูอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2534 ได้รับการยกย่องจาก สมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ให้ได้รับรางวัลสังข์เงินและนับเป็นวงโปงลางแรกที่ได้รับเกียรตินี้ (การรำที่เป็นเอกลักษณ์ของวงโปงลางนี้คือ รำตังหวาย)
  • ทีม Beer Programmer นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการแข่งขันการสร้างเกมคอมพิวเตอร์ 3 มิติ ด้วย Dark Babic Professional คว้ารางวัลชนะเลิศอันดับ 1 มาครองจากงานนิทรรศการ "Game Show 2008" นิทรรศการแสดงและประกวดผลงานเกมนักศึกษา ในความร่วมมือของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม กับสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) สาขาขอนแก่น เมื่อวันที่ 17-20 กันยายน 2551 ณ จังหวัดขอนแก่น และทีม Princess ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และทีม Up To You และทีม Good Boy ได้รับรางวัลชมเชย จากการแข่งขันสร้างเกมคอมพิวเตอร์ 3 มิติจากนิทรรศการเดียวกัน

บุคลากร, ศิษย์ของสถาบัน ที่มีชื่อเสียง[แก้]

  • ศักดา คำพิมูล – ศิลปินนักร้องค่ายชัวร์ ออดิโอ (คณะบริหารธุรกิจและการจัดการ)
  • ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ – สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานี (คณะครุศาสตร์)
  • รศ.ดร.รังสรรค์  พาลพ่าย – เอกชีววิทยา จบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยเกียวโต  ประเทศญี่ปุ่น เป็นผู้โคลนนิ่งวัวคนแรกของประเทศไทย
  • วชิรพงศ์ นาสารีย์ – หนึ่งในทีมช่วยชีวิตคนงานเหมืองในประเทศชิลี (คณะวิทยาศาสตร์)
  • สลา คุณวุฒิ – นักประพันธ์เพลง, ครูเพลง "ป.กศ.สูง เอกวิทยาศาสตร์ มีนาคม 2524"
  • ผศ.ดร.บัญชา เกียรติจรุงพันธ์ – ประธานสาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. "ป.กศ.สูง เอกภาษาไทย มีนาคม 2524"
  • รศ.ดร.ประวิตร เอราวรรณ – อดีตคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • เหนือธรณี สามชัยวิเศษสุก – นักมวยไทยผู้สวมหน้ากากแบทแมน[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 121 (23 ก): 1. June 14, 2004.
  2. ทีมข่าวมวยสยาม. เหนือธรณี สามชัยวิเศษสุก (แบทแมน). น็อกเอาต์ฉบับมวยสยาม. ปีที่ 30 ฉบับที่ 2291. ISSN 15135454. หน้า 24

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สัญลักษณ์

พระราชลัญจกร • วันราชภัฏ

กลุ่มรัตนโกสินทร์

จันทรเกษม • ธนบุรี • บ้านสมเด็จเจ้าพระยา • พระนคร • สวนสุนันทา

กลุ่มภาคกลาง

กาญจนบุรี • เทพสตรี • นครปฐม • พระนครศรีอยุธยา • เพชรบุรี • ราชนครินทร์ • รำไพพรรณี • วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ • หมู่บ้านจอมบึง

กลุ่มภาคเหนือ

กำแพงเพชร • เชียงราย • เชียงใหม่ • นครสวรรค์ • พิบูลสงคราม • เพชรบูรณ์ • ลำปาง • อุตรดิตถ์

กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ชัยภูมิ • นครราชสีมา • บุรีรัมย์ • มหาสารคาม • ร้อยเอ็ด • เลย • ศรีสะเกษ • สกลนคร • สุรินทร์ • อุดรธานี • อุบลราชธานี

กลุ่มภาคใต้

นครศรีธรรมราช • ภูเก็ต • ยะลา • สงขลา • สุราษฎร์ธานี

อดีตมหาวิทยาลัยราชภัฎ

นครพนม • สวนดุสิต • กาฬสินธุ์

หมวดหมู่ • โครงการ • สถานีย่อย

ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65
รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

มหาวิทยาลัย

  • กาฬสินธุ์
  • นครพนม
  • นราธิวาสราชนครินทร์
  • นเรศวร
  • มหาสารคาม
  • รามคำแหง
  • สุโขทัยธรรมาธิราช
  • อุบลราชธานี

สถาบัน

  • ปทุมวัน

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

  • กาญจนบุรี
  • กำแพงเพชร
  • จันทรเกษม
  • ชัยภูมิ
  • เชียงราย
  • เชียงใหม่
  • เทพสตรี
  • ธนบุรี
  • นครปฐม
  • นครราชสีมา
  • นครศรีธรรมราช
  • นครสวรรค์
  • บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • บุรีรัมย์
  • พระนคร
  • พระนครศรีอยุธยา
  • พิบูลสงคราม
  • เพชรบุรี
  • เพชรบูรณ์
  • ภูเก็ต
  • มหาสารคาม
  • ยะลา
  • ร้อยเอ็ด
  • ราชนครินทร์
  • รำไพพรรณี
  • ลำปาง
  • เลย
  • วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ศรีสะเกษ
  • สกลนคร
  • สงขลา
  • สวนสุนันทา
  • สุราษฎร์ธานี
  • สุรินทร์
  • หมู่บ้านจอมบึง
  • อุดรธานี
  • อุตรดิตถ์
  • อุบลราชธานี

มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล

  • กรุงเทพ
  • ตะวันออก
  • ธัญบุรี
  • พระนคร
  • รัตนโกสินทร์
  • ล้านนา
  • ศรีวิชัย
  • สุวรรณภูมิ
  • อีสาน

สถาบันวิทยาลัยชุมชน

  • ตราด
  • ตาก
  • นราธิวาส
  • น่าน
  • บุรีรัมย์
  • ปัตตานี
  • พังงา
  • พิจิตร
  • แพร่
  • มุกดาหาร
  • แม่ฮ่องสอน
  • ยโสธร
  • ยะลา
  • ระนอง
  • สงขลา
  • สตูล
  • สมุทรสาคร
  • สระแก้ว
  • หนองบัวลำภู
  • อุทัยธานี

สถาบันการอาชีวศึกษา

  • เกษตรภาคเหนือ
  • เกษตรภาคใต้
  • เกษตรภาคกลาง
  • เกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • กรุงเทพมหานคร
  • ภาคเหนือ ๑
  • ภาคเหนือ ๒
  • ภาคเหนือ ๓
  • ภาคเหนือ ๔
  • ภาคใต้ ๑
  • ภาคใต้ ๒
  • ภาคใต้ ๓
  • ภาคกลาง ๑
  • ภาคกลาง ๒
  • ภาคกลาง ๓
  • ภาคกลาง ๔
  • ภาคกลาง ๕
  • ภาคตะวันออก
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

สถาบันการศึกษา
ของทหารและตำรวจ

  • นายร้อยตำรวจ
  • นายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • นายเรือ
  • นายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช
  • พยาบาลกองทัพบก
  • พยาบาลกองทัพเรือ
  • พยาบาลตำรวจ
  • พยาบาลทหารอากาศ
  • แพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

สถาบันการศึกษานอกสังกัด
กระทรวงการอุดมศึกษาฯ

  • การชลประทาน
  • การบินพลเรือน
  • การกีฬาแห่งชาติ
  • บัณฑิตพัฒนศิลป์
  • พระบรมราชชนก
  • ศูนย์ฝึกพาณิชย์นาวี

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

มหาวิทยาลัย

  • เกษตรศาสตร์
  • ขอนแก่น
  • จุฬาลงกรณ์
  • เชียงใหม่
  • ทักษิณ
  • ธรรมศาสตร์
  • นวมินทราธิราช
  • บูรพา
  • พระจอมเกล้าธนบุรี
  • พระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • พะเยา
  • มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • มหามกุฏราชวิทยาลัย
  • มหิดล
  • แม่โจ้
  • แม่ฟ้าหลวง
  • วลัยลักษณ์
  • ศรีนครินทรวิโรฒ
  • ศิลปากร
  • สงขลานครินทร์
  • สวนดุสิต
  • สุรนารี

สถาบัน

  • การพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
  • ดนตรีกัลยาณิวัฒนา
  • เทคโนโลยีจิตรลดา
  • บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • บัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์
  • เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วิทยาลัย

  • วิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

มหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพ
  • กรุงเทพธนบุรี
  • กรุงเทพสุวรรณภูมิ
  • การจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น
  • เกริก
  • เกษมบัณฑิต
  • คริสเตียน
  • เฉลิมกาญจนา
  • ตาปี
  • เจ้าพระยา
  • ชินวัตร
  • เซนต์จอห์น
  • มหานคร
  • ธนบุรี
  • ธุรกิจบัณฑิตย์
  • นอร์ทกรุงเทพ
  • นอร์ท-เชียงใหม่
  • นานาชาติแสตมฟอร์ด
  • นานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก
  • เนชั่น
  • ปทุมธานี
  • พายัพ
  • พิษณุโลก
  • ฟาฏอนี
  • ฟาร์อีสเทอร์น
  • ภาคกลาง
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • รังสิต
  • รัตนบัณฑิต
  • ราชธานี
  • ราชพฤกษ์
  • วงษ์ชวลิตกุล
  • เว็บสเตอร์
  • เวสเทิร์น
  • ศรีปทุม
  • สยาม
  • หอการค้าไทย
  • หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • หาดใหญ่
  • อัสสัมชัญ
  • อีสเทิร์นเอเชีย
  • เอเชียอาคเนย์

สถาบัน

  • กันตนา
  • การจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • การเรียนรู้เพื่อปวงชน
  • วิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
  • ไทย-ญี่ปุ่น
  • มหาชัย
  • สุวรรณภูมิ
  • รัชต์ภาคย์
  • วิทยาการประกอบการแห่งอโยธยา
  • วิทยสิริเมธี
  • อาศรมศิลป์

วิทยาลัย

  • เฉลิมกาญจนาระยอง
  • เชียงราย
  • เซนต์หลุยส์
  • เซาธ์อีสท์บางกอก
  • ดุสิตธานี
  • ทองสุข
  • เทคโนโลยีพนมวันท์
  • เทคโนโลยีภาคใต้
  • เทคโนโลยีสยาม
  • นครราชสีมา
  • นอร์ทเทิร์น
  • นานาชาติเซนต์เทเรซา
  • นานาชาติราฟเฟิลส์
  • บัณฑิตเอเซีย
  • พิชญบัณฑิต
  • พุทธศาสนานานาชาติ
  • สันตพล
  • แสงธรรม
  • อินเตอร์เทคลำปาง

สถาบันอุดมศึกษาอิสระ

มหาวิทยาลัย

  • ซีเอ็มเคแอล
  • อมตะ

สถาบัน

  • เอไอที

ดูเพิ่ม

  • สกอ.
  • สทศ.
  • มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
  • TCAS
  • อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (สกอ.
  • สกว.)

  • รายชื่อ
  • หมวดหมู่
  • โครงการ
  • สถานีย่อย

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
มหาวิทยาลัย

กาฬสินธุ์ • นครพนม • มหาสารคาม • อุบลราชธานี

มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ชัยภูมิ • นครราชสีมา • บุรีรัมย์ • มหาสารคาม • ร้อยเอ็ด • เลย • ศรีสะเกษ • สกลนคร • สุรินทร์ • อุดรธานี • อุบลราชธานี

มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล

ศูนย์กลาง (นครราชสีมา) • วิทยาเขตขอนแก่น • วิทยาเขตสุรินทร์ • วิทยาเขตสกลนคร • วิทยาเขตร้อยเอ็ด

สถาบันวิทยาลัยชุมชน

บุรีรัมย์ • มุกดาหาร • ยโสธร • หนองบัวลำภู

สาขาวิทยบริการ
มหาวิทยาลัยเปิด

รามคำแหง (อุดรธานี • นครพนม • ขอนแก่น • หนองบัวลำภู • ชัยภูมิ • อำนาจเจริญ • นครราชสีมา • สุรินทร์ • บุรีรัมย์ • ศรีสะเกษ) • สุโขทัยธรรมาธิราช (อุดรธานี • อุบลราชธานี)

วิทยาเขตนอกสังกัด อว.
(การกีฬาแห่งชาติ)

ชัยภูมิ ​• มหาสารคาม ​• ศรีสะเกษ ​• อุดรธานี

วิทยาเขตนอกสังกัด อว.
(พระบรมราชชนก)

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี (ขอนแก่น • นครราชสีมา • สรรพสิทธิประสงค์ • สุรินทร์ • อุดรธานี) • วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม • วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร (ขอนแก่น • อุบลราชธานี)

วิทยาเขตนอกสังกัด อว.
(วิทยาลัยนาฏศิลป์)

กาฬสินธุ์ • นครราชสีมา • ร้อยเอ็ด

วิทยาเขตนอกสังกัดอว.
(อื่นๆ)

การบินพลเรือน

สถาบันการอาชีวศึกษา

เกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๕

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
มหาวิทยาลัย

ขอนแก่น • สุรนารี

วิทยาเขต

เกษตรศาสตร์ สกลนคร • มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ขอนแก่น • หนองคาย • นครราชสีมา • อุบลราชธานี • สุรินทร์) • มหามกุฏราชวิทยาลัย (อีสาน • ร้อยเอ็ด • ศรีล้านช้าง • มหาปชาบดีเถรีวิทยาลัย)

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
มหาวิทยาลัย

เฉลิมกาญจนา • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ราชธานี • วงษ์ชวลิตกุล

สถาบัน

การจัดการปัญญาภิวัฒน์

วิทยาลัย

พนมวันท์ • นครราชสีมา • บัณฑิตเอเซีย • พิชญบัณฑิต • สันตพล

ดูเพิ่ม

สกอ. • สทศ. • มหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย • TCAS • อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย (สกอ. • สกว.)

รายชื่อ • หมวดหมู่ • โครงการ • สถานีย่อย

สถานศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษา

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช • โรงเรียนนารีนุกูล • โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี • โรงเรียนม่วงสามสิบอัมพวันวิทยา • โรงเรียนเขมราฐพิทยาคม • โรงเรียนวารินชำราบ • โรงเรียนเชียงแก้วพิทยาคม

ราชภัฏอุบล เรียนเสาร์-อาทิตย์ 65

สังกัดองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดอุบลราชธานี

โรงเรียนพิบูลมังสาหาร • โรงเรียนบัวงามวิทยา

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนเทศบาล 2 หนองบัว • โรงเรียนเทศบาล 3 สามัคคีวิทยาคาร • โรงเรียนบ้านเหล่าแดง

โรงเรียนสาธิต

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน

โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี • โรงเรียนเบญจธัญพิทยา

สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี • วิทยาลัยเทคโนโลยีธัญลักษณ์

สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศูนย์การศึกษาทางไกลอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยราชธานี • มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น • มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศูนย์วิทยพัฒนา จังหวัดอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี • มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ศูนย์การศึกษาอุบลราชธานี • วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ สถาบันพระบรมราชชนก • วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี • สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอุบลราชธานี • รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี