โครงสร้าง ในการกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย ประกอบด้วย

            㹡���Ԩ�·ҧ�ѧ����ʵ��������¡�кǹ����Ԩ�����ҧ���к��е�ͧ�������Ӥѭ�Ѻ������ҧ�ǤԴ㹡���Ԩ�� ����������§��������ѹ�������ҧ�ѭ�� �ѵ�ػ��ʧ���������԰ҹ��ʹ������õ�ҧ�㹡���Ԩ�� ���������Ǣ�͡��դ����Ӥѭ������仡��ҡѹ �������ѡࡳ��㹡�˹���С�����ҧ����ͧ�֡������ͧ�� �������ҹ�Ԩ�·����դس�Ҿ ���ҧͧ�����������ʵ�����֡�ҵ�ʹ������ö��������ª���� �Դ������¹��������������繰ҹ㹡�þѲ�ҧҹ �Ѳ�Ҫ���� �ѧ����л���ȪҵԵ���

การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย เป็นการบอกให้ทราบว่า การวิจัยนั้นมีจุดมุ่งหมายที่จะได้คำตอบอย่างไร และต้องสอดคล้องกับปัญหาการวิจัย

ตัวอย่างเช่น

ชื่อวิจัยเรื่อง  การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้โทรศัพท์มือถือ

วัตถุประสงค์   1) หาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้โทรศัพท์มือถือ

2) เปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้โทรศัพท์มือถือ จำแนกตามอาชีพ

ดังนั้น การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยจึงเป็นการกำหนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้างในเรื่องที่จะทำวิจัย จึงต้องกำหนดให้ชัดเจน และเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ โดยบ่งชี้ถึงสิ่งที่จะทำ ทั้งขอบเขต และคำตอบที่คาดว่าจะได้รับ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว

โดยทั่วไป ในการทำการวิจัยใด ๆ ก็ตาม ผู้ทำการวิจัยจะมีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 ประการนี้คือ (นิภา ศรีไพโรจน์. 2553)

1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ เนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็น อยากทราบเหตุผลและปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงทำการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบ สิ่งใดที่พอรู้อยู่บ้างก็ทำให้รู้และเข้าใจดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มพูนวิทยาการให้กว้างขวางลึกซึ้ง

2. เพื่อนำผลไปประยุกต์หรือใช้ให้เป็นประโยชน์ จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้เกิดขึ้นเมื่อมีปัญหาที่จะต้องค้นคว้าหาความจริง เพื่อนำผลที่ได้จากการวิจัยไปแก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไป

การตั้งวัตถุประสงค์ ต้องให้สมเหตุสมผล กับทรัพยากรที่เสนอขอ และเวลาที่จะใช้ จำแนกได้เป็น 2 ชนิด คือ  (คณะกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม  สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว  ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย)

  1. 1.    วัตถุประสงค์ทั่วไป (General Objective) กล่าวถึงสิ่งที่ คาดหวัง (implication) หรือสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการวิจัยนี้ เป็นการแสดงรายละเอียด เกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย ในระดับกว้าง จึงควรครอบคลุมงานวิจัยที่จะทำทั้งหมด

ตัวอย่างเช่น

เพื่อศึกษาถึงปฏิสัมพันธ์ และความต้องการของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชน

2.   วัตถุประสงค์เฉพาะ (Specific Objective) จะพรรณนาถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นจริง ในงานวิจัยนี้ โดยอธิบายรายละเอียดว่า จะทำอะไร โดยใคร ทำมากน้อยเพียงใด ที่ไหน เมื่อไร และเพื่ออะไร โดยการเรียงหัวข้อ ควรเรียงตามลำดับความสำคัญ ก่อน หลัง ตัวอย่างเช่น

2.1   เพื่อศึกษาถึงรูปแบบปฏิสัมพันธ์และการปรับตัวของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชน

2.2   เพื่อศึกษาถึงปัญหาและความต้องการของผู้ติดเชื้อเอดส์ ครอบครัว และชุมชน


สำหรับุคคลทั่วไปที่สนใจเรียนตัดต่อวีดิโอด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro CS 5.5 แบบออนไลน์ (โดยผมเป็นวิทยากรเอง) สามารถศึกษารายละเอียดและสมัครเรียนได้ตามลิงก์ข้างล่างครับ

หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่หลายท่านนั้นมักจะเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยออกมาไม่สอดคล้องกับหัวข้องานวิจัยนั้น สิ่งเหล่านี้คือการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยที่ไม่ตรงจุด 

ในการจะเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ตรงจุดได้นั้น ต้องเขียนหัวข้องานวิจัยออกมาได้อย่างชัดเจน และแยกย่อยวัตถุประสงค์การวิจัยให้สอดคล้องกับหัวข้องานวิจัย โดยหัวข้องานวิจัยที่ดีจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยเช่นเดียวกัน นั่นหมายความว่าการเขียนหัวข้องานวิจัยกับการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยให้ตรงจุดนั้นสามารถทำได้ดังนี้

1. เขียนแยกประเด็นจากหัวข้องานวิจัย

การเขียนแยกประเด็นจากหัวข้องานวิจัยเป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายที่สุดในการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย เนื่องจากการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นสิ่งที่ต้องแตกประเด็นย่อยมาจากหัวข้องานวิจัยอยู่แล้ว 

โครงสร้าง ในการกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย ประกอบด้วย
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

เช่น การศึกษาปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคนั้นสามารถเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ดังเช่นต่อไปนี้

ข้อที่ 1 การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ 
ข้อที่ 2 เพื่อศึกษาการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
ข้อที่ 3 เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ

สิ่งต่างๆ เหล่านี้คือสิ่งที่แตกประเด็นแยกย่อยมาจากหัวข้องานวิจัย หากท่านสามารถทำความเข้าใจหัวข้องานวิจัยได้อย่างชัดเจนเพียงพอ ก็จะสามารถกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยได้อย่างชัดเจนและสอดคล้องกับหัวข้องานวิจัยนั้น

เทคนิคอีกประการที่ควรนำไปประยุกต์ใช้ในการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่มีความใกล้เคียงหรือสอดคล้องกับสิ่งที่ทำการศึกษา ซึ่งจะทำให้ท่านสามารถรู้แนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ดีและมีความชัดเจนเพียงพอได้

2. เขียนให้สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการวิจัย

การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการวิจัยนั้น เป็นสิ่งที่จะเขียนได้ก็ต่อเมื่อท่านสามารถกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยได้เรียบร้อยแล้ว 

โครงสร้าง ในการกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย ประกอบด้วย
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ส่วนใหญ่แล้วนักวิจัยมือใหม่หลายท่านจะได้รับคำแนะนำมาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย โดยอาจารย์จะเขียนแนวทางมาเป็นกรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาครั้งนั้น ทำให้ท่านสามารถต่อยอดได้โดยการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยโดยอ้างอิงจากกรอบแนวคิดการวิจัยที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนำให้ท่านได้

ซึ่งจะทำให้การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยดังกล่าวนั้น สอดคล้องกับหัวข้องานวิจัย และสอดคล้องกับกรอบแนวคิดการวิจัยที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนำมาได้

3. เขียนให้ครอบคลุมตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย

หลังจากที่ท่านมีกรอบแนวคิดการวิจัยที่จะต้องใช้ในการศึกษาวิจัยเรียบร้อยแล้ว ท่านก็จะสามารถกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ดีและชัดเจนเพียงพอได้ เนื่องจากท่านจะทราบตัวถึงแปรที่จะใช้ในการศึกษาวิจัย โดยเฉพาะตัวแปรต้นและตัวแปรตาม 

หลังจากที่ท่านทราบตัวแปรที่จะใช้ในการศึกษาวิจัยว่าเป็นตัวแปรใดบ้างแล้ว และมีกี่ตัวแปรย่อย ก็จะสามารถกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจนเพียงพอได้ 

โครงสร้าง ในการกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย ประกอบด้วย
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

และเมื่อกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจนเพียงพอได้แล้ว ก็จะสามารถนำไปต่อยอดเพื่อเขียนส่วนอื่นได้ โดยเฉพาะประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คำถามการวิจัย สมมติฐานการวิจัย นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย หรือนิยามศัพท์เฉพาะ

ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะต้องเริ่มต้นจากการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยก่อน แล้วจึงจะสามารถกำหนดประเด็นสำคัญที่สอดคล้องกันเหล่านี้ได้

สำหรับเทคนิคการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ตรงจุดที่นำเสนอมาในข้างต้นนั้น เป็นเทคนิคที่นักวิจัยที่เชี่ยวชาญส่วนใหญ่จะดำเนินการตามรูปแบบนี้ เพื่อที่จะสามารถกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตรงจุดและสอดคล้องกับหัวข้องานวิจัยออกมาได้ 

หากท่านสามารถนำเทคนิคเหล่านี้ ไปประยุกต์ใช้กำหนดการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยของท่านได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่สอดคล้องกับหัวข้องานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ และทำให้งานวิจัยของท่านนั้นดำเนินต่อไปได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: [email protected]
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

โครงสร้าง ในการกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย ประกอบด้วย

แอดเพิ่มเพื่อน

การทำงานดุษฎีนิพนธ์การทำงานวิจัยการทำงานวิทยานิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโทการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยกำหนดปัญหางานวิจัยข้อผิดพลาดในการทำวิจัยงานดุษฎีนิพนธ์งานวิจัยงานวิทยานิพนธ์ทำงานวิจัยบริการงานดุษฎีนิพนธ์บริการงานวิจัยบริการงานวิทยานิพนธ์บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์บริการรับทำวิจัยบริการรับทำวิจัย.comบริการรับทำวิทยานิพนธ์ปัญหางานวิจัยรับทำดุษฎีนิพนธ์รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคารับทำวิจัยรับทำวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์รับทำวิทยานิพนธ์ ราคาวัตถุประสงค์การวิจัยวิทยานิพนธ์ป. โทเคล็ดลับการทำงานวิจัยเทคนิคทำงานวิจัย