กวีที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่2คือ

» ������� �����Թ
����պ��ҷ������Դ����֡�Ҥ鹾���ɮ����Ѳ�ҡ���ҡ����ش�����Թ�ʹͤ�����Դ����ǡѺ��äѴ���͡�¸����ҵ�

» ʧ�����š���駷�� 1
�繤����Ѵ����дѺ�š����Դ�����ҧ��������ѹ��Ե� ��н�������ӹҨ��ҧ �������»�ҡ�ʧ������Ҵ�˭����շ������������������Ǣ�ͧ�ҡ��Ҵ����ҡ�͹

» ����ѵ���ʵ�쪹�ҵԨչ
����Ȩչ�繻���ȷ���ջ�Ъҡ��ҡ����ش��š ��� 1,200 ��ҹ�� ������¤������ ��Ъҡ�˹�����Ңͧ�š�繻�Ъҡèչ

» �ʹ������
����ͧ�����Ъ��Ե�ͧ�ǡ�� �ҧ����ͧ�繵ӹҹ ������ͧ���� �繤�����ԧ �ҧ������ǵ��ҧ��������� �ҧ���繵�Ẻ ���Ҫ�ҡ�

» þԹ�ùҶ�ҡ��
��ش�����Դ����Ҹ��� ��âѺ�ҹ��С�ù�觹Ѻ�١��Ф���������ҹ�� ��ҹ�٪Ҽ��㴡ѹ���������ҧ...������������Ǣͧ����·���Ѻ�ҹ��е�˹�ҵ�ҧ�Դ�Դ�ͺ��ҹ

» ʧ��������������� (Persian Gulf War)
ʧ���������ҧ���ѡ �Ѻ �����ҹ ���ͷ��������¡���ʧ��������������� (Persian Gulf War) �������������������ѹ��� 22 �ѹ��¹ �.�.1980 �������˵��Ҩҡ�����Ѵ����������»�С��

» �����������
�����蹾�鹺�ҹ����դس�ѡɳТͧ��õ������ͧ�ѹ��Ǵ��¡�������������ǹ�������ö����ѹ���¤�������������ҹ���ҧ�ҭ��Ҵ �������Ż���ҧ�٧

» ����ѵ���ʵ����Ż�
���Ѳ�ҡ�âͧ����ѵ���ʵ����Ż���С���͡Ẻ��Ż�����ͧ��дѺ���ѹ�������ʹյ���֧�Ѩ�غѹ ���鹾�����Ъ�ǧ���� �����ǹ�˭����ç�ѹ�����Ҩҡ������ѡ�����ҵ�

วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

(ยุคทอง เป็นยุคที่วรรณคดีเจริญสูงสุด)

กวีที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่2คือ

กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 2 มีดังนี้ 

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 

1. บทละครเรื่องอิเหนา 
2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ 
3. บทละครนอก 5 เรื่อง คือ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี สังข์ทอง ไกรทอง 
4. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์ 
5. บทพากย์โขน ตอนนางลอย นาคบาศ พรหมาสตร์ และเอราวัณ 
6. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วเป็นชู้กับนางพิม ขุนแผนขึ้นเรือน 
7. ขุนช้าง ขุนแผนเข้าห้องนางแก้วกิริยา และขุนแผนพานางวันทองหนี

นายนรินทร์ธิเบศร์ 

กวีที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่2คือ

1. โคลงนิราศนรินทร์ 

พระยาตรังคภูมิบาล 

กวีที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่2คือ

1. โคลงนิราศตามเสด็จลำน้ำน้อย 

2. โคลงนิราศพระยาตรัง 
3. โคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 
4. เพลงยาว 
5. โคลงกวีโบราณ พระสุนทรโวหาร(ภู่)

1. นิราศ 9 เรื่อง คือ เมืองแกลง พระบาท ภูเขาทอง วัดเจ้าฟ้า อิเหนา สุพรรณ รำพันพิลาป พระประธม เมืองเพชร 
2. กลอนนิยาย 4 เรื่อง คือ โคบุตร สิงหไตรภพ ลักษณวงศ์ พระอภัยมณี 
3. เสภา 2 เรื่อง คือ ขุนช้างขุนแผน ตอน กำเนิดพลายงาม พระราชพงศาวดาร 
4. กลอนสุภาษิต 3 เรื่อง คือ สุภาษิตสอนหญิง เพลงยาวถวายโอวาท สวัสดิ รักษา 
5. กาพย์ 1 เรื่อง คือ พระไชยสุริยา 
6. บทเห่ 4 เรื่อง คือ กากี จับระบำ พระอภัยมณี โคบุตร 
7. บทละคร 1 เรื่อง คือ อภัยนุราช 

คณะนักปราชญ์ราชกวี(ม่ปรากฏนาม) 


1. มหาชาติคำหลวง 6 กัณฑ์ 
2. พงศาวดารจีนแปลเรื่อง เลียดก๊ก ห้องสิน ตั้งฮั่น 

วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว 

กวีและวรรณคดีที่สำคัญในรัชกาลที่ 3 มีดังนี้

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

 ทรงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 


1. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างขอนางพิมและขุนช้างตามนางวันทอง 
2. โคลงยอพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 
3. บทละครเรื่องสังข์ศิลป์ชัย 

กวีที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่2คือ

           อาจกล่าวได้ว่า รัชสมัยของพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเป็นยุคทองของวรรณคดีไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ละครรำรุ่งเรืองถึงขีดสุด ด้วย

พระองค์ทรงกวีเอก ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเล่ม เป็นต้นว่า รามเกียรติ์ ตอนลักสีดา จนถึงวานรถวายพล ตอนพิเภกสวามิภักดิ์ ตอน

นางลีดาลุยไฟ ได้ทรงปรับปรุงจากบทความเดิมให้มีความไพเราะเหมาะสำหรับการแสดงดขน และได้ทรงพระราชนิพน บทพากย์โขน เรื่อง

รามเกียรติ์ ตอนนางลอย ตอนศึกอินทรชิตหักคอช้างเอราวัณ เป็นบทเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ตอนพลายแก้วพบนาง

พิมพ์ ตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างส่วนพระราชนิพนธ์ เรื่อง อิเหนา นั้นทรงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีใสโมสรในรัชกาลพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าเป็นยอดของ กลอนบทละครรำ ด้วยเป็นเนื้อเรื่องที่ดีทั้งเนื้อความและทำนองกลอน

             ส่วนบทละครนอก พระสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นมาด้วยกัน 1 เรื่อง ได้แก่

1.ไชยเชษฐ์ เป็นเรื่องราวเสียดสีในราชสำนัก

2. สังข์ทอง เค้าเรื่องเกี่ยวกับการเสียดสี่เรื่องราวในพระราชสำนัก

3. มณี

4. ไกรทอง เดิมเป็นนิทานพื้น

5. คาวี มีเนื้อเรื่องเหมือนกับเสือโคคำฉันท์

             นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทเห่เรือ เรื่อง กาพย์เห่เรือขมเครื่องคาวหวาน ซึ่งมีความไพเราะ

และแปลงใหม่ไม่ซ้ำแบบกวีท่านใด เนื้อเรื่องแบ่งออกเป็น 58 ตอน คือเห่ชมเครื่องคาว เห่ชมผลไม้ เห่ชมเครื่องหวาน เห่ครวญเข้ากับนักขัตฤกษ์ และ

บทเจ้าเซ็นบทเห่นี้เข้าในกันว่าเป็นการชมฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระศรีสุริเยนทรา บรมราชินี ในเรื่องการทำอาหาร

             องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ยกย่อง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยว่าทรงเป็นบุคคลสำคัญ

ของโลก เนื่องด้วยทรงสร้างสรรค์วรรณคดีที่ทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมไว้เป็นมรดกของชาติจำนวนมาก และรวมถึงทรงปกครองบ้านเมืองให้ราษฎร

ได้อยู่เย็นเป็นสุขอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภารและเนื่องด้วยในรัชกาลนี้ มีช้างเผือกมาสู่พระบารมีถึง 3 เชือก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า

นภาลัย จึงทรงมีพระราชดำริให้แก้ไขธงชาติไทยจากที่เคยใช้ธงแดงมาตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ให้ทำเป็นรูปช้างเผือกอยู่ในวง

จักรติดในธงพื้นแดง ซึ่งใช้เป็นธงชาติสืบต่อกันมาจนถึงรัชกาลที่ 6


ที่มา : http://writer.dek-d.com/dek-d/story/viewlongc.php?id=972189&chapter=26

บทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 2 ที่ทรงได้รับการยกย่องมากที่สุด คือเรื่องใด

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นับเป็นยุดที่วรรณกรรมด้านร้อยกรองมีความเจริญสูงสุด เนื่องจากในสมัยนี้มีกวีเอกหลายท่าน ได้เขียนผลงานทางวรรณกรรมที่มีคุณค่าไว้หลายเล่ม เช่น ๏ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย - บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ - บทละครเรื่อง อิเหนา (ได้รับยกย่องเป็นบทละครที่ไพเราะที่สุด)

รัชกาลที่ 2 ได้รับการยกย่องด้านใด

องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้ยกย่องพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยว่า ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลก เนื่องด้วยทรงสร้างสรรค์วรรณคดี ที่ทรงคุณค่าทางวัฒนธรรมไว้เป็นมรดกของชาติจำนวนมาก รวมถึงทรงปกครองบ้านเมืองให้ ราษฎรได้อยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภาร และ เนื่องด้วยในรัชกาลนี้มีละครนอกช้างเผือกคู่ ...

กวีเอก ในสมัยรัชกาลที่ 2 คือ ใคร

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้รับการยกย่องว่า เป็นยุคทองของวรรณคดีสมัยหนึ่งเลยทีเดียว ด้านกาพย์กลอนเจริญสูงสุด จนมีคำกล่าวว่า "ในรัชกาลที่ 2 นั้น ใครเป็นกวีก็เป็นคนโปรด" กวีที่มีชื่อเสียงนอกจากพระองค์เองแล้ว ยังมีกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (รัชกาลที่ 3) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สุนทรภู่ ...

กลอนประเภทใดได้รับความนิยมสูงสุดในสมัยรัชกาลที่ ๒

เสภาเป็นบทกลอนชนิดหนึ่ง ใช้ขับ เพื่อความบันเทิง ได้รับความนิยมในหมู่นักเลงกลอนตั้งแต่สมัยอยุธยา และกลับมาเป็นที่นิยมอีกครั้ง ในสมัยรัชกาลที่ ๒ และ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้แต่งเสภามักจะเลือกหานิทานนิยายเรื่องเล่าที่ตน เคยรู้จัก มาแต่งเป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน บทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีผู้แต่งหลายคน ใครพอใจ จะขับ ...