ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ

  • ครู Trend
  • มุมคุณครู
แบบทดสอบออนไลน์  เรียนออนไลน์ หลักสูตร ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ ผ่าน 80 % มีเกียรติบัตร  จาก โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๐ จังหวัดปัตตานี 

โดย

Show
kroonot

-

เมษายน 19, 2020

4482

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

แบบทดสอบออนไลน์  เรียนออนไลน์ หลักสูตร ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ ผ่าน 80 % มีเกียรติบัตร  จาก โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๐ จังหวัดปัตตานี

ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
แบบทดสอบออนไลน์  เรียนออนไลน์ หลักสูตร ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ ผ่าน 80 % มีเกียรติบัตร  จาก โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๐ จังหวัดปัตตานี

สวัสดีครับ  ครูอัพเดตดอทคอม มีแบบทดสอบออนไลน์ หลักสูตร ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ

พัฒนา โดย นายมูหมัดราวี เจ๊ะและบริหาร โดย ผอ. นายเชาวลิต รนขาว  โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๔๐ จังหวัดปัตตานี มาฝากครับ

แบบทดสอบ เรื่อง การวางแผนการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนพิการ ชุดที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 80% รับเกียรติบัตรทางอีเมล โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก 

  • กิจกรรมน่าสนใจ
แบบทดสอบ เรื่อง การวางแผนการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนพิการ ชุดที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 80% รับเกียรติบัตรทางอีเมล โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก 

โดย

ครูอาชีพดอทคอม

-

21 เมษายน 2565 วันที่แก้ไข: 21 เมษายน 2022

625

0

แบ่งปัน

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ

แบบทดสอบ เรื่อง การวางแผนการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนพิการ ชุดที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 80% รับเกียรติบัตรทางอีเมล โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก 

ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 % ขึ้นไป ถึงจะได้รับเกียรติบัตร
สามารถอ่านบทความก่อนทำข้อสอบได้ที่ http://www.rsec7.ac.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=2147598650&Ntype=13

ตัวอย่างเกียรติบัตร

ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
แบบทดสอบ เรื่อง การวางแผนการจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนพิการ ชุดที่ 1 ผ่านเกณฑ์ 80% รับเกียรติบัตรทางอีเมล โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก  2

ทำแบบทดสอบคลิกที่นี่

ขอบคุณแบบทดสอบ จาก ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก

  • แท็ก
  • ทดสอบออนไลน์
  • นักเรียนพิการเรียนรวม
  • รับเกียรติบัตรฟรี

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

บทความก่อนหน้านี้แบบวัดความรู้หลักสูตรมาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม ผ่านเกณฑ์ 80% จะได้รับวุฒิบัตรทันที ทางอีเมล์ โดย สพป.ราชบุรี เขต 1

บทความถัดไปลิงก์โหลดรับเกียรติบัตร อบรมออนไลน์ การขับเคลื่อนรูปแบบและนวัตกรรม การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก วันที่ 22 เมษายน 2565 เวลา 13.00 – 16.00 น. รับเกียรติบัตร โดยสพป.สุรินทร์เขต 3

ครูอาชีพดอทคอม

https://www.kruachieve.com

บทความโดย : ครูอาชีพดอทคอม ติดตามได้ที่ : https://www.facebook.com/kruachieve เว็บไซต์ : https://www.kruachieve.com

บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากผู้เขียน

ทดสอบความรู้ เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ

กิจกรรมน่าสนใจ

แบบทดสอบออนไลน์ ความรู้เรื่องรัฐธรรมนูญ เนื่องในวันรัฐธรรมนูญ ปี 2565 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 รับเกียรติบัตรทางอีเมล โดยโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช สนับสนุนให้สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดการเรียนร่วมแก่คนพิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดการศึกษาสําหรับคนพิการอย่างบูรณาการ ส่งเสริมสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการการศึกษาสําหรับคนพิการ วางระเบียบ ข้อกําหนด ประกาศ คําสั่ง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ2.ผู้แทนขององค์การคนพิการ ในคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีกี่คน

 7 คน

 ไม่น้อยกว่า 5 คน

 5 คน

 ไม่น้อยกว่า 7 คน

3.

ข้อใดไม่ใช่กรรมการใน “คณะกรรมการบริหารกองทุน”

 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

 ผู้แทนกระทรวงการคลัง

 ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ

 ผู้อํานวยการสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

 ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข

 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4.

ใครเป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

 ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

5.

คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความสามารถความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงด้านต่าง ๆ ข้อใดไม่ใช่

 ด้านการศึกษาสำหรับคนพิการ

 ด้านคุณธรรม จริยธรรม

 ด้านกฎหมาย

 ด้านการบริหารการศึกษา

6.

เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ ให้หน่วยงานใดเป็นผู้ออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกำหนด ระเบียบหรือประกาศ แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน

 กระทรวงมหาดไทย

 สภาการศึกษา

 กระทรวงศึกษาธิการ

 ราชการส่วนท้องถิ่น

7.

“สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการโดยเฉพาะ” คือความหมายของข้อใด

 สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ

 ศูนย์การศึกษาพิเศษ

 ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ

 สถานศึกษาเฉพาะความพิการ

8.

ใครเป็นรองประธาน คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ

 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

 ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

9.

ข้อใดเป็นประธานใน “คณะกรรมการบริหารกองทุน”

 ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ

 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 ผู้อํานวยการสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

 ผู้แทนสํานักงบประมาณ

10.

สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วม สถานศึกษาเอกชนการกุศลที่จัดการการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ และศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน มีสิทธิ์ได้รับการสนับสนุนในเรื่องใด

 สนับสนุนระบบสวัสดิการสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ

 วัสดุและครุภัณฑ์ทางการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ

 เงินอุดหนุนและความช่วยเหลือเป็นพิเศษจากรัฐ

 ให้การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี

11.

พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 1) มีกี่หมวดกี่มาตรา

 3 หมวด 29 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 3 หมวด 29 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 4 หมวด 30 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

 4 หมวด 30 มาตรา 1 บทเฉพาะการ

12.

หน่วยงานใดเป็นผู้วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน การตัดหนี้เป็นสูญ

 กรมบัญชีกลาง

 กระทรวงการคลัง

 สำนักงบประมาณ

 สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

13.

คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีจำนวนเท่าใด

 ไม่เกิน 28 คน

 28 คน

 ไม่เกิน 26 คน

 26 คน

14.

สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะอยู่ประจํา ไป กลับ และรับบริการที่บ้าน คือความหมายของข้อใด

 ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ

 สถานศึกษาเฉพาะความพิการ

 สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ

 ศูนย์การศึกษาพิเศษ

15.

ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบการเงินส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในกี่วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชีทุกปี

 120 วัน

 90 วัน

 60 วัน

 180 วัน

16.

ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล โดยให้สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นพิเศษของคนพิการ และต้องมีการปรับปรุง “แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล” ตามระยะเวลาในข้อใด

 อย่างน้อย 3 ปีต่อ 1 ครั้ง

 อย่างน้อย 2 ปีต่อ 1 ครั้ง

 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

17.

ข้อใดคือเหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2551

 สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “ครูการศึกษาพิเศษ” ให้มีความหมายกว้างขึ้นและครอบคลุมครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรี

 การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลทั่วไป จึงจำเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและโอกาสได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ

 ครูการศึกษาพิเศษซึ่งทำการสอนคนพิการต้องมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป ทำให้ไม่สามารถแต่งตั้งครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีเป็นครูการศึกษาพิเศษได้ มีผลให้ครูการศึกษาพิเศษซึ่งทำการสอนคนพิการมีไม่เพียงพอ

 เห็นควรปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

18. “สถานศึกษาเฉพาะความพิการ” หมายความว่าอย่างไร

 สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะอยู่ประจํา ไป กลับ และรับบริการที่บ้าน

 สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะอยู่ประจํา ไป กลับ และรับบริการที่บ้าน

 สถานศึกษาที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะอยู่ประจํา ไป กลับ และรับบริการที่บ้าน

 สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะอยู่ประจํา ไป กลับ และรับบริการนอกสถานที่

19.

ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ

 วางระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

 วางระเบียบเกี่ยวกับการจัดทํารายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุน

 วางระเบียบเกี่ยวกับการพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน เพื่อการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ

 ส่งเสริมสนับสนุนให้หน่วยงานทางการศึกษาสามารถผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ

20.

ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคำว่า “การเรียนร่วม”

 การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับ

 การจัดการศึกษา ให้สามารถรองรับการเรียนการสอนสําหรับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ

 การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปหลากหลายรูปแบบ

 การจัดการศึกษา ให้สามารถรองรับการเรียนการสอนและการวิจัยสําหรับคนทุกกลุ่มรวมทั้งคนพิการ

21.

ข้อใดเป็นกรรมการและเลขานุการใน “คณะกรรมการบริหารกองทุน”

 ผู้แทนสํานักงบประมาณ

 ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ

 ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข

 ผู้อํานวยการสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

22.

ข้อใดไม่ใช่สิทธิทางการศึกษาของคนพิการ

 เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา โดยคํานึงถึงความสามารถ ความสนใจ ความถนดและความต้องการจําเป็นพิเศษของบุคคลนั้น

 ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา ที่เหมาะสมสอดล้องกับความต้องการจําเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละประเภทและบุคคล

 ได้รับสิทธ์เข้าร่วมกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการครองชีพระหว่างศึกษา

 ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิตพร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยี สิ่งอํานวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา

23.

ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 1)

 เพื่อให้การบริการและการให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการในด้านการศึกษาเป็นไปอย่างทั่วถึงทุกระบบและทุกระดับการศึกษา

 แผนซึ่งกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นพิเศษของคนพิการ

 การจัดการศึกษาสําหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลทั่วไป

 จําเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและโอกาสได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลทั่วไป

24.

“สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต” คือความหมายของข้อใด

 สถานศึกษาเฉพาะความพิการ

 ศูนย์การศึกษาพิเศษ

 สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการ

 ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ

25.

ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ “ผู้ดูแลคนพิการ”

 บุตร สามี ภรรยา

 เพื่อนสนิท

 บิดา มารดา ผู้ปกครอง

 ญาติ พี่น้อง

26.

ข้อใดไม่จัดอยู่ในความหมายของ “แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล”

 สิ่งอํานวยความสะดวก

 เทคโนโลยี

 บริการ

 สิ่งของเครื่องใช้

 สื่อ

27.

ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการโดยตำแหน่งในคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ

 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

 อธิบดีกรมสุขภาพจิต

 ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

 อธิบดีกรมการแพทย์

28.

ข้อใดไม่ใช่กองทุนเพื่อใช้จ่ายในการส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง ใน “กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ”

 เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบให้

 เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 ดอกผลและผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน

 เงินรายได้ที่ได้จากการออกสลากหรือการจัดกิจกรรม

 เงินอุดหนุนจากภาคเอกชน

29.

ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ “ศูนย์การศึกษาพิเศษ”

 สถานศึกษาของรัฐที่จัดสื่อ เทคโนโลยี สิ่งอํานวยความสะดวก บริการ และความช่วยเหลืออื่นใด

 สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาอบรมแก่ผู้ดูแลคนพิการ ครู บุคลากรและชุมชน

 สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต

 สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต

30.

การเลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษา จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ข้อใดไม่ใช่

 ความรู้ของบุคคลนั้น

 ความสามารถของบุคคลนั้น

 ความถนัดและต้องการที่จำเป็นของบุคคลนั้น

 ความสนใจของบุคคลนั้น

31.

ใครเป็นประธาน คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

 ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

32.

“ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่าอย่างไร

 ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาสำหรับคนพิการทั้งของรัฐและเอกชน

 ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป หรือครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีที่ผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการตามที่คณะกรรมการการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการกำหนด และปฏิบัติหน้าที่สอน จัดการศึกษา นิเทศ หรือหน้าที่อื่นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

 ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

 ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป หรือครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีที่ผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการกำหนด และปฏิบัติหน้าที่สอน จัดการศึกษา นิเทศ หรือหน้าที่อื่นเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน

33.

ข้อใดมีหน้าที่ดําเนินการจัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กํากับ ติดตาม เพื่อใหคนพิการได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

 สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

 คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ

 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

34.

องค์กรสมาชิกระดับชาติตามประเภทความพิการที่ได้แจ้งชื่อไว้กับสํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ คือความหมายของข้อใด

 องค์การคนพิการแต่ละประเภท

 สถานศึกษาเฉพาะความพิการ

 ศูนย์การศึกษาพิเศษ

 ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ

35.

ใครไม่สามารถรับเงินสำหรับค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการจากกองทุน คนพิการได้

 อดุลเป็นใบ้หูหนวก

 สุวิทย์ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้

 มานพนิ้วเท้าขาดเนื่องจากอุบัติเหตุ

 สมหมายตาบอดตั้งแต่กำนิด

36.

ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556

 การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลทั่วไป จึงจำเป็นต้องจัดให้คนพิการมีสิทธิและโอกาสได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษาเป็นพิเศษตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ

 เห็นควรปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

 พ.ร.บ. การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติให้ครูการศึกษาพิเศษซึ่งทำการสอนคนพิการต้องมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป ทำให้ไม่สามารถแต่งตั้งครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีเป็นครูการศึกษาพิเศษได้ มีผลให้ครูการศึกษาพิเศษซึ่งทำการสอนคนพิการมีไม่เพียงพอ

 สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคำว่า “ครูการศึกษาพิเศษ” ให้มีความหมายกว้างขึ้นและครอบคลุมครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรี

37.

ครูที่มีวุฒิตามข้อใดไม่สามารถเป็นครูการศึกษาพิเศษได้

 วุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาโท

 วุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรี

 วุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีและผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการ

 วุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรี

38.

ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ

 วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน การตัดหนี้เป็นสูญโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง

 ส่งเสริมสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการการศึกษาสําหรับคนพิการ

 ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถจัดการศึกษาสําหรับคนพิการให้สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา

 วางระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐาน ให้การรับรอง หรือเพิกถอนการรับรองแก่สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วม สถานศึกษาเอกชนการกุศลที่จัดการศึกษาสําหรับคนพิการ และศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ

39.

ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ

 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

 อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

 เลขาธิการสภาการศึกษา

 ปลัดกระทรวงมหาดไทย

40.

เมื่อครบกําหนดตามวาระจะต้องมีการดําเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ภายในกี่วัน

 30 วัน

 90 วัน

 120 วัน

 60 วัน

41.

ข้อใดไม่ใช่ ข้อจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่ถือว่าเป็น “คนพิการ”

 ทางการสื่อสาร

 ทางการเห็น

 ทางพฤติกรรม

 ทางสมอง

 ทางการเคลื่อนไหว

 ทางการได้ยิน

 ทางการเรียนรู้

42.

ข้อใดไม่ใช่อํานาจหน้าที่ของ สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 สนับสนุนให้สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดการเรียนร่วมแก่คนพิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

 ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการในสถานศึกษา รวมทั้งประเมินและรายงานผลต่อคณะกรรมการ