แผนการสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช11001

หลักสูตรรายวิชา

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดํารัสชี้แนะแนวทาง
การดํารงอยู่และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดําเนินชีวิตไปในทางสายกลางโดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมี
เหตุผล รวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆอันเกิดจาก
การปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความ
ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะ
เดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติให้มีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้
สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุสังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

บทที่ 1 เศรษฐกิจพอเพียงรากฐานการดําเนินชีวิต ของคนไทย

เรื่องที่ 1 ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ 3 หลักแนวคดิของเศรษฐกจิพอเพียง

กิจกรรมที่1

บทที่ 2 ปฏิบัติตนดี มีความพอเพียง?

การปฏิบัติตนตามแนวทางปรัชาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดํารัสนํามาปฏิบัติตนคือ ยึดความประหยัด ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต เลิกแก่งแย้งผลประโยชนrและแข่งขันกันในทางการค้า ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความ ทุกข์ยากและปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลด ละสิ่งชั่วให้หมดสิ้นไป

บทที่ 3 รู้ใช้ รู้จ่าย?

เมื่อเราประกอบอาชีพมีรายได้ การนําเงินไปใช้จ่ายสิ่งใดต้องจดทุกอย่าง ทุกครั้งที่จ่ายออกไป การบันทึกรายรับ รายจ่ายเป็นหลักฐาน แสดงแหล่งที่มาของรายได้ รายจ่ายและเงินออม อีกทั้งเป็นการ เตือนตนเองและครอบครัวว่าในแต่ละเดือนมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่ไม่จําเป็น รายการใดสามารถตัดทิ้งไป ได้ในเดือนต่อไป ครอบครัวควรเริ่มต้นจดรายรับ-รายจ่ายจนเป็นนิสัยครอบครัวเราจะได้ไม่ยากจน

บทที่ 4 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง?

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อต้องการให้คนสามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติโดยอาศัยความพอประมาณ ความมีเหตุมีผลการสร้างความรู้ ความขยันหมั่นเพียรการอดออม สติปัญญาการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและ ความสามัคคี เมื่อเราศึกษาเรียนรู้ปรัชาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้และนําไปประยุกต์ใช้ในการ ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแล้วควรจะส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัว มองเห็นคุณค่าและนําแนวทางไปสู่การปฏิบัติในการดํารงชีวิตบนพื้นฐานปรัชาเศรษฐกิจพอเพียง

บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อการสร้างรายได้ อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน?

การประกอบตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการสร้างรายได้ อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการพิจารณาอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และระมัดระวังในการวางแผนและ การดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อการพัฒนา เป็นการประกอบอาชีพที่คํานึงถึง การมีรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง ให้เจริญเติบโตอย่างมีลําดับขั้น สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตทั้งทาง กายภาพและทางจิตใจควบคู่กัน การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิได้ขัดกับ กระแสโลกาภิวัฒน์ ตรงกันข้ามกลับส่งเสริมให้กระแสโลกาภิวัฒน์ได้รับการยอมรับมากขึ้น ด้วยการ เลือกรับการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบในแง่ดีต่อประเทศ ในขณะเดียวกันเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัว ที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลงในแง่ที่ไม่ดีและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อจํากัดผลกระทบให้อยู่ในระดับไม่ก่อ ความเสียหายหรือไม่เป็นอันตรายร้ายแรงต่อประเทศ

แผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ประกอบวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง รายวชิ าบังคบั /เลอื ก ระดบั ประถมศกึ ษา รหสั วชิ า ทช11001 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่าบอ่ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั หนองคาย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกกกแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา เป็นการนารายวิชานี้ ส่กู ารปฏบิ ตั จิ ริงของครูผูส้ อน ด้วยการวางแผนออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรูไ้ วล้ ่วงหนา้ ว่าครูผู้สอนจะจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และจุดประสงค์ ด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ONIE MODEL อย่างไร ซึ่งครูผู้สอนรายวิชาน้ีทุกคนต้องศึกษา และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เป็นไปกรอบของ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงจะให้การจัด ประสบการณก์ ารเรียนรู้ในรายวิชานี้ มปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล กกกกกกกแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ประถมศกึ ษา ประกอบดว้ ย 4 แผน ดงั น้ี กกกกกกก1. แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ เรอื่ งที่ 1 การปฐมนิเทศ 2. แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ เรื่องที่ 2 ความ เป็นมา ของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง 3. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เร่ืองท่ี 3 ปฏบิ ตั ิตน ดี มี ความ พอเพียง โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้

แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ กล่มุ สาระความรู้พ้ืนฐาน รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 ระดบั ประถมศกึ ษา แผนการจดั การเรยี นรูเ้ ร่อื งท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ เวลา ชัว่ โมง สอนวันที่ …….……เดอื น …………………พ.ศ.………......... ภาคเรยี นท่ี ………ปีการศึกษา……….. มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั รู้ เขา้ ใจ ยอมรบั เห็นคณุ ค่า ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกต์ใช้ในครอบครวั และมี ภูมิ คณุ มกันในการดาเนนิ ชีวติ ของตนเองและครอบครวั อย่างมีความสุข ตัวช้วี ดั 1. รู้ เข้าใจประวัติ ความเป็นมา ความหมายแนวคิด หลักการ ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง สาระการเรยี นรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 ระดับประถมศึกษา 2. หลกั เกณฑก์ ารวัดผล และการใหค้ ะแนนรายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช11001 ระดับประถมศึกษา 3. ข้อตกลงเกีย่ วกบั หลักการ ขอ้ ปฏิบัติและกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในห้องเรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นกาหนดสภาพปญหหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครูกลา่ วทักทายผูเ้ รยี น และแนะนาตัวเอง โดยบอกช่อื นามสกลุ และชอ่ งทางการตดิ ต่อ 1.2 ครสู อบถามผูเ้ รยี นถงึ กจิ กรรมที่ทาในระหวา่ งปิดภาคเรียนทีผ่ ่านมา และนาเขา้ สู่เรื่องท่จี ะเรยี น 1.3 ครูแจ้งให้ผู้เรียนทราบวา่ ในภาคเรียนน้จี ะไดเ้ รียน รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช11001 2. ขัน้ แสวงหาข้อมูล และจัดการเรียนรู้ 2.1 ครูช้ีแจงรายละเอียดคาอธิบายรายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 ระดับประถมศกึ ษา ทจี่ ะเรียนในภาคเรยี นน้ี จานวน 2 เรอ่ื ง คอื ความเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพียง วรรณกรรม ครูแจง้ ตวั ชว้ี ัด และ อภิปรายถึงเนื้อหา ทจี่ ะเรยี นร่วมกันกบั ผ้เู รียน 2.2 ครู และผู้เรยี นตกลงหลักเกณฑ์การวัดผล และการใหค้ ะแนนในส่วนต่าง ๆ ร่วมกัน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อตั ราส่วนคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาค = 60 : 40 เป็นดังนี้ 1. คะแนนระหว่างเรยี น 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั นี้ 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนด้านทักษะ (โครงงาน/ชิน้ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 10 คะแนน

2. คะแนนปลายภาคเรยี น 40 คะแนน ดงั น้ี เกณฑก์ ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนด้านความรู้ ของผู้เรียนท่ศี ึกษา หลักสูตรรายวิชา เศรษฐกิจ พอเพยี ง ทช11001 มดี งั น้ี หมายถงึ ผู้เรียนมคี ะแนนสอบปลายภาคเรยี น ตัง้ แต่ 12.00 – 40.00 หรอื ร้อยละ 30 ของคะแนนเต็ม ขนึ้ ไป ไมผ่ ่าน หมายถึง ผู้เรยี นมคี ะแนนสอบปลายภาคเรยี น ตั้งแต่ 0.00 – 11.99 หรอื ร้อยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป การตดั สินผลการเรยี น รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 ระดบั ประถมศึกษา จะนาคะแนนระหว่าง ภาคมารวมกับคะแนนปลายภาคเรียน และจะตอ้ งได้คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 จงึ จะถือว่าผา่ น ท้งั นี้ ผ้เู รยี นตอ้ งเข้าสอบปลายภาคเรยี นดว้ ย แลว้ นาคะแนนไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ท่ีกาหนดให้คา่ ระดับผลการ เรียนเปน็ 8 ระดบั ดงั น้ี ไดค้ ะแนนร้อยละ 80 – 100 ให้ระดบั 4 หมายถงึ ดีเย่ียม ได้คะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ใหร้ ะดับ 3.5 หมายถึง ดมี าก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ให้ระดบั 3 หมายถึง ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดับ 2.5 หมายถงึ ค่อนข้างดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง ได้คะแนนรอ้ ยละ 55 – 59 ให้ระดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ให้ระดบั 1 หมายถึง ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่าทกี่ าหนด ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ให้ระดบั 0 หมายถงึ ต่ากว่าเกณฑข์ น้ั ตา่ ที่กาหนด 2.3 ขอ้ ตกลง ขอ้ ปฏบิ ตั ิ และกฎระเบยี บในการเรยี นการสอนในห้องเรียน ดังนี้ 1. ผู้เรียนตอ้ งเข้าเรียนไม่ตา่ กวา่ 80 เปอร์เซน็ ต์ ของเวลาเรียนทั้งหมด 2. ผูเ้ รียนไม่พดู คยุ เสยี งดัง หรอื ส่งเสียงรบกวนเพื่อนในเวลาเรยี น 3. ผเู้ รยี นต้องเข้าเรยี นใหต้ รงเวลา 4. หากมีความจาเปน็ ต้องหยุดเรียน ตอ้ งขออนุญาตครูผสู้ อนกอ่ นทุกคร้ัง 5. ไมน่ าอาหารมารบั ประทานในหอ้ งเรยี นขณะครูสอน 6. หากมีขอ้ สงสยั ขณะเรียน ใหส้ อบถามครไู ด้ทันที 3 2.4 ครูชแ้ี จงรายละเอียดการพบกลุ่ม วนั เวลา สถานท่ใี ห้ผู้เรียนทราบ 3. ขนั้ ปฏบิ ตั ิ และนาไปประยกุ ต์ใช้ 3.1 ครใู ห้ผ้เู รียนแนะนาตัวให้ครู และเพ่ือน ๆ ทุกคนในห้องเรียนได้ร้จู ัก 3.2 ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียน เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 ให้ผู้เรียนทาจากน้นั ตรวจแบบทดสอบ พรอ้ มบนั ทกึ คะแนนไว้ และรว่ มกันสรปุ ถงึ การทาแบบทดสอบ ก่อนเรยี น เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 4. ขนั้ ประเมินผลการเรียนรู้ 4.1 ครูถามผูเ้ รียนเกย่ี วกับเร่ืองท่ีครกู ล่าวมาข้างต้น วา่ มีเรอ่ื งอะไรบ้างมรี ายละเอียดทีส่ าคัญอย่างไร (เร่อื ง ท่จี ะเรียน หลกั เกณฑ์การให้คะแนน กฎระเบียบ ขอ้ ตกลง ข้อควรปฏิบตั ิ กตกิ าในการเรียนการสอน) 4.2 ครถู ามผู้เรยี นว่าพบกลมุ่ วันไหน เวลาไหน และที่ไหน 4.3 ครซู ักถามผ้เู รยี นว่ามขี ้อสงสยั หรอื ไม่ 4.4 ครมู อบหมายให้ผ้เู รยี นศึกษาเรื่องทจี่ ะเรยี นในคร้ังตอ่ ไปล่วงหน้า

การวัดผลประเมินผล วธิ กี ารวดั ประเมนิ จากการสงั เกต การซกั ถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบก่อนเรียน เคร่อื งมือ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ และแบบทดสอบก่อนเรียน เกณฑก์ ารวดั ผา่ น ตอ้ งทาแบบทดสอบก่อนเรียน ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 50 ของคะแนนเตม็ สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 ระดับประถมศกึ ษา 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการปฐมนเิ ทศ

บันทึกหลังสอน 1. ปญั หาหรืออุปสรรคในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กกกกกกก………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… 2. แนวทางการแก้ปญั หาหรืออปุ สรรค กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปรับปรุงแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ กกกกกกก………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………… (………………………………………) ตาแหนง่ ……………………………………. ความคดิ เหน็ ของผูน้ ิเทศที่ไดร้ ับมอบหมายจากผ้บู รหิ าร ลงชือ่ …………………………………..…… (……………………………………………) ตาแหน่ง……………………………………. ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… ลงช่ือ………………………………..…… (………………………………………) ตาแหน่ง…………………………………….

บท ท่ี 1 เรอ่ื ง ท่ี 1 ความ เป็นมา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ปรัชญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง เป็น แนวทาง การ ดาเนนิ ชีวติ และ วิถีปฏบิ ตั ิ ที่ พระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยู่ หวั ทรง มี พระ ราช ดารสั ชี้ แนะ แก่ พสกนิกร ชาวไทย มา นาน กว่า 3 0 ปี ดงั จะ เหน็ ได้ วา่ ปรากฏ ความ หมาย เป็น เชงิ นัย เป็น ครง้ั แรก ใน พระ บรม ราโชวาท และ พระ ราช ดารสั ของ พระบาท สมเด็จ พระเจ้า อยู่ หวั ใน ปี พ. ศ. 2 5 1 7 ที่พระองค์ ได้ ทรง เน้นยา้ แนวทาง การ พฒั นา บน หลกั แนวคิด ที่ พ่ึงตนเอง เพ่อื ให้ เกดิ ความ พอ มี กิน พอ ใช้ ของ คนสว่ น ใหญ่ โดย ใช้ หลัก ความ พอประมาณ การ คานงึ ถงึ การ มี เหตผุ ล การ สรา้ ง ภูมิ ค้มุ กนั ท่ี ดี ใน ตวั เอง และ ทรง เตอื นสติ ประชาชน คน ไทย ไม่ ให้ ประมาท ตระหนกั ถงึ การ พัฒนา อยา่ ง เป็น ขน้ั เปน็ ตอน ที่ ถูกต้อง ตามหลัก วิชา และ การมี คุณธรรม เป็น กรอบ ใน การ ปฏิบัติ และ การ ดารงชวี ติ ใน ช่วง ที่ ประเทศ ไทย ประสบ กับ ภาวะ วิกฤติ เศรษฐกจิ ใน ปี พ. ศ. 2 5 4 0 นบั เปน็ บทเรียน สาคญั ที่ ทา ให้ประชาชน เข้า ใจ ถงึ ผลจา การ พัฒนา ท่ี ไม่ คานงึ ถึง ระดับ ความ เหมาะสม กบั ศกั ยภาพ ของ ประเทศ พงึ่ พิง ความรเู้ งนิ ลงทุน จาก ภายนอก ประเทศ เปน็ หลัก โดย ไมไ่ ด้ สรา้ ง ความ มน่ั คง และ เขม้ แขง็ หรอื สรา้ ง ภมู ิ คมุ้ กนั ที่ ดภี าย ในประเทศ ให้ สามารถ พรอ้ ม รับ ความ เสยี่ ง จาก ความ ผันผวน ของ ปจั จัยภาย ใน และ ภายนอก จน เกดิ วิกฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจ ครัง้ ใหญ่ สง่ ผลกระทบ อย่างรุน แรง ตอ่ สังคม ไทย รฐั บาล ตระหนัก ถงึ ความ สาคัญ ใน การ แกไ้ ข ปญั หาดงั กล่าว ให้ เกดิ การ พฒั นา ท่ี ย่ังยนื ใน สังคม ไทย อยา่ ง เป็นระบบ ดว้ ย การ กาหนด นโยบาย ดา้ น การ ศึกษา โดย นาปรชั ญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง มา เป็น แนวทาง ใน การ พัฒนา คณุ ภาพ และ มาตรฐาน การ ศกึ ษา ทกุ ระดับ ใช้ คุณธรรมเป็น พื้นฐาน ของ กระบวนการ เรยี นรู้ ท่ี เช่อื มโยง ความ รว่ มมอื ระหวา่ ง สถาบนั การ ศกึ ษา สถาบนั ครอบครัว ชุมชนสถาบนั ศาสนา ให้ มี ส่วนร่วม ใน การ จัดการ ศกึ ษา เพื่อ ให้ ผู้เรียน เกิด ทักษะ ความรู้ ทักษะ และ เจตคติ สามารถ นาไป ประยกุ ต์ ใช้ ใน ชีวิต ประจาวัน ได้ อย่าง สมดลุ และ ยัง่ ยนื

เรอ่ื ง ที่ 2 ความ หมาย ของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื อะไร เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็น ปรัชญา ช้ี ถึง แนวทาง การ ดารง อยู่ และ ปฏบิ ัติตน ของ ประชาชน ใน ทกุ ระดับ ตงั้ แต่ครอบครวั ระดับ ชมุ ชน จน ถงึ ระดับ รฐั ทัง้ ใน การ พัฒนา แ ละ การ บริหาร ประเทศ ให้ ดาเนนิ ไป ในทาง สายกลางโดย เฉพาะการ พฒั นา เศรษฐกจิ เพ่ือ ให้ ก้าว ทัน ตอ่ ยคุ โลกาภิวตั น์ ความ พอเพียง หมาย ถึง ความ พอประมาณ ความมี เหตผุ ล รวม ถึง ความ จาเปน็ ที่ ต้อง มี ระบบ คุม้ กนั ใน ตวั ท่ี ดี พอสมควร ตอ่ การ มี ผล กระทบ ใดๆ อนั เกิด จาก การเปล่ยี น แปลง ท้ัง ภายนอก และภาย ใน ทัง้ น้ี จะ ต้อง อาศยั ความ รอบ รู้ ความ รอบคอบ และ ความ ระมดั ระวัง อยา่ งยิง่ ใน การนา วิชาการ ต่างๆ มา ใช้ ใน การ วาง แผน และ การ ดาเนินการ ทุก ขนั้ ตอน และ ขณะ เดยี ว กัน จะ ตอ้ ง เสริมสร้าง พื้นฐาน จติ ใจ ของ คน ใน ชาติ โดยเฉพาะ เจ้า หนา้ ที่ ของ รัฐ นกั ทฤษฎี และ นัก ธรุ กิจ ใน ทกุ ระดบั ให้ มี สานึกใน คณุ ธรรม ความ ซื่อสตั ย์ สุจรติ และ ให้ มี ความ รอบรู้ ท่ี เหมาะสม ดาเนนิ ชวี ติ ดว้ ย ความ อดทน มี ความ เพียรพยายาม มี สติปญั ญา และ ความ รอบคอบ เพอ่ื ให้ สมดลุ และ พร้อม ตอ่ การ รองรบั ความ เปลีย่ น แปลง อย่าง รวดเรว็ และ กว้างขวาง ทั้ง ทาง ดา้ น วัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และ วฒั นธรรม จาก โลก ภายนอก ได้ เป็น อย่าง ดี ความ พอเพียง หมาย ถึง ความ พอประมาณ ความ มี เหตุผล รวม ถึง ความ จาเป็น ท่ี ต้อง มี ระบบ ภมู ิ คุ้ม กัน ใน ตวั ท่ี ดี พอสมควร ตอ่ การ มี ผล กระทบ ใดๆ อัน เกิดจา การ เปลีย่ น แปลง ทัง้ ภายนอก และภาย ใน ท้ังนี้ จะ ตอ้ งอาศยั ความ รอบรู้ ความ รอบคอบ และ ความ ระมัดระวงั อยา่ งย่ิง ใน การนา วิชาการ ต่างๆ มา ใช้ ใน การ วาง แผน และการ ดาเนินการ ทุก ข้นั ตอน และ ขณะ เดยี ว กัน จะ ต้อง เสรมิ สร้าง พ้ืนฐาน จิต ใจ ของ คน ใน ชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหนา้ ท่ีของ รัฐ นัก ทฤษฎี และ นกั ธุรกิจ ในทกุ ระดบั ให้ มี สานกึ ใน คุณธรรม ความ ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ และ ให้ มี ความ รอบรทู้ ่ี เหมาะสม ดาเนิน ชีวติ ดว้ ย ความ อดทน ความ เพยี ร มี สติ ปัญญา และ ความ รอบคอบ เพอ่ื ให้ สมดุล และ พร้อมต่อ การ รองรับ การ เปลี่ยน แปลง อยา่ ง รวดเร็ว และ กวา้ งขวาง ทัง้ ทาง ดา้ น วตั ถุ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และ วฒั นธรรมจากโลก ภายนอก ได้ เป็น อย่าง ดี

เร่อื ง ที่ 3 หลกั แนวคดิ ของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง เป็น ปรัชญา ชี้ แนะ แนวทาง การ ดารง และ ปฏบิ ตั ติ น ในทาง ที่ ควร จะ เป็น โดย มี พนื้ ฐาน มาจาก วิถี ชวี ิต ดัง้ เดมิ ของ สังคม ไทย สา มา รถ นามา ประยุกต์ ใชไ้ ด้ ตลอด เวลา และ เป็นการ มองโลก เชิง ใน ระบบ ท่ี มี การ เปล่ยี นแผลง อยู่ ตลอด เวลา มุ่งเน้น การ รอดพ้น จาก ภยั และ วกิ ฤต เพ่ือ ความ มั่นคง และ ความ ยัง่ ยืน ของ การ พฒั นาคณุ ลักษณะเศรษฐกิจ พอเพยี งสา มา รถ นามา ประยกุ ต์ ใชก้ บั การ ปฏบิ ัตติ น ได้ ใน ทุก ระดับ โดย เน้น การ ปฏิบตั ิ บนทาง สายกลาง และ การ พัฒนา ตน อยา่ ง เป็น ขั้นตอน ความ พอเพยี ง จะ ตอ้ ง ประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เง่อื นไข ดังนี้ ความ พอประมาณ หมายถงึ ความ พอดี ที่ ไม่ น้อยเกนิ ไป และไม่มาก เกนิ ไปโดย ไม่ เบยี ดเบยี น ตน เอง และ ผอู้ ื่น เชน่ การ ผลิต และ การ บรโิ ภค ทีอ่ ยู่ ใน ระดับ พอประมาณ ความ มี เหตผุ ล หมายถึง การ ตัดสนิ ใจ เกี่ยวกบั ระดับ ของ ความ พอ เพยี งน้ัน จะ ต้อง เป็นไป อยา่ ง มี เหตุผล โดย พจิ ารณา จากเหตุ ปัจจัย ที่ เกีย่ วขอ้ ง ตลอดจน คานงึ ถงึ ผล ที่ คาดวา่ จะ เกดิ ขึ้นจา การ กระทา นน้ั ๆ อย่าง รอบคอบ การ มี ภูมิ ค้มุ กันที่ ดี ใน ตวั หมายถึง การ เตรยี มตัว ให้ พรอ้ ม รับ ผล กระทบ และ การ เปลี่ยนแปลง ดา้ น ต่างๆ ทีจ่ ะ เกิด ขน้ึ โดย คานึงถึง ความ เป็น ไปได้ ของ สถานการณ์ ต่างๆ ที่ คาดว่า จะ เกิดขนึ้ ใน อนาคต ทัง้ ใกล้ และ ไกล เงือ่ นไข การ ตดั สินใจ และ การ ดาเนิน กจิ กรรม ตา่ งๆ ให้ อยู่ ใน ระดับ พอ เพียงนัน้ ตอ้ ง อาศัย ทง้ั ความรู้ และ คณุ ธรรม เป็น พ้นื ฐาน กล่าว คอื เงอ่ื นไข ความรู้ ประกอบด้วย ความ รอบรู้ เก่ยี วกบั วิชาการ ตา่ งๆ ที่ เก่ยี วขอ้ ง อย่าง รอบ ดา้ น ความ รอบคอบ ที่ จะนา ความรู้ เหลา่ น้นั มา พิจารณา ให้ เช่ือง โยงกนั เพ่ือ ประกอบการ วางแผน และ ความ ระมัดระวงั ใน ขนั้ ปฏบิ ัติ เง่อื นไข คุณธรรม ท่จี ะ ตอ้ ง เสริมสร้าง ประกอบดว้ ย มี ตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี ความ ซื่อสตั ย์ สุจริต และ มี ความ อดทน มี ความ เพยี ร ใช้ สติปญั ญา ใน การ ดาเนิน ชวี ติ

เรอื่ ง ท่ี 4 ความ สาคหั ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ความ สาคญั ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ท่ี สง่ ผลตอ่ ประชาชน ดังนี้ 1. เกิด แนวคดิ ที่ มุง่ เนน้ พ่ึงพา ตน เอง เปน็ หลัก ที่ มี อยู่ใ น ตัวเอง เพอื่ นามา พัฒนา คุณภาพ ชวี ติ ให่เ กดิ ประโยชน์สงู สุด ตอ่ ตน เอง ครอบครัว และ ชมุ ชน ซง่ึ จะ ทาให้สามา รถ ดารงชวี ิต อยู่ ได้ อยา่ ง ยัง่ ยนื 2. ทาให้ มี ความ เขม้ แขง็ ใน จิตใจ โดย ยึด หลักการ พง่ึ พา ตน เอง เปน็ หลัก เมอ่ื พง่ึ ตน เอง ได้ แลว้ ทาให้ จิต ใจสงบ เขม้ แข็ง ไม่ วิตกกังวล 3. เกิด ความ ร่วมมือ ความ กระตือรอื รน้ ความ สามัคคี ใน ชมุ ชน และ ประเทศชาติ 4. เกิด การ มี สว่ นร่วม คิด วเิ คราะห์ แก้ปญั หา ร่วมกนั 5. ทาให้ มี ความ เปน็ อยู่ พอดี พอ กนิ ลด ปัญหา ความ ยากจน

กจิ กรรมท่ี 1 ตอบ คา ถาม ตอ่ ไปนี้ 1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึง อะไร ............................................................................................................................. ......................................... ......................................................................................... ............................................................................. ............................................................................................................................. ......................................... ........................................................................................................................................ .............................. .................................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ......................................... ................................................................................................................................................... ................... 2. หลกั แนวคดิ ของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็น อยา่ งไร ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... 3. เศรษฐกิจ พอเพยี ง มี ความ สาคญั อย่างไร ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... 4. เศรษฐกจิ พอเพียง นามา ปรบั ใชก้ ับ ผเู้ รยี น ได้ หรอื ไม่ อย่างไร ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................................... ....................................................................................................................................... ............................... ...................................................................................................................................................................

บท ท่ี 2 ปฏบิ ตั ติ นดี มคี วามพอเพียง เรอ่ื ง ท่ี 1 วธิ ี คดิ วธิ ปี ฏบิ ัติ วธิ ี ให้ คณุ ค่า ตาม แนว เศรษฐกิจ พอเพียง วธิ ี คิด การ จะ นา ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ไป ประยุกต์ ใช้ ให้ ไดผ้ ล ดี ใน การ ดาเนิน ชวี ิต จาเป็น จะ ต้อง เร่ิมต้น จาก การ มคี วามรู้ ความ เขา้ ใจ ที่ ถูกตอ้ ง วา่ เศรษฐกจิ พอเพียง หมาย ถึง อะไร และ มี หลักการ สาคัญ อะไร บา้ งท่ี จะ นาไป ใช้ เป็น แนวทาง สู่ การ ปฏบิ ตั ิ ตลอดจน เห็น ถึง ประโยชน์ จาก การ ท่ี จะ นาไป ใช้ ใน ชวี ติ ประจาวัน เพ่ือ ใหร้ อดพ้น และ สามารถ ดารง อยู่ ได้ อยา่ ง มัน่ คง และ ยง่ั ยนื วธิ ีปฏบิ ัติ หลงั จาก ที่ ได้ ทา ความ เขา้ ใจ อยา่ ง ถูกตอ้ ง แล้ว ก็ จาเปน็ จะ ตอ้ ง ทดลอง นามา ประยุกต์ ใช้กบั ตนเอง ทั้ง ใน ชวี ิต ประจาวัน และ การ ดาเนิน ชวี ิต สามารถ อยู่ ร่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้ อยา่ ง มี ความ สขุ โดย คานึง ถึง การ พง่ึ พา ตนเอง เป็น เบื้องต้น การ ทา อะไร ท่ี ไม่ สุด โด่ง ไป ข้าง ใด ข้าง หนึง่ การ ใช้เหตผุ ล เป็น พืน้ ฐาน ใน การ ตดั สนิ ใจ และ การ กระทา ตา่ ง ๆ ตลอด การ สรา้ ง ภมู ิ คมุ้ กัน ที่ ดี เพ่อื พร้อม รบั ตอ่ การ เปล่ยี น แปลง จะ ไม่ ทา อะไร ที่ เสี่ยง จน เกินไป จนทา ให้ ตน เอง หรือ คน รอบข้าง เดอื ดร้อน ใน ภายหลงั การ ใฝ่รู้ อย่าง ต่อเนอื่ ง และ ใช้ ความรู้ ดว้ ย ความ รอบคอบ และระมดั ระวัง ความ ซ่ือสัตย์ ความ ไม่ โลภ ความ ร้จู กั พอ ความ ขยนั หมนั่ เพยี ร การ ไม่ เบยี ดเบียน กัน การ รู้จกั แบง่ ปันและ ชว่ ยเหลือ ซง่ึ กนั และ กนั อย่างไร ก็ตาม การ ท่ี จะ สรา้ ง ภาวะ ความ รู้ ความ เขา้ ใจ ที่ ถกู ต้อง อย่าง ลึกซงึ้ เก่ียวกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือให้ สามารถ นาไป ประยกุ ต์ ใช้ได้ น้ัน จาเปน็ ท่ี จะ ตอ้ ง เรยี นรู้ ดว้ ย ตน เอง หรือ รว่ มกับ ผูอ้ นื่ วธิ กี าร ให้ คณุ คา่ การ เรียนรู้ จาก การ ปฏิบตั ิ การ แลกเปลี่ยน ข้อ คิดเห็น และ ประสบการณ์ ระหวา่ ง ผู้ ที่ มคี วาม สน ใจ รว่ ม กนั จะ ทา ให้ สามารถ ตระหนัก ถงึ ประโยชน์ และ ความ สขุ ท่ี จะ ได้รบั จาก การนา หลัก เศรษฐกิจ พอเพียง ไป ใช้ แลว้ เกดิ การ ปรบั เปล่ยี น ความ คิดเหน็ และ น้อมนา เอา เศรษฐกิจ พอเพยี ง ไป ใช้ ใน การ ดาเนิน ชวี ติ ต่อไปจติ สานึก ที่ ตระหนัก ถงึ ความ สขุ ทีเ่ กดิ จาก ความ พอ ใจ ใน การ ใชช้ ีวติ อย่าง พอดี และ รู้จัก ระดับ ความ พอเพยี ง จะ นาไปสู่ การ ประกอบ สมั มา อาชพี หา เลี้ยง ตน เอง อยา่ ง ถกู ต้อง ไม่ ให้ อดอยาก จน เบยี ดเบียน ตน เอง หรือ ไม่เกิด ความ โลภ จน เบยี ดเบียน ผู้อนื่ แต่ มี ความ พอเพียง ที่ จะ คดิ เผ่อื แผ่ แบ่งปัน ไป ยัง คน อื่น ๆ ใน ชมุ ชน หรือ องค์กรและ สังคม ได้อย่างไร กต็ าม ระดับ ความ พอเพียง ของ แตล่ ะคน จะ ไม่ เท่า กนั หรือ ความ พอเพยี ง ของ คน คน เดียว กนั แตต่ า่ ง เวลา ก็ อาจ เปลยี่ น แปลง ไป ได้ แลว้ แต่ เงอ่ื นไขภาย ใน และ ภายนอก ตลอดจน สภาพ แวดล้อม ที่ มีผลตอ่ ความพอเพียง เรื่อง ท่ี 2 การ ปฏบิ ตั ิตน ตาม แนวทาง ปรัชหา ของ เศรษฐกจิ พอเพียง ใน ฐานะ ท่ี เป็น พสกนิกร ชาวไทย จึง ควร นอ้ มนา ปรชั ญา เศรษฐกิจ พอเพียง ที่ พระบาท สมเด็จ พระเจา้ อยู่ หวั ภมู ิ พล อดุลย เดช ทรง มี พระ ราช ดารสั มา ประพฤติ ปฏบิ ัตติ น ดงั นี้ 1 . ยดึ ความ ประหยดั ตดั ทอน ค่า ใชจ้ ่าย ใน ทุก ดา้ น ลดละ ความ ฟุ่มเฟือย ใน การ ดารงชวี ติ อยา่ ง จริงจัง ดงั กระ แส กระ ราช ดารสั ความ ว่า “ . . ความ เป็น อยู่ ท่ี ตอ้ ง ไม่ ฟุม่ เฟอื ย ต้อง ประหยัด ไป ในทาง ที่ ถูกตอ้ ง. . ” 2 . ยึดถือ การ ประกอบ อาชพี ดว้ ย ความ ถกู ต้อง สุจรติ แม้ จะ ตก อยู่ ใน ภาวะ ขาด แคลน ใน การ ดารงชวี ติ ก็ตาม ดงั กระ แส พระ ราช ดารัส ความ วา่ “ . . ความ เจรญิ ของ คน ท้งั หลาย ยอ่ ม เกิด จาก การ ประพฤติ ชอบ และ การ หาเล้ยี งชีพ ชอบ เปน็ หลกั สาคญั . . ”

3 . ละ เลิก การ แก่ง แยง่ ผล ประโยชน์ และ แขง่ ขนั กนั ในทาง การ ค้าขาย ประกอบ อาชพี แบบ ตอ่ สู้ กนั อย่าง รนุ แรง ดงั อดตี ดงั กระ แส พระ ราช ดารสั ใน เรอ่ื ง น้ี ความ วา่ “ . . ความ สขุ ความ เจรญิ อนั แท้จริง น้นั หมาย ถงึ ความ สขุ ความ เจรญิ ที่ บคุ คล แสวง หาได้ ดว้ ย ความ เป็น ธรรม ทั้ง ใน เจตนา และ การ กระทา ไม่ ใช่ ได้ มา ดว้ ย ความ บงั เอญิ หรอื ดว้ ย การ แกง่ แย่ง เบียดบัง มาจาก ผู้อื่น. . ” 4 . ไม่ หยุดนิง่ ที่ จะ หาทาง ให้ ชวี ติ หลุดพน้ จาก ความ ทุกข์ยาก คร้งั น้ี โดย ตอ้ ง ขวนขวาย ใฝ่ หาความรู้ ให้ เกดิ มี รายได้ เพ่มิ พนู ขนึ้ จน ถึงข้นั พอเพยี ง เป็น เป็น เป้าหมาย สาคญั ดงั กระ แส พระ ราช ดารสั ตอน หนงึ่ ที่ ให้ ความหมาย ชดั เจน วา่ “ . . การ ท่ี ตอ้ งการ ให ทกุ คน พยายาม ท่ี จะ หาความรู้ และ สรา้ ง ตน เอง ให้มนั่ คง น้ี เพื่อ ตน เอง เพื่อ จะ ให ต้ น เองมี ความ เป็นอยู่ ท่กี ้าวหน้า ท่ี มี ความ สุข พอมีพอกิน เป็นขั้นหน่ึง แลขั้น ตอ่ ไป ก็ คือ การ มี เกยี รติ วา่ ยืน ไดด้ ว้ ย ตน เอง. . ” 5 . ปฏิบตั ติ น ใน แนวทาง ที่ ดี ลด ละ สงิ่ ชั่ว ให้ หมด สิน้ ไป ทัง้ ดว้ ย สังคม ไทย ที่ ล่มสลาย ลง ใน ครัง้ น้ี เพราะ ยงั มี บุคคล จานวน มิ ใช่ นอ้ ย ท่ี ดาเนินการ โดย ปราศจาก ละลาย แผน่ ดนิ ดงั กระ แส พระ ราช ดารสั ความ ว่า “ . . พยายาม ไม่ ก่อ ความ ชั่ว ให้ เป็น เครื่อง ทาลาย ตวั ทาลาย ผอู้ น่ื พยายาม ลด ละ ความ ชั่ว ท่ี ตัวเอง มี อยู่ พยายาม ก่อ ความ ดี ให้ แก่ตวั อยู่ เสมอ พยายาม รกั ษา และ เพ่มิ พูน ความ ดี ท่ี มี อยู่ น้นั ให้ งอกงาม สมบรู ณ์ ขน้ึ . . ” จาก หนังสอื เศรษฐกิจ พอเพียง สานักงาน คณะกรรมการ พเิ ศษ เพ่ือ ประสานงาน โครงการ อนั เนอื่ ง มาจาก พระ ราช ดาริ หน้า 2 7 พมิ พ์ ครงั้ ที่ 3 กรกฎาคม 2 5 4 8 หลกั ของ ความ ประมาณ ( พอ ดี) 5 ประการ ( จาก ขอ้ สรปุ ของ สภา พฒั น์) 1 . พอดี ดา้ น จิต ใจ เขม้ แขง็ มี จติ สานกึ ที่ ดี เอ้ืออาทร ประนปี ระนอม นึก ถึง ประโยชน์ สว่ นรวม 2 . พอดี ด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื เกื้อกูล รู้จัก สามัคคี สร้าง ความ เขม้ แขง็ ให้ ครอบครัว และ ชมุ ชน 3 . พอดี ดา้ น ทรัพยากร ธรรมชาติ และ ส่ิง แวดลอ้ ม รูจ้ ัก ใช้ และ จัดการ อยา่ ง ฉลาด และ รอบคอบ เกดิ ความ ยง่ั ยืน สูงสดุ 4 . พอดี ดา้ น เทคโนโลยี รู้จกั ใช้ เทคโนโลยี ท่ี เหมาะสม และ สอดคล้อง ตอ่ ความ ตอ้ งการ เป็น ประโยชน์ สภาพ แวดลอ้ ม และ เกดิ ประโยชน์ ตอ่ สว่ นรวม และ พฒั นาจาก ภมู ิปญั ญา ชาวบ้าน กอ่ น 5 . พอดี ดา้ น เศรษฐกจิ เพมิ่ รายได้ ลด รายจา่ ย ดารงชวี ิต อย่าง พอควร พอ อยู่ พอ กิน สมควร ตามอัตภาพ และ ฐานะ ของ ตน หลกั ของ ความ มี เหตุผล 1 . ยึด ความ ประหยัด ตดั ทอน ค่า ใช้จา่ ย ใน ทุก ดา้ น ลด ความ ฟุ่มเฟือย ใน การ ดารงชีวติ 2 . ยึดถอื การ ประกอบ อาชพี ด้วย ความ ถกู ต้อง สุจริต แม้ จะ ตก อยู่ ใน ภาวะ ขาด แคลน ใน การ ดารงชีวติ 3 . ละ เลกิ การ แก่ง แย่ง ผล ประโยชน์ และ แข่งขัน ในทาง การ ค้าขาย ประกอบ อาชีพ แบบ ตอ่ สู้ กนั อยา่ ง รุน แรง 4 . ไม่ หยุดนิ่ง ที่ หาทาง ใน ชีวติ ให้ หลดุ พน้ จาก ความ ทกุ ขย์ าก 5 . ปฏิบตั ติ น ใน แนวทาง ท่ี ดี ลด เลิก สงิ่ ยัว่ ยุ กเิ ลส ให้ หมด ส้นิ ไป ไม่ ก่อ ความ ชว่ั ให้ เป็น เครื่อง ทาลาย ตวั เอง ทาลาย ผอู้ น่ื

หลัก ของ การ มี ภูมิ คุ้ม กนั 1 . มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั 2 . มี คุณธรรม ซื่อสตั ย์ สจุ รติ ขยนั อดทน และ แบ่งปัน การ ปฏบิ ตั ติ น ตาม แนวทาง เศรษฐกิจ พอเพียง ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ แบบอยา่ ง และ แนวทาง ให้ บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน นามา ประยุกต์ ใช้ ใน การ ดารงชีวติ ดังนี้ 1 . ยึดหลัก ความ ประหยดั ไม่ ใช้จา่ ย ฟุ่มเฟอื ย ใช้ ใน ส่ิง ท่ี จาเป็น และ รู้จกั เกบ็ ออมไว้ ใช้ ใน อนาคต 2 . ยึดหลัก ความ ซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความ ถกู ต้อง ใน การ ประกอบ อาชีพ และ การ ดาเนิน ชีวิต ไมเ่ หน็ แกต่ ัว 3 . ยดึ หลัก ความ ไม่ แก่ง แยง่ ชิงดี กัน รูจ้ กั การ พึง่ พา กัน ไม่ เอารัด เอาเปรียบ และ แขง่ ขนั โดย ใช้ วธิ ี รุน แรง 4 . ยดึ หลักการ ใฝ่รู้ ใฝ่ เรียน หมน่ั ศกึ ษา หาความรู้ ใช้ สติปัญญา ใน การ ดาเนิน ชีวติ การ ประกอบ อาชพี เพอื่ ให้ มี รายได้ ไว้ ใชจ้ า่ ย โดย ยึด ความ พอเพียง เปน็ หลัก 5 . ยึด หลักการ ทาความดี ลดละ ความ ชัว่ และ สงิ่ อบายมุข ทง้ั ปวง เพือ่ ให้ ตน เอง ครอบครัว และ สงั คม อยู่ อย่าง เปน็ สขุ

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กล่มุ สาระความรูพ้ ื้นฐาน รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช11001 ระดบั ประถมศกึ ษา แผนการจัดการเรียนรู้เรือ่ งท่ี 2 ปฏบิ ัติตนดี มคี วามพอเพียง เวลา ชว่ั โมง สอนวนั ท่ี …….……เดือน …………………พ.ศ.………......... ภาคเรยี นที่ ………ปกี ารศึกษา……….. มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ รู้ เขา้ ใจ ยอมรบั เห็นคุณค่า ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถประยุกตใ์ ช้ในครอบครัว และมี ภมู ิคุ้มกันใน การดาเนินชีวติ ของตนเองและครอบครวั อย่างมีความสุข ตัวช้วี ดั 1.รู้ เขา้ ใจประวัติ ความเป็นมา ความหมายแนวคดิ หลกั การ ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง สาระการเรียนรู้ 1. อธบิ ายแนวทางในการนาปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใช้ ในวิถีชวี ติ ของตนเองครอบครวั 2. ปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 3. วเิ คราะห์สภาพรายรบั รายจา่ ยของ ครอบครัวได้ 4.วางแผนการจดั ทาบนั ทึกรายรบั รายจ่ายของตนเองและครอบครัวอยา่ ง เป็นระบบ 5.อธิบายวิธกี ารลดรายจ่ายและเพม่ิ รายได้ของครอบครวั กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ขน้ั กาหนดสภาพปญหหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครูกลา่ วทักทายผู้เรยี น และแนะนาตัวเอง โดยบอกชอื่ นามสกุล และชอ่ งทางการตดิ ต่อ 1.2 ครูสอบถามผู้เรยี นถึงกิจกรรมที่ทาในระหวา่ งปิดภาคเรยี นท่ีผ่านมา และนาเขา้ สเู่ ร่อื งท่ีจะเรยี น 1.3 ครแู จ้งให้ผเู้ รียนทราบวา่ ในภาคเรยี นนจ้ี ะไดเ้ รียน รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช11001 2. ขน้ั แสวงหาข้อมูล และจัดการเรยี นรู้ 2.1 ครชู ้ีแจงรายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช11001 ระดบั ประถมศกึ ษา ที่จะ เรยี นในภาคเรียนน้ี จานวน 2 เร่อื ง คือ ครูแจ้งตวั ชีว้ ัด และอภปิ รายถึงเน้ือหา ทจี่ ะเรียนร่วมกนั กับผู้เรียน 2.2 ครู และผูเ้ รียนตกลงหลักเกณฑก์ ารวัดผล และการให้คะแนนในสว่ นต่าง ๆ ร่วมกัน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาคตอ่ ปลายภาค = 60 : 40 เปน็ ดงั นี้ 1. คะแนนระหว่างเรยี น 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั น้ี 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนดา้ นทักษะ (โครงงาน/ช้ินงาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรยี น 40 คะแนน ดังนี้ เกณฑ์การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนด้านความรู้ ของผู้เรยี นท่ศี ึกษา หลักสตู รรายวิชา เศรษฐกิจ พอเพียง ทช11001 มีดงั น้ี หมายถึง ผเู้ รยี นมคี ะแนนสอบปลายภาคเรยี น ต้งั แต่ 12.00 – 40.00 หรือ รอ้ ยละ 30 ของคะแนนเต็ม ข้นึ ไป ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมคี ะแนนสอบปลายภาคเรียน ตั้งแต่ 0.00 – 11.99 หรอื ร้อยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเต็มขน้ึ ไป

การตดั สนิ ผลการเรยี น รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 ระดบั ประถมศึกษา จะนาคะแนนระหว่าง ภาคมารวมกับคะแนนปลายภาคเรยี น และจะตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 50 จงึ จะถือว่าผา่ น ท้ังน้ี ผูเ้ รียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรยี นด้วย แลว้ นาคะแนนไปเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์ท่ีกาหนดให้ค่าระดับผลการ เรยี นเป็น 8 ระดับ ดังนี้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ให้ระดบั 4 หมายถงึ ดเี ย่ยี ม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดับ 3 หมายถงึ ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ใหร้ ะดับ 2.5 หมายถงึ คอ่ นข้างดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ให้ระดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ให้ระดบั 1.5 หมายถงึ พอใช้ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ให้ระดับ 1 หมายถึง ผ่านเกณฑข์ ้ันต่าท่ีกาหนด ไดค้ ะแนนร้อยละ 0 – 49 ใหร้ ะดับ 0 หมายถงึ ตา่ กวา่ เกณฑ์ขนั้ ตา่ ที่กาหนด 2.3 ขอ้ ตกลง ขอ้ ปฏบิ ตั ิ และกฎระเบียบในการเรยี นการสอนในห้องเรยี น ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นต้องเข้าเรยี นไมต่ า่ กว่า 80 เปอร์เซน็ ต์ ของเวลาเรยี นท้งั หมด 2. ผูเ้ รยี นไม่พูดคุยเสียงดัง หรอื สง่ เสยี งรบกวนเพื่อนในเวลาเรยี น 3. ผู้เรยี นต้องเข้าเรยี นให้ตรงเวลา 4. หากมีความจาเป็นต้องหยุดเรียน ตอ้ งขออนุญาตครผู สู้ อนกอ่ นทุกครั้ง 5. ไม่นาอาหารมารบั ประทานในหอ้ งเรียนขณะครูสอน 6. หากมีขอ้ สงสัยขณะเรียน ใหส้ อบถามครูได้ทันที 3 2.4 ครูช้แี จงรายละเอียดการพบกลุ่ม วัน เวลา สถานที่ใหผ้ ู้เรียนทราบ 3. ขน้ั ปฏิบัติ และนาไปประยุกต์ใช้ 3.1 ครูใหผ้ ้เู รยี นแนะนาตวั ให้ครู และเพื่อน ๆ ทกุ คนในห้องเรยี นไดร้ จู้ ัก 3.2 ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรยี น เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 ระดบั ประถมศึกษา ใหผ้ ู้เรยี นทาจากนั้น ตรวจแบบทดสอบพรอ้ มบนั ทึกคะแนนไว้ และรว่ มกนั สรปุ ถึงการทาแบบทดสอบ ก่อนเรยี น รายวชิ า เศรษฐกิจ พอเพยี ง ทช11001 4. ข้นั ประเมินผลการเรียนรู้ 4.1 ครูถามผู้เรียนเกยี่ วกับเรื่องที่ครูกล่าวมาข้างต้น ว่ามเี รอ่ื งอะไรบ้างมีรายละเอียดท่สี าคัญอย่างไร (เรื่อง ทจ่ี ะเรียน หลกั เกณฑ์การให้คะแนน กฎระเบียบ ข้อตกลง ขอ้ ควรปฏิบตั ิ กตกิ าในการเรียนการสอน) 4.2 ครถู ามผู้เรียนวา่ พบกลุ่มวันไหน เวลาไหน และท่ีไหน 4.3 ครซู กั ถามผู้เรียนวา่ มขี ้อสงสยั หรือไม่ 4.4 ครมู อบหมายใหผ้ เู้ รยี นศึกษาเรื่องท่จี ะเรียนในครั้งตอ่ ไปล่วงหนา้ การวัดผลประเมนิ ผล วิธีการวัด ประเมนิ จากการสังเกต การซักถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบก่อนเรียน เคร่ืองมือ ไดแ้ ก่ แบบประเมิน และแบบทดสอบก่อนเรยี น

เกณฑก์ ารวดั ผ่าน ต้องทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ของคะแนนเตม็ สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช11001 ระดบั ประถมศึกษา 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ

บันทกึ หลังสอน 1. ปัญหาหรืออปุ สรรคในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กกกกกกก………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………… 2. แนวทางการแกป้ ญั หาหรืออุปสรรค กกกกกกก……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปรับปรงุ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เรอ่ื ง การปฐมนิเทศ กกกกกกก………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………… (………………………………………) ตาแหนง่ ……………………………………. ความคดิ เห็นของผูน้ ิเทศที่ไดร้ ับมอบหมายจากผบู้ ริหาร ลงชื่อ…………………………………..…… (……………………………………………) ตาแหนง่ ……………………………………. ความคดิ เหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………..…… (………………………………………) ตาแหนง่ ……………………………………

บท ที่ 2 ปฏิบตั ติ น ดี มี ความ พอเพียง เรอ่ื ง ท่ี 1 วิธี คิด วธิ ปี ฏิบัติ วธิ ี ให้ คุณค่า ตาม แนว เศรษฐกจิ พอเพียง วธิ ี คดิ การ จะ นา ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ไป ประยุกต์ ใช้ ให้ ไดผ้ ล ดี ใน การ ดาเนิน ชีวิต จาเปน็ จะ ต้อง เร่มิ ต้น จาก การ มคี วามรู้ ความ เข้า ใจ ที่ ถกู ต้อง ว่า เศรษฐกิจ พอเพยี ง หมาย ถงึ อะไร และ มี หลกั การ สาคัญ อะไร บา้ งที่ จะ นาไป ใช้ เป็น แนวทาง สู่ การ ปฏบิ ตั ิ ตลอดจน เห็น ถึง ประโยชน์ จาก การ ที่ จะ นาไป ใช้ ใน ชวี ิต ประจาวัน เพ่ือ ใหร้ อดพ้น และ สามารถ ดารง อยู่ ได้ อยา่ ง ม่ันคง และ ย่งั ยนื วิธีปฏิบตั ิ หลังจาก ที่ ได้ ทา ความ เขา้ ใจ อย่าง ถกู ต้อง แล้ว ก็ จาเปน็ จะ ตอ้ ง ทดลอง นามา ประยุกต์ ใช้กับ ตนเอง ทง้ั ใน ชวี ิต ประจาวนั และ การ ดาเนนิ ชวี ติ สามารถ อยู่ รว่ มกบั ผ้อู ่ืน ได้ อยา่ ง มี ความ สุข โดย คานงึ ถงึ การ พ่งึ พา ตน เอง เป็น เบือ้ งต้น การ ทา อะไร ที่ ไม่ สดุ โด่ง ไป ข้าง ใด ข้าง หนง่ึ การ ใช้เหตุผล เป็น พ้นื ฐาน ใน การ ตดั สนิ ใจ และ การกระทา ตา่ ง ๆ ตลอด การ สรา้ ง ภูมิ คมุ้ กนั ท่ี ดี เพอ่ื พร้อม รับ ตอ่ การ เปลย่ี น แปลง จะ ไม่ ทา อะไร ท่ี เสีย่ ง จน เกนิ ไป จนทา ให้ ตน เอง หรือ คน รอบข้าง เดือดรอ้ น ใน ภายหลัง การ ใฝร่ ู้ อย่าง ต่อเน่อื ง และ ใช้ ความรู้ ด้วย ความ รอบคอบ และระมัดระวงั ความ ซอื่ สัตย์ ความ ไม่ โลภ ความ ร้จู ัก พอ ความ ขยนั หมัน่ เพยี ร การ ไม่ เบยี ดเบียน กัน การ รูจ้ ัก แบ่งปันและ ชว่ ยเหลือ ซง่ึ กนั และ กันอย่างไร กต็ าม การ ที่ จะ สรา้ ง ภาวะ ความ รคู้ วาม เข้า ใจ ท่ี ถูกต้อง อยา่ ง ลึกซึ้ง เกยี่ วกับ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อให้ สามารถ นาไป ประยุกต์ ใชไ้ ด้ นนั้ จาเปน็ ท่ี จะ ต้อง เรียนรู้ ด้วย ตน เอง หรอื รว่ มกับ ผอู้ ืน่ วิธีการ ให้ คุณค่า การ เรียนรู้ จาก การ ปฏิบตั ิ การ แลกเปลี่ยน ขอ้ คดิ เหน็ และ ประสบการณ์ ระหว่าง ผู้ ท่ี มีความ สน ใจ รว่ ม กัน จะ ทา ให้ สามารถ ตระหนัก ถงึ ประโยชน์ และ ความ สขุ ที่ จะ ได้รับ จาก การนา หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไป ใช้ แล้ว เกิด การ ปรับ เปลีย่ น ความ คดิ เห็น และ น้อมนา เอา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไป ใช้ ใน การ ดาเนิน ชีวิต ตอ่ ไป จิตสานกึ ท่ี ตระหนัก ถึง ความ สขุ ทเี่ กิด จาก ความ พอ ใจ ใน การ ใชช้ วี ติ อยา่ ง พอดี และ รจู้ ัก ระดบั ความ พอเพียง จะ นาไปสู่ การ ประกอบ สมั มา อาชีพ หา เลย้ี ง ตน เอง อยา่ ง ถูกต้อง ไม่ ให้ อดอยาก จน เบียดเบียน ตน เอง หรอื ไม่เกดิ ความ โลภ จน เบยี ดเบยี น ผ้อู น่ื แต่ มี ความ พอเพยี ง ที่ จะ คิด เผือ่ แผ่ แบ่งปนั ไป ยัง คน อนื่ ๆ ใน ชมุ ชน หรอื องค์กรและ สงั คม ได้อย่างไร กต็ าม ระดบั ความ พอเพียง ของ แตล่ ะคน จะ ไม่ เทา่ กนั หรือ ความ พอเพียง ของ คน คน เดยี ว กัน แตต่ า่ ง เวลา ก็ อาจ เปลี่ยน แปลง ไป ได้ แล้ว แต่ เงอ่ื นไขภาย ใน และ ภายนอก ตลอดจน สภาพ แวดลอ้ ม ท่ี มผี ลต่อ ความพอเพียง เรอื่ ง ที่ 2 การ ปฏิบตั ิตน ตาม แนวทาง ปรัชหา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ใน ฐานะ ท่ี เป็น พสกนิกร ชาวไทย จึง ควร นอ้ มนา ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง ที่ พระบาท สมเดจ็ พระเจ้า อยู่ หัว ภมู ิ พล อดลุ ย เดช ทรง มี พระ ราช ดารัส มา ประพฤติ ปฏบิ ตั ิตน ดงั นี้ 1 . ยดึ ความ ประหยัด ตัดทอน คา่ ใชจ้ ่าย ใน ทุก ดา้ น ลดละ ความ ฟมุ่ เฟือย ใน การ ดารงชีวติ อยา่ ง จริงจัง ดงั กระ แส กระ ราช ดารัส ความ ว่า “ . . ความ เป็น อยู่ ที่ ต้อง ไม่ ฟมุ่ เฟอื ย ต้อง ประหยดั ไป ในทาง ท่ี ถกู ต้อง. . ” 2 . ยึดถอื การ ประกอบ อาชพี ดว้ ย ความ ถกู ต้อง สุจริต แม้ จะ ตก อยู่ ใน ภาวะ ขาด แคลน ใน การ ดารงชวี ติ ก็ตาม ดงั กระ แส พระ ราช ดารัส ความ วา่ “ . . ความ เจรญิ ของ คน ทงั้ หลาย ยอ่ ม เกิด จาก การ ประพฤติ ชอบ และ การ หาเลีย้ งชพี ชอบ เปน็ หลกั สาคัญ. . ” 3 . ละ เลกิ การ แก่ง แยง่ ผล ประโยชน์ และ แขง่ ขนั กนั ในทาง การ ค้าขาย ประกอบ อาชีพ แบบ ตอ่ สู้ กนั อย่าง รนุ แรง ดงั อดีต ดงั กระ แส พระ ราช ดารัส ใน เรอื่ ง นี้ ความ วา่ “ . . ความ สุข ความ เจริญ อนั แท้จริง นัน้ หมาย ถงึ ความ สขุ ความ เจริญ ที่ บคุ คล แสวง หาได้ ด้วย ความ เป็น

ธรรม ทงั้ ใน เจตนา และ การ กระทา ไม่ ใช่ ได้ มา ดว้ ย ความ บงั เอญิ หรอื ด้วย การ แกง่ แยง่ เบียดบงั มาจาก ผ้อู ่ืน. . ” 4 . ไม่ หยุดนงิ่ ท่ี จะ หาทาง ให้ ชวี ิต หลดุ พน้ จาก ความ ทกุ ขย์ าก ครัง้ น้ี โดย ต้อง ขวนขวาย ใฝ่ หาความรู้ ให้ เกดิ มี รายได้ เพมิ่ พนู ข้ึน จน ถึงข้นั พอเพยี ง เป็น เป็น เป้าหมาย สาคัญ ดงั กระ แส พระ ราช ดารสั ตอน หน่งึ ที่ ให้ ความหมาย ชัดเจน ว่า “ . . การ ท่ี ตอ้ งการ ให ทุ้กคน พยายาม ที่ จะ หาความรู้และ สร้าง ตน เอง ให้มนั่ คง นี้ เพื่อ ตน เอง เพ่ือ จะ ให้ ตน เองมี ความ เป็น อยู่ที่ มี ความ สุข พอมพี อกิน เปน็ ขั้น หนึ่ง และ ข้นั ตอ่ ไป ก็ คอื การ มี เกียรติ ยืน ได ดว้ ย ตน เอง. . ” 5 . ปฏิบัตติ น ใน แนวทาง ที่ ดี ลด ละ ส่งิ ช่ัว ให้ หมด สิน้ ไป ทง้ั ดว้ ย สังคม ไทย ท่ี ลม่ สลาย ลง ใน คร้งั น้ี เพราะ ยงั มี บุคคล จานวน มิ ใช่ นอ้ ย ท่ี ดาเนินการ โดย ปราศจาก ละลาย แผ่นดิน ดงั กระ แส พระ ราช ดารสั ความ ว่า “ . . พยายาม ไม่ ก่อ ความ ชั่ว ให้ เป็น เครื่อง ทาลาย ตวั ทาลาย ผู้อื่น พยายาม ลด ละ ความ ช่ัว ที่ ตัวเอง มี อยู่ พยายาม กอ่ ความ ดี ให้ แก่ตวั อยู่ เสมอ พยายาม รกั ษา และ เพ่มิ พูน ความ ดี ที่ มี อยู่ นัน้ ให้ งอกงาม สมบูรณ์ ข้นึ . . ” จาก หนงั สือ เศรษฐกจิ พอเพียง สานักงาน คณะกรรมการ พิเศษ เพ่ือ ประสานงาน โครงการ อนั เนื่อง มาจาก พระ ราช ดาริ หนา้ 2 7 พิมพ์ ครง้ั ที่ 3 กรกฎาคม 2 5 4 8 หลัก ของ ความ ประมาณ ( พอ ดี) 5 ประการ ( จาก ขอ้ สรปุ ของ สภา พฒั น์) 1 . พอดี ดา้ น จติ ใจ เขม้ แขง็ มี จิตสานึก ที่ ดี เอื้ออาทร ประนปี ระนอม นึก ถงึ ประโยชน์ ส่วนรวม 2 . พอดี ดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื เก้ือกลู รจู้ ัก สามัคคี สร้าง ความ เขม้ แขง็ ให้ ครอบครวั และ ชุมชน 3 . พอดี ดา้ น ทรัพยากร ธรรมชาติ และ สิ่ง แวดล้อม รู้จัก ใช้ และ จัดการ อย่าง ฉลาด และ รอบคอบ เกดิ ความ ยั่งยืน สงู สดุ 4 . พอดี ดา้ น เทคโนโลยี รูจ้ ัก ใช้ เทคโนโลยี ที่ เหมาะสม และ สอดคล้อง ตอ่ ความ ต้องการ เป็น ประโยชน์ สภาพ แวดลอ้ ม และ เกิด ประโยชน์ ตอ่ สว่ นรวม และ พฒั นาจาก ภูมิปัญญา ชาวบา้ น ก่อน 5 . พอดี ดา้ น เศรษฐกิจ เพิ่ม รายได้ ลด รายจา่ ย ดารงชีวิต อยา่ ง พอควร พอ อยู่ พอ กิน สมควร ตามอัตภาพ และ ฐานะ ของ ตน หลัก ของ ความ มี เหตผุ ล 1 . ยึด ความ ประหยดั ตัดทอน คา่ ใชจ้ า่ ย ใน ทุก ดา้ น ลด ความ ฟ่มุ เฟอื ย ใน การ ดารงชีวิต 2 . ยึดถอื การ ประกอบ อาชพี ด้วย ความ ถูกต้อง สจุ ริต แม้ จะ ตก อยู่ ใน ภาวะ ขาด แคลน ใน การ ดารงชวี ิต 3 . ละ เลิก การ แก่ง แย่ง ผล ประโยชน์ และ แขง่ ขัน ในทาง การ ค้าขาย ประกอบ อาชีพ แบบ ต่อสู้ กนั อย่าง รนุ แรง 4 . ไม่ หยุดนิ่ง ท่ี หาทาง ใน ชวี ิต ให้ หลดุ พน้ จาก ความ ทกุ ขย์ าก 5 . ปฏบิ ตั ิตน ใน แนวทาง ท่ี ดี ลด เลกิ สง่ิ ยวั่ ยุ กิเลส ให้ หมด ส้นิ ไป ไม่ กอ่ ความ ช่ัว ให้ เป็น เครือ่ ง ทาลาย ตัวเอง ทาลาย ผู้อืน่

หลัก ของ การ มี ภูมิ คุ้ม กนั 1 . มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั 2 . มี คุณธรรม ซื่อสตั ย์ สจุ รติ ขยนั อดทน และ แบ่งปัน การ ปฏบิ ตั ติ น ตาม แนวทาง เศรษฐกิจ พอเพียง ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ แบบอยา่ ง และ แนวทาง ให้ บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน นามา ประยุกต์ ใช้ ใน การ ดารงชีวติ ดังนี้ 1 . ยึดหลัก ความ ประหยดั ไม่ ใช้จา่ ย ฟุ่มเฟอื ย ใช้ ใน ส่ิง ท่ี จาเป็น และ รู้จกั เกบ็ ออมไว้ ใช้ ใน อนาคต 2 . ยึดหลัก ความ ซื่อสตั ย์ สจุ รติ ความ ถกู ต้อง ใน การ ประกอบ อาชีพ และ การ ดาเนิน ชีวิต ไมเ่ หน็ แกต่ ัว 3 . ยดึ หลัก ความ ไม่ แก่ง แยง่ ชิงดี กัน รูจ้ กั การ พึง่ พา กัน ไม่ เอารัด เอาเปรียบ และ แขง่ ขนั โดย ใช้ วธิ ี รุน แรง 4 . ยดึ หลักการ ใฝ่รู้ ใฝ่ เรียน หมน่ั ศกึ ษา หาความรู้ ใช้ สติปัญญา ใน การ ดาเนิน ชีวติ การ ประกอบ อาชพี เพอื่ ให้ มี รายได้ ไว้ ใชจ้ า่ ย โดย ยึด ความ พอเพียง เปน็ หลัก 5 . ยึด หลักการ ทาความดี ลดละ ความ ชัว่ และ สงิ่ อบายมุข ทง้ั ปวง เพือ่ ให้ ตน เอง ครอบครัว และ สงั คม อยู่ อย่าง เปน็ สขุ

กิจกรรมที่ 2 ให้ ผเู้ รยี น ทา กจิ กรรม ตอ่ ไปนี้ 1 ) การ ดาเนิน ชวี ิต ของ ผู้เรียน สอดคล้องกบั หลัก แนวคิด ปรชั ญา ของ เศรษฐกิจ พอเพียง อย่างไร 1 . ความ พอประมาณ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ………………… . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . …………………….. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ………………… . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 . ความ มี เหตผุ ล ........................................................................... ........................................................................... ............................................................... ............ ........................................................................... ............................................................... ............ 3 . ภูมิ ค้มุ กัน ใน ตวั ท่ี ดี ............................................................... ............ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . ............................................................... ....... ........................................................................... ............................................................... ............ 4 . เง่อื นไข ความรู้ ............................................................... ............ ........................................................................... ............................................................... ............ ........................................................................... ............................................................... ............ 5 . เงื่อนไข คุณธรรม ............................................................... ............ ........................................................................... ..........................................................................

แบบทดสอบ ก่อน – หลงั เรยี น คา ช้ี แจง เลอื ก คา ถาม ที่ ถกู ที่สุด เพยี ง คา ตอบ เดียว 1 . เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ เร่ือง เกี่ยวกบั อะไร ก. การ เกษตร ข. การ คา้ ขาย ค. การ ดาเนิน ชีวิต ง. การ อุตสาหกรรม 2 . หลกั ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง เป็น แนวทาง ใน การ ดาเนนิ ชวี ติ ของ คน กลมุ่ ใด ก. พอ่ ค้า นัก ธุรกิจ ข. นักเรียน นักศึกษา ค. ข้าราชการ นัก การเมือง ง. ประชาชน ทกุ คน 3 . เป้าหมาย หลกั แนวคิด เศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ขอ้ ใด ก. พ่ึงพา ตน เอง เป็นหลกั ข. ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กัน และ กนั ค. มี อาชพี เกษตรกรรม ทุก ครอบครัว ง. ใช้จ่าย แต่ ส่ิงจาเป็น ตอ่ การ ดาเนิน ชีวิต 4 . คา วา่ “ เดนิ ทาง สายกลาง” ตาม แนวคิด เศรษฐกิจ พอเพียง หมาย ถึง การ ดาเนิน ชีวิต แบบ ใด ก. รู้จกั คา วา่ พอดี พอประมาณ ข. ลด รายจ่าย และ เพ่มิ รายได้ ให้ สมดุล ค. ประหยดั รายจ่าย ให้ มาก ที่สดุ เทา่ ท่ี จะ ทาได้ ง. ดาเนนิ ชวี ิต แบบ ใด ก็ได้ ขอ เพยี ง แต่ ให้ มี ความ สุข 5 . การ เตรยี มตวั ให้ พร้อม ที่ จะ เผชิญ ผล กระทบ และ การ เปลี่ยน แปลง ดา้ น ตา่ ง ๆ หมาย ถงึ ขอ้ ใด ก. การ มี ประสบการณ์ ข. การ มีความรู้ ความ สามารถ ค. มี ภมู ิ คุม้ กัน ที่ ดี ใน ตวั ง. มี คุณธรรม จรยิ ธรรม 6 . ขอ้ ใด คอื เง่ือนไข ท่ี สาคญั ของ เศรษฐกิจ พอเพียง ก. มคี วามรู้ มี คณุ ธรรม ข. มี คุณธรรม จริยธรรม ค. มี เหตุผล มี ความ รอบคอบ ง. มี ภูมิ คุ้ม กัน ใน ตวั ที่ ดี มี เหตผุ ล 7 . ขอ้ ใด คอื วิธีการ จัดสรร เงนิ หรือ วาง แผนการ ใชจ้ ่าย ท่ี ดี ทีส่ ุด ก. จดั สรร จา่ ย ให้ เท่ากบั รายได้ ข. การ บันทึก รายรบั - รายจา่ ย ค. ปรกึ ษา เพอื่ นบ้าน กอ่ น ซอ้ื

ง. เปรียบเทยี บ คา โฆษณา ตาม หนังสอื พิมพ์ 8 . ขอ้ ใด ถูกต้อง ท่สี ุด ใน การ จดบันทกึ รายรบั - รายจ่าย ก. จด ทุกคร้ัง ข. จด ทุก วนั เวน้ วนั ค. จด ทุก เดือน ง. จด ทกุ อาทิตย์ 9 . การ ใชจ้ า่ ย ที่ เหมาะสมกับ ฐานะ ความ เป็น อยู่ หรอื ความ สามารถ ของ ตน ตรง กบั สานวน ใน ข้อ ใด ก. มือ ใคร ยาว สาว ได้ สาว เอา ข. นก นอ้ ย สร้างรงั แต่ พอตัว ค. ฝน ท่ัง ให้ เป็น เข็ม ง. นา้ ขน้ึ ให้ รบี ตกั 10 . ขอ้ ใด สัมพันธ์กบั “ เกษตร ทฤษฎี ใหม”่ มาก ทีส่ ดุ ก. การ บรหิ าร จดั การ เกษตรกร ท่ี ยากจน ข. การ จัด ระบบ วถิ ี ชีวติ ของ เกษตรกร ใหม่ ค. การ เกษตร ผสม ผสาน ใน ทด่ี ิน ท่ี มี อยู่ จากัด ง. การ บริหาร จดั การ ทดี่ ิน ให้ เกิด ประโยชน์ สูงสุด

แบบทดสอบ คาส่งั ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมาย X ในขอ้ ทีถ่ ูกต้อง ลงในกระดาษคาตอบ 1. เศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถึงอะไร ก. การทาเกษตรกรรม ข. การดารงชวี ติ อยูอ่ ย่างพออยพู่ อกิน ค. การคา้ ขายให้ไดเ้ งนิ เพยี งพอสาหรบั ครอบครัว ง. การปลกู พชื และเลี้ยงสัตวเ์ พอ่ื ให้ครอบครัวพออยู่พอกิน 2. เป้าหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือข้อใด ก. มุ่งแก้ไขปญั หาวิกฤตเศรษฐกจิ ชาติ ข. เพอ่ื ให้สามารถดารงอยู่ได้อยา่ งม่นั คง ค. เพ่อื ให้ก้าวทนั ต่อโลกในยุคโลกภวิ ัฒน์ ง. มงุ่ ใหเ้ กิดความสมดลุ พร้อมรับตอ่ การเปล่ียนแปลง 3. การปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งจะก่อใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ ตนเองและครอบครัว ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. มคี วามรบั ผิดชอบต่อสงั คม ข. มคี วามพอประมาณในการใช้จ่าย ค. มกี ารวางแผนการบริหารจัดการประเทศ ง. ทาใหร้ จู้ กั ใช้เหตผุ ลในการวางแผนและการปฏบิ ัติตน 4. ดนิ ชนดิ ใดเหมาะในการเพาะปลูกมากทส่ี ดุ ก. ดินเหนยี ว ข. ดินเหนียวปนตะกอน ค. ดินร่วน ง. ดินรว่ นปนตะกอน 5. ทด่ี ินเปน็ กรดควรแก้ไขอย่างไร ข. ระบายนา้ เข้าทีด่ นิ ก. ใช้ปูนขาวหว่าน ง. การปลูกพืชหมุนเวยี น ค. การใสป่ ุย๋ พืชสด 6. แนวทฤษฎใี หมใ่ หค้ วามสาคญั กับการจดั ทรัพยากรให้มากท่สี ุด ก. มนุษย์ ข. ทรัพยากรน้า ค. ทรัพยากรดนิ ง. ทรัพยากรป่าไม้ 7. แนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงเริ่มต้นเม่ือใด ก. พ.ศ. 2507 ข. พ.ศ. 2517 ค. พ.ศ. 2527 ง. พ.ศ. 2537

8. หลักคดิ ในการนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการดาเนินชวี ิต ยกเวน้ ข้อใด ก. ความมเี หตุผล ข. การมีภมู ิค้มุ กันทีด่ ีในตวั ค. ความขยันหมัน่ เพยี ร ง. ใชค้ ุณธรรมนาความรู้ 9. การนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาทสี่ มดลุ และยั่งยนื พรอ้ มรับต่อการ เปล่ียนแปลงในทุกดา้ น ยกเว้น ดา้ นใด ก. สังคม ข. สิง่ แวดล้อม ค. วฒั นธรรม ง. พฒั นาประเทศ 10. การดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ย่ใู นระดบั พอเพยี งนน้ั ต้องอาศยั ส่ิงใดเป็นพนื้ ฐาน ก. ความซอื่ สัตย์และความรู้ ข. ความรแู้ ละคุณธรรม ค. คุณธรรมและความเพียร ง. ความเพียรและสติปญั ญา 11. ข้อใดเปน็ การปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ก. รจู้ ักประหยดั ข. ยืมเงินเพื่อนและผ่อนใช้ทีหลงั ค. อดอาหารกลางวันเพ่ือเก็บเงนิ ใสอ่ อมสนิ ง. ทางานหลังเลิกเรยี นเพื่อเก็บเงนิ ไวซ้ ้อื สงิ่ ของที่อยากได้ 12. ข้อใดคือความหมายของการพ่งึ ตนเอง ก. มีความมนั่ ใจวา่ ตนเองเก่ง ข. มคี วามเอื้อเฟือ้ เผ่ือแผ่ ค. ขอความชว่ ยเหลอื เมอ่ื ทาสิ่งนั้นไม่ได้ ง. พยายามทาทกุ อยา่ งดว้ ยตนเองแม้จะทาไม่ไดด้ ี 13. เกษตรทฤษฎใี หมแ่ บง่ พ้ืนทากนิ ที่อยา่ งไร ก. ขดุ สระน้า / ปลกู ขา้ ว / ปลกู อ้อย / ที่อยู่ ข. ปลกู ขา้ ว / ปลกู อ้อย / ปลูกขา้ วโพด / ที่อยู่ ค. ปลูกข้าว / เลีย้ งปลา / ปลกู อ้อย / ทอี่ ยู่ ง. ขดุ สระน้า / ปลกู พชื / ปลูกข้าว / ทอ่ี ยู่ 14. ขอ้ ใดเปน็ การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมเพื่อปลกู ฝงั แนวคิดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งตอ่ ตนเอง ก. การนาน้าลา้ งจานไปรดตน้ ไม้ ข. เปลีย่ นหลอดไฟเปน็ แบบหลอดประหยดั ไฟฟา้ ค. ไมท่ ้ิงขยะในทส่ี าธารณะและแหล่งน้าในชมุ ชน ง. ใช้ถงุ ผา้ แทนถุงกระดาษแทนและถุงพลาสติกในการซ้ือของ

15. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 10 ไดอ้ ญั เชิญปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปฏบิ ัติในการพฒั นา แบบบูรณาการเปน็ องค์รวม ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. คนเป็นศนู ย์การพัฒนา ข. การปฏิบตั บิ นทางสายกลาง ค. การพฒั นาอยา่ งเปน็ ขั้นตอน ง. การแก้ปญั หาความยากจน 16. สถานะภาพของประเทศทส่ี าคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับที่ 10 ยกเวน้ ข้อใด ก. สถานะดา้ นธรรมาภิบาล ข. สถานดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศ ค. สถานะดา้ นความหลากหลายทางชวี ภาพ ง. สถานะด้านการพัฒนาบนรากฐานความหลากหลายทางสังคม 17. โครงการใดต่อไปน้ีไมใ่ ช่โครงการพัฒนาประเทศตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ก. โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ข. โครงการอนรุ กั ษ์ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ค. โครงการส่งเสริมสินคา้ OTOP ง. โครงการส่งเสรมิ ประเพณี วฒั นธรรม 18. โครงการเสรมิ สร้างการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตมีประโยชน์และความสาคญั อยา่ งไร ก. สร้างโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเน่ือง ข. สนบั สนนุ การศกึ ษา การจัดทาหลกั สูตร ค. พัฒนาคณุ ภาพบคุ ลากรทางการศึกษา ง. สง่ เสรมิ ให้ประชาชนมีความเขา้ ใจและตระหนักในการเรียนรู้ 19. การกระจายอานาจการบรหิ ารจดั การประเทศส่ภู ูมิภาค ทอ้ งถ่ิน และชุมชนมีความสาคญั อย่างไร ก. ส่งเสริมภาคเอกชนให้มีความเข้มแขง็ ข. สร้างความเจรญิ ทางเศรษฐกิจและสงั คม ค. เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ภาคประชาชน ง. เสริมสรา้ งศกั ยภาพของชุมชนในการอยรู่ ่วมกนั 20. คณุ ธรรมด้านใดท่ีมีความสาคญั กับหลักเศรษฐกจิ พอเพียงมากทส่ี ุด ก. เป็นคนมีศีลธรรม ข. มคี วามละอายต่อบาป ค. เป็นผูม้ ีความโอบออ้ มอารี ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมนั่ เพยี ร

เฉลยแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางก่อนเรียนและหลังเรยี น 1. ข 11. ก 2. ข 12. ง 3. ค 13. ง 4. ค 14. ง 5. ก 15. ง 6. ข 16. ง 7. ข 17. ค 8. ค 18. ก 9. ค 19. ง 10. ข 20. ค