มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

เป็นมาตรฐานที่ สพธอ. จัดทำขึ้นภายใต้ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 ซึ่งครอบคลุมหลักการสำคัญของการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ ได้แก่

  • การรักษาความลับ (confidentiality) เพื่อป้องกันการเข้าถึง ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลโดยผู้ไม่มีสิทธิ
  • การรักษาความถูกต้องครบถ้วน (integrity) เพื่อป้องกันข้อมูลไม่ให้ถูกแก้ไข สูญหาย เสียหาย หรือถูกทำลายโดยไม่ได้รับอนุญาต
  • การรักษาสภาพพร้อมใช้งาน (availability) เพื่อให้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สามารถทำงาน เข้าถึง หรือใช้งานได้ในเวลาที่ต้องการ
  • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

โดยผู้ให้บริการต้องดำเนินการตามข้อกำหนดด้านความมั่นคงปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใน 10 วัตถุประสงค์ ดังนี้

คลังเอกสาร

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. … (ก.ย. 2561)

เครือข่ายพลเมืองเน็ต 20 กันยายน 2561 1. การประมวลผลข้อมูลที่พระราชบัญญัตินี้จะไม่ใช้บังคับต้องมีเท่าที่จำเป็น และการยกเว้นต้องระบุผู้ประมวลผลข้อมูลและจุดประสงค์ของการประมวลผลอย่างเฉพาะเจาะจง (มาตรา 4) 2. ความเป็นอิสระและทรัพยากรของคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและสำนักงาน

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (25 มี.ค. 2561)

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. … (รับฟังความคิดเห็น 8-25 มี.ค. 2561) -- นิยาม "ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์", สัดส่วนและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ, อำนาจของเจ้าหน้าที่ที่เป็นโดยด้วยวิธีพิเศษจากกระทรวงกลาโหม, เงื่อนไขในการใช้อำนาจและการตรวจสอบการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ในการเข้าถึงข้อมูล

มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ภาษาอังกฤษ

ความคิดเห็นต่อร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (2 ก.พ. 2561)

ชื่อและสกุล ต้องเป็นข้อมูลส่วนบุคคล, ข้อมูลผู้เสียชีวิต ต้องได้รับคุ้มครอง, ข้อมูลติดต่อทางธุรกิจ อาจมีข้อมูลส่วนบุคคลอยู่, การยกเว้นไม่ใช้บังคับกฎหมายข้อมูลส่วนบุคคลกับบางกิจการทำให้มีช่องว่าง, คณะกรรมการที่ไม่เป็นอิสระจะทำให้ทำงานคุ้มครองยาก, ข้อมูลที่ได้เก็บไปก่อนหน้าที่จะมีกฎหมายอาจใช้ต่อไปได้ถ้าทำตามเงื่อนไข

  • Page 1 of 12
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • ...
  • 12
  • >

สืบเนื่องจากประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง “มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2563” ที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2563 มีใช้บังคับใช้ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2563 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 ซึ่งเป็นระยะเวลาหนึ่งปี โดยได้กำหนดให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 22 กิจการที่ได้รับการยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา ไม่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกำหนด ดังนี้

  1. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลตามประกาศนี้ ให้แก่บุคลากร พนักงาน ลูกจ้างหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ รวมถึงสร้างเสริมความตระหนักรู้ด้านความสำคัญของการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้กับกลุ่มบุคคลดังกล่าวปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดอย่างเคร่งครัด
  2. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งควรครอบคลุมถึงมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล มีรายละเอียด ดังนี้
    • มาตรการป้องกันด้านการบริหารจัดการ (administrative safeguard)
    • มาตรการป้องกันด้านเทคนิค (technical safeguard)
    • มาตรการป้องกันทางกายภาพ (physical safeguard) ในเรื่องการเข้าถึงหรือควบคุมการใช้งานข้อมูลส่วนบุคคล (access control) โดยอย่างน้อยต้องประกอบด้วยการดำเนินการ ดังต่อไปนี้
      1) การควบคุมการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลและอุปกรณ์ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลโดยคำนึงถึงการใช้งานและความมั่นคงปลอดภัย
      2) การกำหนดเกี่ยวกับการอนุญาตหรือการกำหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล
      3) การบริหารจัดการการเข้าถึงของผู้ใช้งาน (user access management) เพื่อควบคุมการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลเฉพาะผู้ที่ได้รับอนุญาตแล้ว
      4) การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ใช้งาน (user responsibilities) เพื่อป้องกันการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต การเปิดเผย การล่วงรู้ หรือการลักลอบทำสำเนาข้อมูลส่วนบุคคล การลักขโมยอุปกรณ์จัดเก็บหรือประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
      5) การจัดให้มีวิธีการเพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนหลังเกี่ยวกับการเข้าถึง เปลี่ยนแปลง ลบ หรือถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคล ให้สอดคล้องเหมาะสมกับวิธีการและสื่อที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
  3. ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอาจเลือกใช้มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลที่แตกต่างไปจากประกาศฉบับนี้ได้ หากมาตรฐานดังกล่าวมีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไม่ต่ำกว่าที่กำหนดในประกาศนี้ กล่าวคือหากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลพิจารณาแล้วว่ามาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลที่ดำเนินการอยู่สูงกว่าประกาศนี้ ก็สามารถปฏิบัติตามมาตรฐานนั้นต่อไปได้

ถึงแม้ว่ามาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรฐานที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกำหนด จะช่วยกำหนดมาตรการในการดำเนินงาน เพื่อให้การจัดการข้อมูลส่วนบุคคลมีมาตรฐานและสร้างมั่นใจแก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ว่าจะในการเก็บรวบรวม นำไปใช้ การควบคุมการเข้าถึงและตรวจสอบย้อนหลังการเข้าถึงได้ แต่ก็เป็นเพียงการสร้างความปลอดภัยในระดับหนึ่งเท่านั้น ซึ่งยังไม่ครอบคลุมถึงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเต็มรูปแบบเช่นเดียวกับ พ.ร.บ. ฯ ดังนั้น หากมีการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลจนก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูล เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลยังสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย

ที่มา :
ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2563. (2563, 17 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 137 ตอนพิเศษ 164 ง. หน้า 12-13.

Number of View :3693