เสียงเปรียบเทียบได้กับองค์ประกอบทัศนศิลป์ ข้อใด

��ȹ��Ż�Ѻ�����

เสียงเปรียบเทียบได้กับองค์ประกอบทัศนศิลป์ ข้อใด

��������͹���ᵡ��ҧ�����ҧ�ҹ��ȹ��Ż�Ѻ�ҹ��ô����

��ȹ��Ż�Ѻ��ô���յ�ҧ������ͧ���������âͧ�Ե �ԭ�ҳ ������ͤ��������ʴ������Դ��������� ��������֡�ͧ��������ҧ��ä� �ѹ�Դ��鹨ҡ�ç�Ѻ�ͧ������ �����Դ ��������֡ �ç�ѹ�������㹨Ե� ���ͷ���������áѺ�ؤ�ŷء����� �ء�� �ء��� �ء�ҵ� ���� ������վ��ᴹ�� ��ҧ��� ���������Ѻ��� ���Դ��������֡ (emotion) ��������Դ������зѺ� �����آ ������鹵ѹ� ��������� ����͹�仡Ѻ�ŧҹ����

�ҹ��ȹ��Ż���Чҹ����շ���դس�Ҿ��鹵�ͧ���Ͷ֧��������֡���ҧ����ҧ˹�觷���Դ���㹨Ե㨢ͧ������ҧ�ŧҹ������ҧ�ҹ������͡�Ҿ��ͤ�������֡ ���Դ������� ��������� �����ǡѹ

     ������ҧ�ͧ�ҹ��ȹ��Ż�Ѻ�ҹ����չ�鹵�ҧ�ѹ�����ѡ���������ͧ��� �����ػ�ó� �������ͧ��������ػ�ó����Ъ�� �������Ըա���� �������ö������á������Դ������ ��������֡�ͧ����ʾ���ᵡ��ҧ�ѹ �蹧ҹ��ȹ��Ż�����ѡ�������èѴͧ���Сͺ�ͧ�Ҿ (composition) ��������� (Line) �ʧ�� (Light) ������� ��ҧ �� (Space) ��鹼�� (Texture) �� (Color)

��ҹ��Сͺ��ҧ�����ҹ�� �������ö������ �Ѻ��� �������µҤ�������

��ǹ�ҹ����� ��ҧ�Ѻ�ҹ��ȹ��Ż� ��� ��� (scale), �дѺ���§ (Tone), �ѧ��� (Rythm) - Major, Mimor, Diminish, Augment, ���7Mode ���.

���������3��� ���� 4 ��Ǥ���5��� ������§ �ѧ�����ͧ����

     �������ҹ�����Ըա����蹷���ôҺ�þҨ����ҧ����������ҧ��ä����������������µ�͡�ý֡�� ���ʹ㨤�������֡����з�ͧ�� ���ѡ��õ�ҧ����ú��ǹ���¡�͹����������Ч��¢��


�Ҿ��Сͺ : www.fanpop.com


ʹ����ǧ��ҡó��͹�Ź�

H O M E

Create Date :25 ��Ȩԡ�¹ 2552 Last Update :25 ��Ȩԡ�¹ 2552 19:56:58 �. Counter :Pageviews. Comments :0

  • twitter
  • google
  • เสียงเปรียบเทียบได้กับองค์ประกอบทัศนศิลป์ ข้อใด

  • Comment
    *�� code html ���觢�ͤ�����੾����Ҫԡ

ดนตรีเป็นศิลปะและเป็นวิธีการแห่งการสร้าง หรือทำ "เสียง"ให้อยู่ในระเบียบในด้าน จังหวะ ทำนอง สีสันของเสียง และคีตลักษณ์ ไม่ว่าดนตรีชาติใดจะต้องอยู่ในพื้นฐานต่างเหล่านี้เหมือนกันทั้งสิ้น ในความแตกต่างนั้นขึ้นอยู่กับกรอบของวัฒนธรรมของแต่ละสังคม ที่กำหนดให้เกิดรสนิยมของแต่ละวัฒนธรรมซึ่งเป็นตัวกำหนดให้เกิดความแตกต่าง จนสามารถบ่งบอกได้ว่าดนตรีแต่ละแบบซึ่งแตกต่างกันนั้นเป็นของชาติหนึ่งชาติใดได้ ดังนั้นการศึกษาองค์ประกอบของดนตรี จึงควรศึกษาจากลักษณะทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้ว

องค์ประกอบของดนตรีประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้

1. เสียง เป็นสื่อของคีตกวีที่ใช้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านดนตรี ซึ่งผู้สร้างสรรค์ดนตรีสามารถสร้างเสียงให้หลากหลายได้ โดยอาศัยวิธีการผลิตเสียงเป็นตัวกำหนด เช่า การดีด สี ตี เป่า เป็นต้น

ลักษณะความแตกต่างของเสียงนี้ จะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ 4 ประการ คือ ระดับเสียง(สูง-ต่ำ) ความยาว และ ความแคบของเสียง(ช่วงสั้นๆ) และคุณภาพของเสียง (ดี-ไม่ดี)

1.1 ระดับเสียง หมายถึง ระดับความสูง - ต่ำ ของเสียง ซึ่งเกิดจากจำนวนของความถี่ของการสั่นสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรี คือ ถ้าการสั่นสะเทือนเร็ว หรือความถี่ของคลื่นสูง เสียงก็จะสูง หากการสั่นสะเทือนช้า หรือความถี่ของคลื่นต่ำ เสียงก็จะต่ำ

1.2 ความสั้นยาวของเสียง เป็นคุณสมบัติที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการกำหนดลีลา จังหวะ และอารมณ์

1.3 ความเข้มของเสียง คุณสมบัติเกี่ยวข้องกับน้ำหนักของความหนัก - เบาของเสียง ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ในการเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบูรณ์

1.4 คุณภาพของเสียง เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ทำให้เกิดความแตกต่างนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น วีธีการผลิตเสียง รูปทรงของเครื่องดนตรี เป็นต้น

2. จังหวะ ในดนตรีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ จังหวะภายใน และจังหวะภายนอก

2.1 จังหวะภายใน เป็นจังหวะที่แผงอยู่ในลีลาของทำนองได้แก่ความช้าเร็ว หนักเบา

2.2 จังหวะจากภายนอก เป็นจังหวะที่เพิ่มเติมจากจังหวะภายใน เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ จังหวะภายนอกสามารถแยกได้จากลีลาของทำนอง ซึ่งจะเพิ่มเติมลีลาของทำนองให้มีสีสันเพิ่มขึ้น โดยมีเครื่องดนตรีทำจังหวะเป็นสื่อผลิตเสียง สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ จังหวะหลักที่ดนตรีดำเนินไปพร้อมๆกันทุกเครื่องมือ และจังหวะของเพลงที่เกิดจากกลอง, กีต้าร์, เบส ฯลฯ เป็นตัวกำหนด

2.2.1 จังหวะหลัก (จังหวะเคาะเท้า) เป็นจังหวะที่เกิดจากการนับหรือเคาะจังหวะพี้อมๆกันทุกคน มีระเบียบการบรรเลงแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะประเภทของเพลง และสำเนียงของเพลงนั้นๆ

2.2.2 จังหวะกลอง (ชื่อจังหวะต่างๆ) ที่มีชื่อเรียกต่างๆกันไป มีหลายรูปแบบ เป็นจังหวะที่เกิดจากการตีเครื่องหนัง ประเภทกลอง และเสียงของเครื่องดีดที่เป็นพวกให้จังหวะ (Rhythm) มีผลต่อการสร้างสีสันให้บทเพลงอย่างมาก

3. ทำนอง เป็นการจัดระเบียบของเสียงสูง ต่ำ สั้น ยาว หนัก และเบา ทำนองดนตรีไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ทำนองหลัก และทำนองตกแต่ง

3.1 ทำนองหลัก เป็นเนื้อทำนองที่แท้จริงของเพลงนั้นๆ ซึ่งนักดนตรีจะเรียกว่า โจทย์ของเพลง หรือ Melody หลัก เครื่องดนตรีที่บรรเลงทำนองหลักคือ เครื่องมือที่กำหนดให้เป็นตัวโซโล่ทำนอง หรือ อาจจะเป็นการร้องก็ได้ ไม่มีกฏตายตัวแล้วแต่ผู้ประพันธ์จะวางรูปแบบ

3.2 ทำนองตกแต่ง เป็นการประดิษฐ์ตกแต่งทำนองหลักให้เกิดความไพเราะเหมาะสมกับเครื่องดนตรีแต่ละประเภท กระบวนการตกแต่งทำนองให้ไพเราะและเหมาะสมกับเครื่องดนตรีแต่ละประเภทนี้เรียกว่า การแปรทำนอง, การโซโล่, การด้นทำนอง (Improvisation) ซึ่งผู้เล่นจำเป็นต้องใช้ทักษะปฏิบัติอย่างสูง อันเกิดจากการฝึกซ้อมอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหลายๆปี จนเกิดเป็นลักษณะของ "คีตปฏิภาณ"

4. สีสันของเสียง คือลักษณะของเสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงที่มีความแตกต่างกัน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายด้านสีสันของเสียงประกอบด้วยปัจจัยที่มีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใช้ทำ รูปทรง ขนาด

4.1 วิธีการบรรเลง คุณลักษณะของเสียงที่เกิดจากวิธีการบรรเลง สามารถแยกออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

4.1.1 กลุ่มที่มีเสียงราบเรียบ กลุ่มนี้ได้แก่เครื่องเป่า และเครื่องสี ลักษณะเสียงที่ได้จะมีความต่อเนื่องกันของเสียง

4.1.2 กลุ่มที่มีเสียงไม่ราบเรียบ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีตระกูลเครื่องตีและดีด ซึ่งสามารถผลิตเสียงได้เพียงครั้งละหนึ่งเสียง หากต้องการผลิตเสียงที่ยาว ก็จะต้องตีและดีดหลายๆครั้งตามความยาวของจังหวะ

4.2 วัสดุที่ใช้ทำเครื่องดนตรี แตกต่างกันตามลักษณะทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของสังคมและยุคสมัย ความแตกต่างกันนี้เป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดความแตกต่างกันในด้านสีสันของเสียง

4.3 ขนาดและรูปทรง ความแตกต่างด้านขนาดและรูปทรงก่อให้เกิดความแตกต่างในด้านสีสันของเสียง ในลักษณะของความสัมพันธ์ต่างๆ เช่น วัสดุที่ใช้ทำยาว เสียงจะต่ำ วัสดุที่ใช้ทำสั้นเสียงจะสูง

5. คีตลักษณ์ เป็นการรวมเอาจังหวะ ทำนอง สีสันของเสียงให้เดินไปในทิศทางเดียวกัน สามารถพิจารณาได้จากลักษณะดังนี้

5.1 รูปแบบของเพลง สามารถกำหนดได้เองโดยผู้แต่ง ซึ่งไม่มีข้อจำกัดว่า ความยาว สั้น จำนวนท่อน ความช้า-เร็ว ได้ทั้งนั้น

5.2 ลีลาของเพลง มีความเกี่ยวข้องกับวิธีการประพันธ์ของผู้ประพันธ์ เป็นต้นว่า ใช้ทางคอร์ด Minor หรือ Major หรือรูปแบบของบันไดเสียงที่ใช้กับเพลงนั้นๆ ซึ่งจะเป็นความรู้ในขั้นสูงขึ้นไปอีกครับ