วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

Show

8 ธ.ค.

ยินดีต้อนรับสู่ภาควิชาสรีรวิทยา

                […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ยินดีต้อนรับสู่ภาควิชาสรีรวิทยา

                […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ยินดีต้อนรับสู่ภาควิชาสรีรวิทยา

                […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

สัมมนานักศึกษาบัณฑิต ครั้งที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2557 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ขอแสดงความยินดีกับ คุณเมรี เอื้อวัฒนาเจริญ ที่ได้รับเกียรติบัตรบุคลากรในโครงการ “หนึ่งในร้อย” ประจำปี 2557

รางวัลที่ได้รับ​ เกียรติบัตรบุคลากรในโครงการ “หนึ […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ขอแสดงความยินดีกับ อ.ดร.ชุติมา ศรีมะเริง ที่ได้รับโล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2557

รางวัลที่ได้รับ โล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี 2557 โดยได้รั […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ขอแสดงความยินดีกับ อ.ดร.วาสนา ปรัชญาสกุล ที่ได้รับโล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2557

รางวัลที่ได้รับ โล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี 2557 โดยได้รั […]

READ MORE

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

8 ธ.ค.

ขอแสดงความยินดีกับ อ.ดร.เกริกวิชช์ ศิลปวิทยาทร ที่ได้รับโล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2557

รางวัลที่ได้รับ โล่นักวิจัยดีเด่น ประจำปี 2557 โดยได้รั […]

READ MORE

การตอบสนองทางสรีรวิทยาแบบเฉียบพลันขณะออกกำลังกายท่าทางต่าง ๆ ในหญิงตั้งครรภ์

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล

การตอบสนองทางสรีรวิทยาแบบเฉียบพลันขณะออกกำลังกายท่าทางต่าง ๆ ในหญิงตั้งครรภ์

รุ่งชัย ชวนไชยะกูล
เมตตา ปิ่นทอง
อมรพันธ์ อัจจิมาพร

วัตถุประสงค์ : เพื่อวัดการตอบสนองทางสรีรวิทยาของร่างกายที่เกิดขึ้นแบบทันทีทันใด (เฉียบพลัน) ในหญิงตั้งครรภ์ ขณะออกกำลังกายในท่านอนหงาย นอนตะแคง นั่ง และยืน

วิธีวิจัย : เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง (Cross – Sectional Study) ในหญิงตั้งครรภ์สุขภาพดี จำนวน 42 คน โดยทำการแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 14 คน ตามระยะเวลาตั้งครรภ์ คือ ไตรมาสที่ 1 2 และ 3 ตามลำดับ ค่าตัวแปรเริ่มต้นจะถูกวัดในท่านั่งพัก เป็นเวลา 30 นาที จากนั้นค่าต่าง ๆ จะถูกวัดขณะที่มีการออกกำลังกายแบบไม่ใช้แรงต้าน ในท่านอนหงาย นอนตะแคง นั่ง และยืน ตามลำดับ ตัวแปรทางสรีรวิทยาที่วัด ประกอบด้วย อัตราการเต้นของหัวใจ (HR) ปริมาณอากาศที่หายใจเข้าออกต่อหนึ่งนาที (VE) อัตราการใช้ก๊าซออกซิเจน (VO2) อัตราการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (VCO2) และค่าอัตราส่วนระหว่างอัตราการใช้ออกซิเจน และอัตราการเต้นของหัวใจ (VO2/HR) โดยตัวแปรจะถูกวัดด้วยเครื่องวัดอัตราการใช้พลังงานแบบอ้อม

ผลการวิจัย : เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเริ่มต้น พบว่าหญิงตั้งครรภ์ทุกไตรมาสมีค่า HR, VE, VO2 และ VCO2 เพิ่มขึ้นขณะออกกำลังกายในท่ายืน ค่า VO2 มีค่าเพิ่มขึ้นในขณะออกกำลังกายในท่านั่ง และค่า VO2/HR มีค่าเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ท่าของการออกกำลังกาย ยกเว้น ท่ายืน นอกจากนี้ยังพบอีกว่าหญิงตั้งครรภ์กลุ่มไตรมาส 2 และ 3 มีค่า HR ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในขณะออกกำลังกายในท่านอนหงาย

สรุปผล : การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า การตอบสนองทางสรีรวิทยาแบบเฉียบพลันมีรูปแบบที่คล้ายกัน ในขณะออกกำลังกายด้วยท่าทางต่าง ๆ ในทุก ๆ ไตรมาสของหญิงตั้งครรภ์ ยิ่งกว่านั้น การออกกำลังกายในท่ายืน จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาที่กระทำต่อการทำงานของระบบหัวใจและหายใจมากกว่าการออกกำลังกายท่านอนหงาย นอนตะแคง และท่านั่ง

การนำไปใช้ประโยชน์ : ให้ความรู้แก่บุคลากรทางแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลต่าง ๆ เช่น โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

วิจัยเกี่ยวกับ สรีรวิทยา การออกกำลัง กาย

การเผยแพร่ผลงาน : Physiotherapy Theory and Practice, 18 มีนาคม 2018, หน้า 1 – 7

การติดต่อ :
ผศ.ดร.อมรพันธ์ อัจจิมาพร
วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล