โครงงาน เทียนหอมไล่ยุง จาก ตะไคร้ สารบัญ

        ในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่มักเป็นโรคไข้เลือดออกไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ โรคไข้เลือดออกเกิดจากยุงที่เป็นพาหะนำโรคที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ จึงได้มีผู้คิดค้นสิ่งที่ช่วยในการกำจัดและป้องกันยุง เช่น ครีมทากันยุง  ยาฉีดกันยุง ยาจุดกันยุง เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าสิ่งเหล่านี้อาจจะมีสารเคมีเป็นส่วนผสมอยู่ ซึ่งอาจทำให้ผู้บริโภคเกิดอาการแพ้ได้ในเวลาต่อมา จึงได้นำตะไคร้มาเป็นส่วนผสมในเทียนหอมเพื่อไล่ยุง เพราะตะไคร้มีสารที่ออกฟทธิ์ในการไล่ยุง กลิ่นตะไคร้มาจากน้ำมันหอมระเหยที่เรียกรวมๆว่า Essential oil ซึ่งประกอบด้วยสารหลายตัว ยุงจึงไม่ชอบกลิ่นตะไคร้ ดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงได้มองเห็นปัญหาเหล่านี้และได้หาวิธีการแก้ไขจึงได้มีโครงงานเรื่องเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง เพื่อเป็นการป้องกันยุงอันนำไปสู่โรคภัยได้ และยังเป็นการแปรรูปจากพืชสมุนไพรธรรมดาที่มีสรรพคุณมากมายให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์เทียนหอมไล่ยุง เพื่อสามารถทำเป็นรายได้เสริมให้แก่ตนเองหรือครอบครัวได้คณะผู้จัดทำจึงสนใจคิดทำโครงงานนี้ขึ้นมา

โครงงานเรื่อง การศกึ ษาเทียนหอมไล่ยุงจากตะไครห้ อม รายวชิ า IS-1 (I30201) โดย นางสาวชมพูนุท อนิ ทะรังษี เลขท่ี4 ม.5/3 นางสาวเบญญาทิพย์ สุวรรณ เลขท่ี5 ม.5/3 นางสาววรรณชนก ตนั กรุ ะ เลขท่ี6 ม.5/3 นางสาวกญั ชพร สายแปง เลขที่7 ม.5/3 นางสาวพชั รพร คาเทพ เลขที่35 ม.5/3 เสนอ ครดู ารงค์ คนั ธะเรศย์ โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดนา่ น สานักงานเขตพื้นทีม่ ธั ยมศกึ ษานา่ น

ก ชอ่ื โครงงาน : การศึกษาเทยี นหอมไล่ยงุ จากตะไคร้หอม ผจู้ ดั ทา้ โครงงาน : นางสาวชมพนู ทุ อินทะรังษี นางสาวเบญญาทพิ ย์ สวุ รรณ นางสาววรรณชนก ตันกรุ ะ นางสาวกัญชพร สายแปง นางสาวพชั รพร คาเทพ ครทู ี่ปรึกษา : ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ ระดบั ชัน้ : มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ปีการศกึ ษา : 2564 บทคัดย่อ โครงงานเร่ืองเทียนหอมไล่ยุง เป็นการนาตะไคร้ท่ีเป็นสมุนไพรท่ีมีอยู่ทั่วไป ตามทอ้ งถน่ิ ซง่ึ มีสรรพคณุ มากมาย สามารถนาตะไคร้มาแปรรปู เป็นเทยี นหอมเพ่ือไล่ยุง ท่ีเป็นพาหะนาโรคต่างๆมาสู่ร่างกายเราได้คณะผู้จัดทาโครงงานมีความสนใจท่ีจะทา ผลิตภณั ฑ์เทยี นหอมไล่ยุงทที่ าจากตะไครใ้ นท้องถิน่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทาโครงงานขึ้นเพ่ือเป็นการศึกษาสมุนไพรที่ สามารถใชป้ ้องกันยงุ ได้ เพ่ือเป็นการนาสมุนไพรมาประยุกตใ์ ช้ เพื่อให้เกิดความสามัคคี ในหมู่คณะและเพ่ือให้เกิดความคิดจินตนาการอย่างสร้างสรรค์และระดมความคิด ภายในกล่มุ คณะผู้จัดทา

กติ ติกรรมประกาศ ข โครงงานเรื่อง “การศึกษาเทียนหอมไล่ยุง จากตะไคร้หอม” น้ีได้สาเร็จลุล่วงไป ดว้ ยดเี พราะได้รับความอนเุ คราะห์และความชว่ ยเหลอื จาก ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ คุณครู ท่ปี รกึ ษาโครงงาน นอกจากนย้ี งั ได้รบั ความอนุเคราะห์จากผู้ปกครองและสมาชิกในกลุ่ม จึงสามารถทาใหโ้ ครงงานวทิ ยาศาสตรฉ์ บบั นี้สาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี คณะผู้จัดทามีความซาบซึ่งในความกรุณาของทุกท่านท่ีได้กล่าวมาข้างต้นน้ี รวมทั้งผู้ท่ีได้มีส่วนสนับสนุนท่ีไม่อาจกล่าวได้ท้ังหมด ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เราได้ นามาประกอบ ทางคณะผ้จู ัดทาจงึ ขอขอบพระคุณทุกๆท่านเป็นอย่างสูงด้วยความจริงใจ ขอบคุณเพื่อนๆ ที่ร่วมช่วยกันทา คุณค่าและประโยชน์ที่พึงมีขอมอบให้ผู้มีพระคุณทุกๆ ทา่ นด้วยใจจริง ที่ได้ให้ความสนับสนนุ โครงงานนนี้จนสาเรจ็ สมบรู ณ์ คณะผจู้ ดั ทำ

สารบัญ ค เรอื่ ง หน้า ก บทคัดย่อ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค สารบญั 1-3 บทท1ี่ บทนา 4-9 -ความเป็นมาและความสาคญั 10-11 -วัตถุประสงคข์ องการทาโครงงาน -สมมตฐิ านของการศกึ ษา 12 -ขอบเขตของการทาโครงงาน 13 -ตวั แปรที่ใชใ้ นการศึกษา -ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ -นิยามศพั ท์ บทท2ี่ เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง บทท3ี่ วิธกี ารดาเนนิ การศึกษาคน้ ควา้ -ระเบียบวธิ ใี ชใ้ นการศกึ ษา -วัสดุและอปุ กรณ์ -วิธกี ารดาเนินการ บทท4ี่ ผลการดาเนินงาน บทที่ 5สรปุ และอภิปรายผล -อภิปรายผลการทดลอง -สรปุ ผลการทดลอง -ขอ้ เสนอแนะ

1 บทท่ี1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ เน่ืองจากปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่มักเป็นโรคไข้เลือดออกไม่ว่าจะวัยเด็ก หรือวัยผู้ใหญ่ โดยโรคไข้เลือดออกเกิดจากยุงท่ีเป็นพาหะนาโรคซึ่งเป็นอันตรายของ มนุษย์ จึงได้มีสิ่งประดิษฐ์หรือผู้คิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆในการกาจัดเเละป้องกันยุง เช่น ครีมทากันยุง ยาฉีดกันยุง ยาจุดกันยุง เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าส่ิงเหล่านี้อาจจะมี สารเคมีเป้นส่วนผสมอยู่ ซึ่งอาจทาให้ผู้บริโภคเกิดอาการเเพ้ได้ จึงได้นาวัสดุธรรมชาติ คือ ตระไคร้มาเป็นส่วนผสมในเทียนหอมเพ่ือไล่ยุง เพราะตะไคร้มีสาร ออกฤทธ์ิในการ ไล่ยุง กลิ่นตะไคร้มาจากน้ามันหอมระเหยที่เรียกกว่า Essential Oil ยุงจึงไม่ชอบกล่ิน ตะไคร้ ดังน้ันคณะผู้จัดทาจึงมองเห็นปัญหาเหล่านี้เเละได้หาวิธีการเเก้ไขจึงได้จัดทา โครงงานเร่ือง การทดลองเทยี นหอมไล่ยงุ เพ่อื ปอ้ งกนั ยงุ อนั นาไปสู่โรคภัยได้ และยังเป็น การเเปรรูปจากพืชสมุนไพรจากธรรมชาติที่มีสรรพคุณมากมายให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ เทยี นหอมไล่ยงุ วตั ถุประสงค์ของการทาโครงงาน 1เพอ่ื ศึกษาสมุนไพรคือตะไคร้ทนี่ ามาเป็นสว่ นผสมของเทยี นหอมทส่ี ามารถปอ้ งกนั ยุงได้ 2.เพอ่ื ศกึ ษาตะไครท้ ี่เป็นส่วนผสมของเทียนหอมเม่ือนามาใชไ้ ม่เกิดอาการเเพ้ 3.เพ่ือลดปริมาณอัตราการเกิดโรคไขเ้ ลอื ดออกซง่ึ ยงุ เป็นพาหะของโรค สมมติฐานของการศึกษา จากการศึกษาเทียนหอมจากตะไคร้ที่ผลิตข้ึนสามารถไล่ยุงได้ และจากการสารวจของ กลุ่มตัวอย่างโดยการทดลองใช้เทียนหอมไล่ยุงจากตะไคร้หอมไม่ทาให้เกิดอาการเเพ้ เนื่องจากมีส่วนผสมของสมุนไพรเเละสามารถป้องกันการถูกยุงกัดท่ีเป็นสาเหตุของโรค ไขเ้ ลอื ดออกได้จรงิ

2 ขอบเขตของการทาโครงงาน ทาโครงงานเกี่ยวกับสมุนไพรท่ีนามาทาเทียนหอม โดยสมุนไพรท่ีนามาใช้เป็น ส่วนผสมคือ ตะไคร้ ในการทาเทียนหอมจากตะไคร้เพื่อรับรองว่าสามารถป้องกันหรือ ไล่ยุงไดจ้ รงิ โดยกาหนดขนาดพนื้ ที่หอ้ งอยูท่ ่ี15*18 ตารางเมตร ต่อเทียนหอม1อัน ท่ีมี ขนาดความสูงอยู่ที่6.2 เซนติเมตร เส้นผ่านศูยน์กลางอยู่ที่4.5 เซนติเมตร จุดได้นาน 8-9ชั่วโมง ทดลองโดยการนาตัวผลิตภัณฑ์ไปทดลองภายในครัวเรือนของสมาชิก ภายในกลุ่มเเละคนในชุมชนว่าสามารถป้องกันยุงได้หรือไม่ เเละเพื่อให้ปราศจาก สารเคมีเเละอันตราย เมื่อผลิตเทียนหอมข้ึนมาเเล้ว เราจะทดลองตัวผลิตภัณฑ์กับ สมาชิกในกลมุ่ กอ่ นเพื่อสารวจว่ามผี ลขา้ งเคยี งหรอื เกิดอาการเเพ้หรือไม่ เเละทาการจด บนั ทึกผลการทดลองเพื่อนามาเเกไ้ ขโครงงานให้มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ ตัวแปรทใี่ ช้ในการศึกษา 1.ตัวแปรต้น : ปรมิ ำณตะไคร้ สดั สว่ นของสว่ นผสมของเทียน 2.ตวั แปรตาม : ควำมสำมำรถในกำรไลย่ งุ กำรสง่ กล่นิ ของเทียนหอมจำกตะไคร้ 3.ตัวแปรควบคุม : ระยะเวลำในกำรใชเ้ ทียนหอม ขนำดของภำชนะบรรจเุ ทียนหอม ขนำดของหอ้ งท่ีใชท้ ดลองหรอื จดุ ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั 1. ทาให้ทราบไดถ้ งึ ความเหมาะสมของการนาสมุนไพรมาใช้ไล่ยุงได้ 2. สามารถนาวตั ถดุ บิ จากท้องถนิ่ มาประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์มากข้นึ 3. ผใู้ ช้หรือผู้ทดลองใชเ้ ทยี นหอมจากตะไครไ้ มเ่ กิดอาการเเพ้หรอื ผลขา้ งเคยี งอน่ื ๆ 4. ใบตะไครท้ ่ีใชท้ าเทียนสมนุ ไพรมีคุณสมบตั ิให้กลน่ิ และสามารถใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ 5. เทียนหอมจากตะไคร้สามารถไลย่ งุ เเละหอ้ งกันการถูกยงุ กัดไดจ้ ริง 6. ลดอัตราการเกิดไขเ้ ลือดออก

3 นยิ ามศัพท์ 1.ตะไครห้ อม ช่อื วิทยาศาสตร์ Cymbopogon nardus ใน วงศ์ Poaceae เป็นพืชวงศ์หญ้าอายุหลายปี มีต้นกาเนิดในเขตร้อนของเอเชีย มีน้ามันหอม ระเหยซ่ึงใช้ไล่ยุงได้ ไม่นิยมรับประทานมีฤทธ์ิทางอัลลีโลพาที โดยสารสกัดด้วยเอทา นอลจากลาตน้ สามารถยบั ย้ังการเจริญของคะน้าได้ กาบใบที่โคนต้นสีเขียวปนม่วงแดง และขอบใบสีแดง ใบ กาบใบ และเหงา้ มนี า้ มนั ระเหยง่ายเม่อื กล่นั ด้วยไอน้าจะได้น้ามนั ตะไครห้ อม ใชเ้ ป็นยาไล่ยงุ และแมลงบางชนิด 2.เทยี นหอม คือ เทียนที่มีการใส่กล่ินน้าหอมลงไปในเทียน เวลาจุดหรือตั้งท้ิงไว้ จะมีกล่ินหอม ออ่ นๆ ออกมาจากตวั เทยี น เทยี นหอมสามารถทาได้หลายรปู แบบ ไม่วา่ จะเป็นเทียนหอม แบบเท่ง, เทียนหอมในภาชนะ, เทียนหอมลอยน้า การใช้งานก็แตกต่างกันไปตามโอกาส นอกจากการใส่กลิ่นลงไปแล้ว ยังมีการใส่สีลงไปในเทียนเพ่ือใช้สาหรับต้ังประดับในบ้าน หรือสถานที่ตา่ งๆ เพ่อื ความรสู้ กึ ทแี่ ตกต่างกันออกไปด้วย •เทียนหอมกลิน่ ลาเวนเดอร์ ชว่ ยใหส้ งบ ผอ่ นคลาย หายใจสดชนื่ •เทียนหอมกลิ่นตะไคร้ ช่วยไล่ยุง และมกี ลน่ิ หอมสดช่ืน •เทียนหอมกล่นิ ส้ม ชว่ ยให้สดชน่ื ผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด •เทยี นหอมกลน่ิ มะลิ ช่วยให้เกิดความมัน่ ใจ มองโลกในแงด่ ี ช่วยผ่อนคลายและเกดิ อารมณ์รกั และยงั ใช้สาหรบั งานมงคล •เทยี นหอมกล่ินเป๊ปเปอร์มินต์ ชว่ ยกาจัดแบคทีเรีย ชว่ ยให้จติ ใจแจม่ ใส ปลอดโปร่ง ช่วย ให้สดช่นื และมีชีวติ ชีวา

4 บทที่2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง การศกึ ษาในครัง้ นี้ผศู้ ึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง โดยแบง่ เนอื้ หาของ เอกสารเป็นหัวขอ้ ต่างๆ ดังน้ี 1.ส่วนประกอบของเทยี นหอม • พาราฟิน เป็นวัตถุดิบท่ีได้มาจากกระบวนการกล่ันน้ามัน นามาใช้ในการทาเทียนหอมต้องมีเกรดดี พอสมควร เป็นของแข็งสีขาวสะอาด ไม่มีกลิ่น จุดหลอมเหลว 50-70 องศาเซลเซียสมี 2 ประเภท คือ -Normal Paraffin เป็นส่วนเหลือจากการกล่ันน้ามันหรือกากน้ามัน ลักษณะจะแข็งๆ สี ขาวขนุ่ กลน่ิ คล้ายนา้ มนั ก๊าด -Fully Paraffin ได้มาจากการสกัด Normal Paraffin เปน็ ของแข็งๆ สขี าวใส ไม่มีกลน่ิ • ไมโครแวค (Micro Wax) มีสีขาวออกเหลือง เมื่อผสมลงไปในอัตราส่วน 5-10%ของน้าหนักพาราฟินจะทาให้เน้ือ เทียนมีความเหนยี วแนน่ ไมแ่ ตก หกั กรอบ รา้ วผิวเทียนมีความมันเงาเนยี นขน้ึ กวา่ เดิม • ไส้เทยี น (Wick Tabs) ต้องทาจากฝา้ ย100% ขนาดของไสเ้ ทียนต้องใหเ้ หมาะสมกับขนาดของเทียน น้าตาเทียนมาก สูตรคานวณหาขนาดไส้ คือ 1/15xเสน้ ผ่าศนู ย์กลางของแบบเทยี น • น้ามันหอม (Essential Oils) วัสดุ-อุปกรณใ์ นการทาเทียนหอมสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ และสมุนไพร หรือบางชนิด ได้จากการสังเคราะห์ทาให้เทียนเกิดมีกลิ่นท่ีหอม ต้องใช้น้าหอมท่ีอยู่ในรูปน้ามันเท่าน้ันไม่สามารถ ใช้น้าหอมท่ใี ชฉ้ ดี ตัว เพราะไมส่ ามารถละลายในเทียนเนื่องจากอยูใ่ นรปู ของแอลกอฮอลแ์ ละน้า • ส(ี Colorant) ต้องเป็นสีท่ีละลายได้ในน้ามัน มีอยู่ในรูป ผง ครีม หรือเป็นแท่งสังเกตุได้ว่าท่ีภาชนะบรรจุ จะระบุ Oil Colorหรือ Color Wax หรือใช้สีเทียนท่ีเด็กใช้วาดรูป แต่ต้องใช้จานวนมากกว่าสีที่ใช้ •ทาเทสยี เนตโรดคิยเฉเอพซาดิะ (Stearic Acid) เป็นผงสีขำวขนุ่ ใชผ้ สมในกำรทำเทียน ทำใหเ้ นือ้ เทียนเหนียวขนึ้ ถอดจำกพิมพง์ ่ำยขนึ้ ผวิ เทียนมนั เงำ สเตรคิ เอซดิ ทำใหเ้ ทียนไม่แตกหกั งำ่ ย แกะจำกพมิ พง์ ำ่ ย และผิวเทียนมีควำมเงำมนั • Polyester Esterin (P.E) เปน็ เกร็ดหรือเม็ดละเอียด สีขาวขนุ่ จะมีลักษณะเปน็ แผน่ บางๆ เล็กๆกรอบ ใช้ผสมในการทา เทียนประมาณ 5-10% ของน้าหนักพาราฟิน ช่วยทาให้เทียนแข็งมากข้ึน จุดติดไฟได้นานข้ึน มีควัน น้อยลง PE ของเราไม่มีการปน ไม่มกี ารผสมกบั PE เกรดตา่ เหมือนตลาดวัตถดุ บิ เทียนทว่ั ไป

5 2.วธิ ีการใช้และเก็บรักษาเทียนหอม • จดุ จนหนา้ เทยี นละลายเท่ากัน หลังจากที่จุดเทียนหอม ควรปล่อยให้เทียนได้ละลายไปจนกว่าหน้าเทียนจะละลายสม่าเสมอ กันก่อนท่ีจะดับ เพ่ือชว่ ยให้หนา้ เทยี นเรียบไมใ่ หก้ ลายเปน็ หลุม การจุดเทียนโดยการจุดๆดับๆ ไม่ส่งผล ดีกับเทียนหอมและไม่ได้ช่วยประหยัดเน้ือเทียน เพราะจะทาให้การหลอมละลายของเนื้อเทียนไม่ สมบูรณ์และเป็นการสิ้นเปลืองมากกว่าการจุดแบบปกติ ระยะเวลาการจุดท่ีเหมาะสมจะอยู่ประมาณ 2-3 ชว่ั โมง หรอื ใหส้ งั เกตแอง่ นา้ ตาเทียนจะละลายสุดชนขอบแกว้ • วางใหถ้ กู ตาแหน่ง ตาแหน่งของเทียนหอมน้ันมีผลต่อการส่งกลิ่นและรับกล่ิน การที่เทียนหอมน้ันส่งกล่ินได้ไม่ เต็มท่ี อาจเป็นเพราะตาแหน่งในการวางเทียนหอมวางอยู่ในจุดที่กลิ่นไม่สามารถส่งมาถึงจมูกควรวาง เทียนหอมให้อยู่ในระดับต่ากว่าจมูก เน่ืองจากโมเลกุลของกลิ่นน้ันจะลอยจากล่างขึ้นบน รวมถึงควร วางเทียนหอมในจดุ ทไี่ ม่มลี มและหา่ งจากตวั ผูใ้ ชป้ ระมาณ 1 - 2 เมตร • วางในท่ีไม่มลี ม กลิ่นของเทียนหอมจะหายไปและไม่สามารถรับกล่ินหอมๆได้ถ้านาเทียนหอมไปวางไว้ในท่ีที่มี ลมแรง เชน่ ระเบียงบา้ น รมิ หน้าต่างท่ีถูกเปดิ ไว้ กลางสนามหรือกลางแจ้ง การวางไว้ในบริเวณบริเวณ ท่ีมีลมจะทาให้เกิดควันดาและเราจะไม่ได้กลิ่นอย่างเต็มที่ ควรหลีกเลี่ยงการจุดเทียนใกล้กับวัตถุที่ติด ไฟงา่ ย และจดุ โดยท่ีไมม่ ีคนคอยดแู ลความปลอดภยั • หม่นั เลม็ ไสเ้ ทียนหลังใชง้ านเสรจ็ ในกรณที ่ีจุดเทียนจนเปลวเทียนดับลง หลังจากเทียนเย็นสนิทดีแล้ว ให้ใช้กรรไกรเล็มไส้เทียน จนเหลอื ประมาณ 1/4 น้ิว เพื่อให้การจุดคร้ังต่อไปเทียนหอมยงั คงสง่ กลิน่ หอมได้เหมือนเดิม แตห่ ากไส้ เทียนถูกเล็มสั้นเกินไป ให้แก้โดยการจุดเทียนอีกครั้งจนหน้าเทียนละลาย จากน้ันให้รินน้าตาเทียนทิ้ง ทาซ้าซกั 2-3 ครัง้ ไสเ้ ทียนจะกลบั มายาวขึน้ จนสามารถจุดไดต้ ามปกติ • ดบั เทยี นโดยการใช้ฝาปิด การดบั เทียนหอมโดยการเป่าเหมือนกับเทียนท่ัวๆ ไปน้ัน ถือเป็นการสร้างความเสียหายให้กับ เทียนหอม การใช้ฝาปิดเทียนที่ได้มาพร้อมกับตอนซ้ือปิดลงไปได้เลย ฝาปิดเทียนจะช่วยกั้นไม่ให้ อากาศเข้าไปข้างในเทียนหอมและทาให้ไฟดับลงในท่ีสุด นอกจากน้ียังเป็นการถนอมเทียนหอมไม่ให้ กลิ่นฟุ้งออกมา รวมถึงไม่ให้เศษฝุ่นและสิ่งสกปรกตกลงไปบนหน้าเทียนอีกด้วย แต่หากไม่มีฝาปิด สามารถดับเทยี นไดด้ ้วยการเอียงแก้วเทียนเพื่อให้น้าตาเทียนไหลมาดับเปลวไฟก็ได้หรือจะใช้ลวดหรือ ส้อมดนั ไส้เทียนให้จมลงในนา้ ตาเทียนกไ็ ด้แลว้ คอ่ ยจดั ไสเ้ ทยี นใหต้ ้งั ขึ้นใหม่

6 วิธีการใช้เทยี นหอมทถี่ ูกวธิ ี - ข้อสาคัญท่ีสุด เล็มไส้เทียนให้ยาวประมาณ 3/4 นิ้วตลอดเวลา เพ่ือไม่ให้เกิดควัน หรือเปลวไฟสูง เกินไปจะทาให้เทียนหมดเร็วกว่าที่ควร และควรใช้กรรไกรสาหรับเล็มไส้เทียนโดยเฉพาะ ควรหม่ัน คอยสงั เกตทุกๆชัว่ โมง - การจดุ เทียนหอมแตล่ ะครง้ั ควรจะจดุ ให้น้าตาเทยี นละลายจนเตม็ หน้าเทยี น กอ่ นท่จี ะดับทุกครัง้ - ควรเลือกใช้ ขนาดและจานวน ของเทยี นหอมให้เหมาะสมกบั ขนาดของห้อง เช่น ถ้าเทียนขนาดเล็ก หรือ จานวนน้อยเกินไป ก็จะมีกล่นิ อ่อนเกนิ ไปสาหรบั ห้องขนาดใหญ่ - ใช้วัตถุที่ค่อนข้างยาว และไม่ติดไฟ เช่น ลวด เหล็ก อลูมิเนียม อุปกรณ์ต่างๆ ในการดับเทียน โดย ใช้วัตถุเหล่านั้นกดไส้เทียนให้จมลงไปในน้าตาเทียนแล้วจึงงัดไส้เทียนต้ังขึ้นใหม่ เปลวไฟก็จะดับโดย ไม่เกดิ ควันเหมือนกบั การเปา่ - หา้ มจุดเทียนใกล้มือเดก็ สัตว์เล้ยี ง หรอื วัตถุไวไฟ - ไมค่ วรจดุ เทียนนานเกิน 3-4 ช่ัวโมง เพราะน้าตาเทียนอาจจะท่วมไส้เทียนได้ - เมอื่ ใชเ้ ทียนเวลานานจะชนิ กบั กลิ่น อาจจะทาให้รู้สึกไม่ได้กลิ่น ให้หยุดใช้สักพัก หรือเปล่ียนกลิ่น8. ถ้าจุดเทียนหลายๆแก้วในห้อง ควรจะเปดิ ประตหู รือหนา้ ตา่ งเลก็ น้อย - ต้องหมัน่ คอยดแู ลเทียนทจ่ี ุดอยตู่ ลอดเวลา 3.ชนิดและสรรพคณุ ของตะไคร้ -ตะไครห้ อมตะไครห้ อม จัดเปน็ พชื ตระกลู เดยี วกันกับตะไครบ้ ้าน แต่มีกลิ่นหอมฉุนที่แรงกว่า นิยม นามาสกัดน้ามนั หอมระเหย ตม้ นา้ ดืม่ ทาธปู และใช้ในการป้องกนั และกาจดั แมลงศตั รู -พืชตะไคร้หอม (Citronella grass) เป็นพืชใบเล้ียงเดี่ยวอยู่ในวงศ์ Gramineae พันธุ์ที่นิยมปลูก มากเพอื่ การผลิตน้ามนั หอมระเหย มีอยู่ 2 ชนิด คือ พันธุ์ Cymbopogonnardus Lin มีช่ือเรียกตาม ท้องถิ่นตา่ งๆ เช่น ตะไคมะขูด ตะไคร้มะขูด (ภาคเหนือ) หรือตะไคร้แดง (นครศรีธรรมราช) ส่วนอีก ชนิดคือพันธุ์ Cymbopogonwinterianus Jowitt ปลูกมากบริเวณเกาะชวา มีช่ือพื้นเมืองว่า Mahapengiri ซึ่งต่อมาได้กระจายออกไปหลายแห่ง เช่น เกาะไต้หวัน เกาะไฮติ และเป็นชนิดที่ปลูก มากในประเทศไทย -ตะไคร้หอมมีน้ามันหอมระเหย (volatile oil) เป็นสารอินทรีย์ท่ีพืชสังเคราะห์ขึ้น มีกล่ิน และรส เฉพาะตัว ถูกสร้างไว้ในเซลล์พิเศษ ผนังเซลล์ ต่อมหรือท่อภายในพืช น้ามันหอมระเหยเกิดขึ้นจาก กระบวนการเมทาบอลิซึมระดับทุติยภูมิ (secondary metabolite) แต่เป็นสารที่ไม่ได้ทาหน้าท่ีต่อ การเจริญเตบิ โต เป็นสารทพ่ี บในพืชบางชนิด

7 ประโยชน์และสรรพคณุ ของตะไครห้ อม การนามาใช้ประโยชน์ในการเกษตร และในด้านยาสมุนไพร โดยการใช้ประโยชน์ทางด้าน เกษตรมีการใช้ น้ามนั หอมระเหยจากตะไครห้ อม ฆา่ ไขแ่ ละปอ้ งกันตัวเต็มวัยของด้วงถ่ัวเขียว และยัง มีการใช้สารสกัดจากตะไคร้หอมกาจัดเพล้ียท่ีเข้าทาลายต้นยี่หร่าฝร่ัง ส่วนประโยชน์ทางด้านยา สมุนไพรตามตารายาไทยระบุถึงสรรพคุณว่า ทั้งต้น มีรสปร่า ร้อนขม ทาให้มดลูกบีบตัว ทาให้แท้ง ขับโลหิต ขับลมในลาไส้ แก้แน่นท้อง แก้ริดสีดวงในปาก เหง้า ใช้เป็นยาบีบมดลูก ขับประจาเดือน ขบั ระดูขาว ขบั ปัสสาวะ ขับลมในลาไส้ แกจ้ ุกเสยี ดแน่นท้อง แก้อาเจียน แก้ปากแห้งแตก แก้แผลใน ปาก แก้ตานซางในล้ินและปาก บารุงไฟธาตุ แก้ธาตุ แก้เลือดลมไม่ปกติ แก้ไข้ แก้ริดสีดวง ใบและ กาบ นามากลัน่ ได้นา้ มนั หอมระเหย ใชท้ าผิวหนงั กนั ยุง และแมลง 4.ประเภทของเทยี นหอม -เทียนเเบบเเท่ง (Taper Candle)เทียนชนิดแท่ง เป็นเทียนหอมที่มีรูปทรงเรียบง่าย และคุ้นหน้าคุ้น ตากันเป็นอย่างดี ลักษณะของเทียนประเภทน้ี จะเป็นทรงสูงเรียวยาว ประมาณ 6 – 18 นิ้ว จึงทา ให้การใช้เทียนประเภทนี้ ต้องมีเชิงเทียนเป็นตัวช่วยเสริม เพ่ือให้สามารถตั้งบนได้ เป็นเทียนที่ใช้ปัก กับเชงิ เทียนทีม่ ีขนาดพอดกี บั ดา้ นทา้ ยของเทยี น สว่ นใหญ่มักใชต้ กแต่งบนโตะ๊ อาหาร - เทียนก้อนกลมหรือเทียนพิลาร์ (Pillar Candle)โดยส่วนมาก Pillar candle จะเป็นเทียน ทรงกระบอก ทสี่ งู ไม่เกนิ 8 นวิ้ และจะมีความกว้างอยทู่ ีป่ ระมาณ 3 น้วิ แตบ่ างคร้ังก็อาจมีรูปทรงอ่ืน ๆ โดยภาพรวมของเทียนสไตลน์ ้ี จะเปน็ เทียนขนาดกะทัดรัด ท่ีสามารถวางตั้งได้โดยไม่จาเป็นต้องใช้ เชิงเทียนหรือภาชนะอ่ืน ๆ มาเป็นตัวช่วยเสริม แต่ก็อาจจะมีเรื่องของน้าตาเทียนท่ีต้องคอยจัดการ Pillar candle จึงอาจเหมาะกับการวางประจาท่ีในมุมห้อง มากกว่าการเคล่ือนย้ายบ่อย ๆ และ สามารถจุดใช้งานได้นานหลายช่ัวโมง - เทยี นภาชนะ (Glass Candle, Container Candle, Jar candle)เป็นเทียนยอดนิยม ด้วยขนาดที่ สามารถใช้งานให้หมดได้ในเวลาที่ไม่นานจนเกินไป มีภาชนะรองรับน้าตาเทียนในตัว คล่ือนย้ายง่าย จุดได้สะดวกในทุกมุม สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย ซ่ึงส่วนใหญ่ เทียนชนิดน้ีก็จะอยู่ในกระปุกท่ี ทาจากแก้ว เซรามคิ หรอื อลูมเิ นยี ม ซึง่ เปน็ วสั ดุทท่ี นความรอ้ นได้ นิยมใช้จุดกนั ตามโอกาสทัว่ ไป - เทียนทีไลน์ (Tealight Candle)เป็นเทียนที่มีขนาดเล็กท่ีสุด มักจะอยู่ในถ้วยอลูมิเนียมกลม ๆ ที่มี ความสูงเพียงคร่ึงนิ้วเท่านั้น สามารถนาไปใช้ได้ค่อนข้างหลากหลาย นาไปจัดลงในโหลแก้วหรือ ตะเกียง วางบนพชื และสมุนไพรต่าง ๆ ใช้งานในชว่ งสนั้ ๆ ได้ดี เพราะหน้าเทยี นจะสามารถละลายได้ ทัว่ เสมอกัน โดยไมต่ อ้ งรอเป็นชั่วโมงเหมอื นเทียนรปู แบบอนื่ ท่มี ีขนาดใหญ่ - เทียนลอยนำ้ (Floating Candle)เทียนลอยนำ้ นน้ั จะมีขนำดและรูปรำ่ งแบน ๆ คล้ำยกับ เทียนทีไลท์ แตเ่ ทียนสำหรบั ลอยนำ้ จะมีดีไซนท์ ่ีหลำกหลำยและสีสนั สวยกว่ำ ไม่ไดเ้ ป็นเพียงกอ้ น กลม ๆ เท่ำนน้ั ส่วนใหญ่มกั จะเป็นรูปดอกไม้ ใบไม้ เพ่ือใหเ้ หมำะต่อกำรนำไปลอยนำ้ ซ่งึ ก็สำมำ ถนำไปใชไ้ ดต้ ง้ั แต่กำรจดั โหลแกว้ ในหอ้ ง

8 - เทยี นเจล (Gel Candle) เป็นเทยี นท่ีมีส่วนผสมท่ีต่างออกไปจากเทยี นหอมแบบปกติ ท่ีมักจะใช้ไขผึ้ง หรือ ถั่วเหลือง เป็นส่วนประกอบหลัก แต่เทียนเจลนั้นทามาจากน้ามันสังเคราะห์ หรือ สารที่ได้จาก ไฮโดรคาร์บอน จึงทาให้เน้ือเทียนประเภทน้ี มีลักษณะท่ีโปร่ง ใส เหมาะกับการนาของตกแต่ง หรือ ไอเทมต่าง ๆ ลงไปวางตกแต่งเพ่ือเพ่ิมความสวยงาม การใช้ภาชนะท่ีเป็นแก้วใสจึงเหมาะกับเทียน เจลมากท่สี ุด เพราะทนความรอ้ นได้ดแี ละสามารถอวดความสวยท่อี ย่ใู นเน้อื เทียนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี 5.โรคท่ียุงเปน็ พาหะ • โรคมำลำเรยี พาหะ : ยงุ กน้ ปล่อง พบได้มากในป่า พืน้ ท่รี กๆ อากาศร้อนชื้น แหลง่ น้าต่างๆ หรอื พ้ืนที่อื่นๆ ทั่วไป อาการ : มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ชีพจรเต้นเร็ว หนาวส่ัน คลื่นไส้อาเจียน หน้า ซีดปากซีดจากการท่ีเม็ดเลือดแดงถูกทาลาย เร่ิมเข้าสู่ภาวะโลหิตจาง ตัวเหลืองเหมือนดีซ่าน และ อาจมปี ัสสาวะสีเขม้ เหมือนสีน้าปลาการ ป้องกันการติดเชอ้ื 1. หลีกเลยี่ งการเดนิ ทางเขา้ ไปบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการถูกยุงก้นปล่องกัด เช่น ป่าทึบ หรือ แหล่ง ท่ีมกี ารระบาดของเชอื้ มาลาเรีย 2. ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ พยายามไม่ให้ยุงกัด เช่น ทายากันยุง สวมเส้ือผ้ามิดชิด ไม่ควรสวมเส้ือผ้าสีเข้ม เพราะยงุ ชอบแสงสลวั หากตอ้ งคา้ งแรม ควรกางมุ้ง เตน็ ทท์ ่กี นั ยงุ หรือห้องทม่ี มี ุ้งลวดกนั ยุง 3. ปัจจุบันไม่แนะนาให้รับประทานยาเพ่ือป้องกันมาลาเรียก่อนเดินทางไปยังแหล่ง ระบาดของโรค มาเลเรีย เนื่องจากประสิทธิผลของการรับประทานยาป้องกันต่ามาก ส่งผลให้เชื้อมีโอกาสดื้อยาสูง และอาจบดบังอาการจนทาใหต้ รวจวินจิ ฉยั โรคไดช้ ้า • โรคไข้เลอื ดออก พาหะ : ยุงลาย ท่ีออกหากินตอนกลางวัน (ปัจจุบันพบยุงลายตอนกลางคืน ช่วงโพล้เพล้อยู่บ้าง) อาการ : หลังถูกยุงลายกัด 5-8 วัน จะมีไข้สูงเฉียบพลัน ปวดเม่ือยตามร่างกาย เบ่ืออาหาร หรืออาจ อาเจียน มีผ่ืนแดงๆ ตามร่างกาย อาจเลือดออกง่าย ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา และเส่ียงต่ออาการแทรก ซ้อนอื่นๆ เช่น ชอ็ ก ชัก บวม แนน่ หน้าอก ปวดทอ้ ง หรือมเี ลอื ดออกในอวัยวะภายใน การป้องกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก ป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด โดยสวมใส่เสื้อผ้าท่ีปกปิดมิดชิด ใช้สารไล่ยุงชนิดต่างๆ ทาลายแหล่ง เพาะพันธ์ุยุงลายบริเวณบ้านและใกล้เคียง ด้วยการปิดฝาภาชนะท่ีมีน้าขังไม่ให้ยุงเข้าไปวางไข่ได้ เปล่ียนน้าในภาชนะท่ีปิดไม่ได้ ในรายที่อายุมากกว่า 9 ปี และน้อยกว่า 45 ปี ร่วมกับมีประวัติ เคย เป็นไขเ้ ลือดออกมาแลว้ อาจพิจารณาฉีดวัคซีนปอ้ งกันไขเ้ ลอื ดออกจากสายพนั ธ์ุอน่ื • โรคเท้าชา้ ง พาหะ : โรคเกิดจากพยาธติ วั กลม โดยมียงุ เป็นพาหะ

9 อาการ : มีไขส้ ูงเฉยี บพลนั หลอดน้าเหลอื ง และตอ่ มนา้ เหลืองอักเสบ โดยอาจพบไดบ้ รเิ วณอวัยวะตา่ งๆ เชน่ ขา ชอ่ งทอ้ งดา้ นหลงั ท่อนา้ เชอ้ื อสจุ ิ หรือเต้านม ผิวหนังบรเิ วณทอี่ ับเสบจะบวมแดง มีนา้ เหลืองคงั่ คลาเปน็ ก้อนขรุขระ แตใ่ นบางรายอาจไมแ่ สดงอาการบวมชดั เจน การป้องกนั และควบคุม - ป้องกนั และหลีกเลี่ยงไมใ่ ห้ยุงกัดโดย -นอนในมุ้ง หรือหอ้ งมงุ้ ลวด - ทายากนั ยุง - ควบคมุ และกาจัดยงุ พาหะโดย - พ่นสารเคมกี าจัดยุงตามฝาผนงั บา้ น - กาจดั ลูกนา้ ตามแหล่งต่างๆ - กาจัดวชั พืชและพชื นา้ ทเ่ี ป็นแหลง่ เกาะอาศยั ของลูกนา้ ในแหลง่ น้า - ประชาชนทีอ่ ยใู่ นแหล่งระบาดของโรคเท้าช้าง อาจกินยาปอ้ งกัน • โรคไข้สมองอกั เสบ พาหะ : ยุงราคาญ พบในนาขา้ ว เพราะเปน็ แหลง่ แพร่พันธ์ุ และมีหมเู ป็นรงั ของโรค โดยยุงราคาญไป กัดหมูท่ีเปน็ โรค และแพร่เชื้อตอ่ สู่คน และสัตว์อ่ืนๆ อาการ : หลังรับเชื้อ 5-15 วัน จะมีไข้สูง อาเจียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หลังจากน้ันจะเริ่มมีอาการ ผิดปกติทางสมอง เช่น คอแข็ง สติสัมปชัญญะลดลง ซึม หรือ เพ้อ คล่ัง ชัก หมดสติ หรืออาจมือส่ัน เป็นอัมพาต ซึ่งหลังจากอาการของโรคหายไป อาจหลงเหลือความผิดปกติของสมองอยู่บ้าง เช่น พูด ไมช่ ัด เกร็ง ชัก หรอื สตไิ ม่ค่อยปกติ การปอ้ งกันการตดิ เชอื้ 1. เด็กทกุ คนควรได้รับการฉีดวคั ซนี ปอ้ งกันโรคไขส้ มองอกั เสบ หมายเหตุ: สาหรบั ผใู้ หญ่ท่ีไม่เคยฉีดวคั ซนี ปอ้ งกันโรคไข้สมองอักเสบเจอมี ากอ่ น ควรฉดี อย่างนอ้ ย 2 เขม็ 2. หลกี เล่ยี งไมใ่ ห้ยุงกดั เช่น ทายากันยงุ กางมุง้ ติดม้งุ ลวด หรอื ใชอ้ ปุ กรณด์ กั จับยงุ 3. กาจัดแหล่งเพาะพันธย์ุ งุ และทาลายลูกนา้ ยงุ บริเวณท่อี ยูอ่ าศยั และบรเิ วณทมี่ ีปศสุ ัตว์ และใหส้ ตั วฉ์ ดี วัคซีนป้องกนั โรค • โรคไข้ปวดขอ้ ยงุ ลาย (ชคิ นุ กุนย่า) พาหะ : ยงุ ลาย อาการ : อาการคล้ายไขเ้ ลือดออกมาก แตไ่ มพ่ บการรัว่ ของพลาสมาออกนอกเส้นเลอื ด จึงไม่พบ ผู้ป่วยที่มอี าการช็อค การป้องกันโรคชคิ ุนกนุ ยา มารดาทีต่ งั้ ครรภค์ วรดูแลสขุ ภาพให้แข็งแรงและหลกี เลี่ยงพน้ื ทที่ ม่ี กี ารระบาดของโรค นอกจากน้ผี ปู้ กครองสามารถปอ้ งกันโรคชิคุนกุนยาใหห้ า่ งไกลจากเดก็ ได้ด้วยวิธีการดงั น้ี -เก็บบา้ นให้สะอาดปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ ีมุมอบั ทึบเปน็ ท่ีเกาะพักของยงุ -ระวงั ไม่ให้มีนา้ ทว่ มขงั เกบ็ เศษขยะไม่ให้เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธย์ุ ุง -ควรให้เดก็ เล็กนอนในมุ้งหรอื ห้องที่มีมงุ้ ลวดเพอ่ื ป้องกันยงุ -ให้เด็กสวมใส่เสือ้ ผ้าที่มิดชดิ เช่น เสือ้ แขนยาวและกางเกงขายาวเพื่อปอ้ งกนั ยงุ กัด -ใชย้ ากันยงุ แต่ควรระมัดระวงั ไมใ่ ช้กับเด็กเล็กจนเกินไปและใช้ใหถ้ ูกวิธี

10 บทท่ี3 วิธีการดาเนินการศึกษาค้นควา้ 1.ระเบียบวิธใี ชใ้ นการศึกษา ในการศึกษาใช้วิธสี ืบคน้ ขอ้ มลู จากหนงั สือ อนิ เทอรเ์ น็ต และการสอบถามจากครทู ี่ ปรึกษา และทาการทดลองตามสมมตุ ิฐานทตี่ ง้ั ไว้ และหาข้อสรุปผลการศกึ ษา 2.วสั ดแุ ละอุปกรณ์ -พาราฟิน (เทียนไข) -ใบตะไคร้ตากแหง้ -ไส้เทยี น -ทัพพี -หม้อ -แม่พมิ พ์ 3.วธิ ีการดาเนนิ การ 1.นาตะไคร้หอมมาทุบเล็กน้อยเพื่อให้กลน่ิ ตะไครห้ อมออก 2.นาพาราฟนิ หนั่ เปน็ ชนิ้ เลก็ ๆเพ่อื ให้ขน้ั ตอนการละลายพาราฟินเร็วขึน้

3.นาพาราฟนิ ที่ห่นั เป็นช้นิ เล็กๆไปละลาย 11 4.นาตะไครท้ ่ีทุบไปใส่ในพาราฟินที่ละลาย 5.แล้วคนประมาณ4-5นาทแี ล้วตักตะไคร้หอมออก 6.นาไส้เทยี นมากดลงไปแตไ่ ม่ใหถ้ งึ กน้ แม่พิมพ์ จากนัน้ เทเทียนไขเหลวลงไปจนเต็มแม่พมิ พ์ 7.ปลอ่ ยท้งิ ไวเ้ พ่ือให้เทียนไขแข็งตวั เป็นอันเสรจ็ สมบูรณ์

12 บทที่4 ผลการดาเนนิ งาน จำกกำรทดลองเทียนหอมไลย่ งุ จากตะไคร้หอม ไดผ้ ลกำรทดลองดงั นี้

13 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล อภปิ รายผลการทดลอง ตะไคร้หอมนนั้ ถอื ไดว้ ่าเปน็ พืชสมุนไพรชนิดหนง่ึ ที่หาได้งา่ ยตามธรรมชาติ หรือในทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน ซง่ึ สรรพคณุ ของตะไคร้หอมนน้ั ถอื วา่ ใช้ประโยชน์ไดจ้ ากทุกส่วนของตะไคร้ และหนง่ึ ใน สรรพคณุ เหล่านน้ั คอื กลน่ิ ของตะไคร้หอมเปน็ กลน่ิ ท่ไี มพ่ งึ ประสงค์ของยงุ ทาใหย้ ุงจะไมม่ าเข้าใกล้ ในบริเวณทีม่ กี ลิ่นตะไครห้ อม การทาโครงงานครัง้ นี้ทาใหร้ จู้ ักการนาพืชสมุนไพรทห่ี าได้ง่ายตาม ธรรมชาติ ทอ้ งถ่นิ มาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์โดยสรา้ งสรรค์ผลติ ภณั ฑท์ ่ีสามารถสร้างรายได้ และอกี ท้งั มขี ้ันตอนการทาทีไ่ มย่ ุ่งยากซบั ซอ้ นอกี ดว้ ย สรปุ ผลการทดลอง โดยการทดสอบจากผใู้ ช้ 10 คนพบว่าเทียนหอมสมนุ ไพรกลิน่ ตะไคร้หอมสามารถไลย่ ุงได้ จริงเพราะในตะไครม้ นี ้ามันหอมละเหย Essential Oil ทาใหส้ ามารถไลย่ งุ ได้ และมกี ล่ินที่ทาให้ เกิดอันตรายต่อร่างกายของผูใ้ ช้ ขอ้ เสนอแนะ 1.ในการทดลองครง้ั ต่อไปควรมีการทาเทียนสมนุ ไพรทใี่ ช้ สมุนไพรชนิดอืน่ ทีส่ ามารถใชไ้ ด้ เชน่ กระเทียม สะระแหน มะกรดู เป็นตน้ 2.การจัดตกแตง่ ควรมสี ่ิงตกแต่งมากกว่านี้ 3.การทาเทียนหอมมีความร้อนสูงควรมีอปุ กรณ์ป้องกันท่ีดี