วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง

 เอกลักษณ์หรือลักษณะประจำชาติ ในทางวิชาการ มีความหมาย 2 ประการ คือ ประการแรก หมายถึง ลักษณะที่เป็นอุดมคติ ซึ่งสังคมต้องการให้คนในสังคมนั้นยึดมั่น เป็นหลักในการดำเนินชีวิต เป็นลักษณะที่สังคมเห็นว่าเป็นสิ่งดีงามและให้การเทิดทูนยกย่อง อีกประการหนึ่ง หมายถึง ลักษณะนิสัยที่ คนทั่วไปในสังคมนั้นแสดงออกในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ในการทำงาน การพักผ่อนหย่อนใจ การติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น และในการดำเนินชีวิตทั่วไปในสังคม เป็นลักษณะนิสัยที่พบในคนส่วนใหญ่ของประเทศ และส่วนมากมักจะแสดงออกโดยไม่รู้ตัวเพราะเป็นเรื่องของความเคยชินที่ปฏิบัติกันมาอย่างนั้น
เอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยที่เด่น ๆ มีดังนี้
1. ความรักอิสรภาพหรือความเป็นไทย คนไทยมีลักษณะนิสัยไม่ต้องการอยู่ในอำนาจบังคับของผู้อื่น ไม่ชอบการควบคุมเข้มงวด ไม่ชอบการกดขี่ หรือให้ผู้อื่นเข้ามายุ่งเกี่ยวสั่งการในรายละเอียดในการทำงานและการดำเนินชีวิตส่วนตัว คนไทยเป็นคนที่หยิ่งและรักในศักดิ์ศรีของตนเอง การบังคับน้ำใจกันหรือ ฝ่าฝืนความรู้สึกของกันและกันถือว่าเป็นสิ่งไม่ควรทำ
2. การย้ำการเป็นตัวของตัวเองหรือปัจเจกบุคคลนิยม คือ การให้คุณค่าในความเป็นตัวของตัวเองความนิยมนี้ส่วนหนึ่งมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนา ซึ่งย้ำความสำคัญของตัวบุคคลเป็นพิเศษถือว่า บุคคลจะเป็นอย่างไร ย่อมแล้วแต่กรรมของบุคคลนั้นในอดีต การย้ำสอนให้พึ่งตนเอง ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน ส่วนการที่จะดีหรือชั่วนั้น อยู่ที่การกระทำของตนเอง มิได้อยู่ที่ชาติกำเนิด
3. ความรู้สึกมักน้อยสันโดษและพอใจในสิ่งที่มีอยู่ คนไทยไม่มีความดิ้นรน ทะเยอทะยาน ที่จะเอาอย่างคนอื่น ถือเสียว่าความสำเร็จของแต่ละเป็นเรื่องของบุญวาสนา ทุกคนอาจมีความสุขได้เท่าเทียมกันทั้งนั้นเพราะเป็นเรื่องภายในใจ

Home Uncategorized ค่านิยมหลักที่ 5 รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย (Preservation of Thai traditions and cultures)

วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง

วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง
การที่ประเทศชาติจะเจริญก้าวหน้านั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างแต่ปัจจัยที่สำคัญที่สุดคือคุณภาพของบุคคลในชาติ หรือทรัพยากรบุคคลเป็นสิ่งสำคัญ สิ่งที่แสดงถึงความเป็นชาติได้ดีที่สุดคือวิถึชีวิตหรือการประพฤติปฎิบัติตนของคนที่เราเรียกว่าวัฒนธรรม ซึ่งหล่อหลอมให้คนในชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง

ประเทศไทยมีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี แนวปฎิบัติที่เป็นเอกลักษณ์ งดงาม และได้รับการยอมรับจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก สำหรับความหมายของวัฒนธรรม หมายถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดี วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่หล่อหลอมขึ้น  ได้รับการยอมรับ มีการพัฒนา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และรักษาไว้ให้เจริญงอกงาม (พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช 2485 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2486)

วัฒนธรรมไทยที่สำคัญได้แก่

  1. ภาษาไทย เรามีภาษาและตัวอักษรเป็นของตนเองมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยใน พ.ศ.1826 และได้มีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาเปลี่ยนแปลงมาตามลำดับ จนกลายเป็นภาษาไทยในที่สุด ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้
  1. ศาสนา ชาวไทยส่วนใหญ่จะนับถือพระพุทธศาสนา ศาสนาพุทธจึงเป็นศาสนาประจำชาติ และถูกนำมาเป็นหลักในการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ มีพื้นฐานในพุทธศาสนา กระไรก็ตามสังคมไทยให้อิสรภาพแก่ทุกศาสนา ทำให้ทุกศาสนาสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
  2. การแต่งกาย การแต่งกายของคนไทยมีแบบฉบับ ตามสมัยและโอกาส โดยมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบันนี้ แม้ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่จะแต่งกายตามสมัยนิยม แต่เมื่อมีงานพิธีกรรมหรือพิธีสำคัญคนไทยมักจะแต่งการแบบไทยดั้งเดิมมีการรณรงค์ให้ใส่ผ้าไทย หรือชุดไทย หรือรณรงค์ให้ใส่ผ้าไทยในชีวิตประจำวัน ซึ่งนับได้ว่าเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งที่ชาติอื่นให้ความชื่นชม
  1. ศิลปกรรม ถือเป็นภูมิปัญญาไทยที่สำคัญ โดยเป็นผลงานที่สร้างขึ้นเพื่อความสวยงามก่อให้เกิดความสุขทางใจ ส่วนใหญ่จะเป็นงานที่สร้างสรรค์ขึ้นด้วยแรงบันดาลใจจากพุทธศาสนา และเป็นการแสดงความเคารพและจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ได้แก่ ผลงานที่ปรากฏตามวัดวาอารามต่างๆ เรือนไทยที่มีลักษณะเฉพาะพิเศษ ศิลปกรรมไทยที่สำคัญได้แก่ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ วรรณกรรมเป็นต้น (http://www.kullawat.net/civic/)

วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง
วัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่า การรักษาวัฒนธรรมไทยถือเป็นหน้าที่ของเราทุกคน ซึ่งแสดงออกโดยการอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทย

�ѧ����ʵ�� �Ѱ��ʵ�� ������ͧ ���ɰ��ʵ�� >>

�ѧ���Է��

<<< ��úѭ >>>

�Ѳ�������

�Ѳ�������ѡ�ͧ��

�Ѳ�������ѡ�ͧ�� ��� �Ѳ�������褹����ǹ�˭�������Ѻ�Ѻ��ͻ�Ժѵ��׺�ʹ�ѹ���������ѹ��ǹҹ ��觾���ػ��ѧ���仹��

1) �Է�ԾŢͧ�ط���ʹҷ���յ���Ѳ������� �Ѳ����� ��� ������¹��� ���·ʹ���Զժ��Ե�ô��ҧ�ѧ�� ��ЪҪ�����¹Ѻ��;ط���ʹ��繨ӹǹ�ҡ �֧���Ѻ�Ѳ������ҡ�ط���ʹ� �� ���ླա�÷Ӻح ���ҧ�Ѵ ���਴��� ������͹�ͧ�ط���ʹ� �Ѳ��������Ҩ������ 4 �Ң� ��� ��Ը��� ���� ������ѹ�������� ������ѭ�١��Ƿ� ��� ๵Ը��� ���� ������Է�Ե����������þ���ླ��ѹ�է�� ��� �ѵ�ظ��� ���ѡ������ͧ�� ���ѡ��áԹ������� �ѡ�Ҥ������Ҵ �ѡ����ҳ�ѵ�� ��� �˸��� ���� ����ҷ㹡������ѧ�� ���

2) �����ҡ�ѵ���� ����Ѱ�����٭�ͧ�����˹��ҹТͧ �����ҡ�ѵ�������ѧ���

- �ç�繻���آ�����
- �ç�繾ط������
- �ç��ç����㹰ҹ��ѹ�繷����þ�ѡ����
- �ç��ç���˹觡ͧ�Ѿ��
- ���㴨С�����ҿ�ͧ��ͧ��������Դ����

����ʴ������繶֧��÷�褹������Ѻ�Ѻ���ͧ������ҡ�ѵ�����˹�ͪ��Ե�Ե�

3) �ѡ���� ����������ѡ�������ҵ�������¾�͢ع������˧㹻� 1826 ���ա�û�Ѻ��ا���騹�֧�Ѩ�غѹ ����ʴ��֧�������͡�Ҫ����͡�ѡɳ�ͧ��㹡�������Ңͧ����ͧ

4) ������ �ҵ�������������ѡ���繢ͧ���ͧ�������Ҫ�ҹҹ �������觷������������ҧ��� �����ա�û�Ѻ��ا��䢺�ҧ ���������ͤ��� ������� ����÷����ա�û�Ѻ��ا��䢺�ҧ ���������ͤ���������� ����÷����ѡ�����������Ѳ�����

5) ���ླ��� ������ͧ�ʴ��֧�Զժ��Ե��ШԵ㨢ͧ���� ���ʹյ��лѨ�غѹ����դ����������ҧ�� ���ླ�����ǹ�˭����Ҩҡ�ط���ʹ������ ��Ը���ὧ�������

6) ���������ҷ�ͧ���� ���ѡɳ���������� ���Ҿ��͹���� ���ѡ ��Ѻ��ا�����ҡѺ�ѧ����� �� ��á�Һ����Ẻ��ҧ �

7) �Ե㨢ͧ���� ������Ѻ�Է�Ծ��Ҩҡ�ط���ʹ� ����餹����� �ͺ�����������ͤ������ �դ�����ѭ�١��Ƿ� ���Ϳѧ�Դ���ô� ����Ҩ���� �������觷��ǡ�Ҥ���ѡ�����

8) ��Ż������ �դ�����͹������§����������»���� �� �ү��Ż� ����� �ŧ ��ʹ���Ҿ�Եá��� �繵�

9) ʶһѵ¡����� �դ���ʧ�ҧ�����������͹仡��Ҫҵ���� �� ����ҷ�Ҫ�ѧ �Ѵ������� �ʶ� ���

10) ��ó����� ����ʴ��֧������ԭ�ҧ�Ե� ��������֡ ������ ��� �ʴ��͡���繵��˹ѧ��� ���������ҹ�Դ��������͹㨷��������㹷ҧ��� �է�� ������ó��չ�� �ѡὧ�����¤���͹����������

��ҹ��� >>>>>

<<< ��úѭ >>>

วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง
วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง
วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง
วัฒนธรรมประจําชาติ ตัวอย่าง

วัฒนธรรมประจําชาติ มีอะไรบ้าง *

๑. ค่านิยม ๒. มารยาทไทย ๒.๑ มารยาททางสังคม ๒.๒ แนวทางปฏิบัติด้านมารยาทและวัฒนธรรม.
ธงชาติไทย.
เพลงชาติไทย.
วันชาติไทย.
การเคารพธงชาติ การเชิญธง เก็บธง ๔.๑ การประดับธง ๔.๒ ธงสถาบัน ๔.๓ ธงชาติ ๔.๔ ธงศาสนา.
เอกลักษณ์ประจำชาติ.

วัฒนธรรมประจําชาติความหมายว่าอย่างไร

วัฒนธรรมประจำชาติ หมายถึง วัฒนธรรมที่รัฐกำหนดและมอบหมายให้คนไทยในชาติประพฤติปฏิบัติร่วมกัน เช่น ภาษาไทย ประกอบด้วยภาษาไทยกลาง ภาษาถิ่นต่างๆ (เหนือ ใต้ อีสาน ) ภาษาประจำชาติคือภาษาไทยกลางที่ใช้ในราชการ วัฒนธรรมประจำชาติ คือวัฒนธรรมร่วมของคนทุกหมู่เหล่า จึงเป็นผลงานการสร้างสรรค์และเผยแพร่วัฒนธรรมคือ ราชสำนักและวัด (วัด ...

วัฒนธรรมประจําชาติมีความสําคัญอย่างไร

วัฒนธรรม เป็นความมั่นคงของชาติดังกล่าวมาแล้ว เพราะวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดชนชาติ ชุมชนสังคม และเผ่าพันธุ์มนุษย์ บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และวิถึชีวิตของตนเอง บ่งบอกถึงรากเหง้าพื้นฐานของความเป็นชาติ สืบทอดจากบรรพบุรุษตั้งแต่อดีตกาล วัฒนธรรมเป็นศักดิ์ศรีของความเป็นชาติ มรดกทางวัฒนธรรม มีความสำคัญ มีคุณค่าที่ต้อง ...

ที่มาของวัฒนธรรมไทยมีอะไรบ้าง

วัฒนธรรมไทย ได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรม อินเดีย จีน และ ขอม ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธ และ ศาสนาฮินดู