สิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ป. 6

��ٺ�ҹ�͡�ͷ��� ���䫵�ͧ��ٵ������ ��˹�� �����ѧ��§ ���繪�ͧ�ҧ㹡��������� �š����¹ �����ٹ������� ������������ ���ѹ���µ���˵ء�ó���س��� ��黯Ժѵԧҹ㹷ء��鹷��ͧ������� ���ͤ�����ԭ�͡���㹻ѭ�� �����ԭ����˹����ԪҪվ

��纹���͡��Դ����� 5 ���Ҥ� 2548

Email : [email protected]
Tel : 081-3431047

สิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ป. 6
สิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ป. 6

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม/แหล่งที่อยู่ต่าง ๆ ที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ แต่ละแหล่งจะมีโครงสร้าง ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่นั้น เมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป ไม่เหมาะสมกับ
การดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตต้องปรับการดำรงชีวิตหรืออพยพไปอาศัยอยู่ในแหล่งที่อยู่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
กับการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการปรับตัวเพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายนอก 

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้


วัตถุประสงค์
1. สรุปโครงสร้างที่เหมาะสมของสิ่งมีชีวิตกับการดำรงชีวิตในแหล่งที่อยู่
2. อธิบายการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เมื่อสภาพแวดล้อมในแหล่งที่อยู่เปลี่ยนแปลง   

การวัดผลและประเมินผล

- สังเกตการตอบคำถามในชั้นเรียน
- การตอบคำถามในแบบฝึกหัด
- สังเกตทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการทำกิจกรรม - สังเกตด้านคุณธรรมขณะทำกิจกรรม 

หนังสอื เรยี นe-book รายวชิ าพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6

สิ่งมชี วี ติ กบั
สง่ิ แวดล้อม

จัดทาโดย

นางสาวผกาวรรณ ขนั วิเศษ
รหสั นกั ศึกษา 60031050121

สาขาวิทยาศาสตรท์ ั่วไป
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์

สารบญั

เรื่อง หนา้

ระบบนิเวศ 1
กลุม่ สิง่ มีชีวติ ในระบบนิเวศ 6
ห่วงโซอ่ าหาร 9
สายใยอาหาร 11
รปู แบบความสัมพันธ์ของสง่ิ มีชวี ิตทอี่ ยูร่ ่วมกนั 14

1

ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง หน่วยพนื้ ทีห่ นึ่งประกอบดว้ ยสังคมของ
สิง่ มชี ีวิตกบั ส่ิงแวดล้อมทาหน้าทีร่ ่วมกนั ระบบนเิ วศเปน็ ระบบทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความสัมพนั ธ์อยา่ งใกล้ชิดของสงิ่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม โดยการลาดับขั้นของการกนิ
แบบตา่ ง ๆ ตลอดจนการหมนุ เวียนของสารแรธ่ าตุและการถ่ายทอดพลังงาน จนทา
ใหเ้ กดิ องคป์ ระกอบของสิ่งมีชวี ติ เปน็ ระบบทม่ี ลี ักษณะตา่ ง ๆ กัน ระบบนิเวศเป็น
กลไกควบคมุ สังคมของสง่ิ มีชวี ิตตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ มาจากความสมั พนั ธต์ อ่ กนั ทง้ั สว่ นท่ีเปน็
ส่ิงมชี ีวิตและส่งิ ไม่มีชีวติ ดงั นัน้ ระบบนเิ วศประกอบไปด้วย

1. หน่วยพ้ืนท่ี

2. องค์ประกอบท่ีมชี วี ติ (Biotic component)

3. องคป์ ระกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic component)

4. ความสมั พนั ธต์ อ่ กนั ระหว่างสิง่ มีชวี ติ กบั สง่ิ แวดลอ้ ม

2

ระบบนเิ วศ

ประเภทของระบบนเิ วศ

ระบบนิเวศสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้

1. ระบบนเิ วศบนบก (Terrestrial Ecosystems) เปน็ ระบบนเิ วศที่ปรากฏอยู่บนพ้นื ดินซ่ึง
แตกต่างกนั ไปโดยใชล้ กั ษณะเดน่ ของพชื เป็นหลกั แบ่ง ซึง่ ขนึ้ กบั ปจั จัย
สาคัญ 2 ประการ คอื อณุ หภูมิและปริมาณนา้ ฝน ทาใหพ้ ชื พรรณต่าง ๆ แตกต่าง
กนั ระบบนเิ วศบนบกนัน้ พอแบง่ ออกไดด้ งั น้ี

• 1.1 ระบบนเิ วศป่าไม้ (Forest Ecosystem) เปน็ ระบบ
นิเวศทพี่ ้ืนทส่ี ่วนใหญ่ปกคลมุ ไปดว้ ยปา่ ไม้ สามารถ
แบ่งยอ่ ยออกไปได้ดงั น้ี

• 1) ระบบนเิ วศป่าไม้เขตร้อน ไดแ้ ก่ ระบบนเิ วศป่าเบญจ
พรรณ ปา่ เต็งรัง ป่าดบิ ชื้น ปา่ ดบิ แลง้ ป่าดบิ เขา เป็นตน้
2) ระบบนิเวศป่าไม้เขตอบอุ่น ไดแ้ ก่ ระบบนเิ วศป่าผลัด
ใบเขตอบอนุ่ ป่าเมดิเตอร์เรเนียน
3) ระบบนเิ วศป่าไม้เขตหนาว ไดแ้ ก่ระบบนิเวศป่าสน
4) ระบบนิเวศป่าชายฝ่ัง (ป่าชายเลน ป่าชายหาด ปา่
โขดหนิ )

3

ระบบนิเวศ

ประเภทของระบบนิเวศ

1.2 ระบบนิเวศน์ทงุ่ หญ้า (Grassland
Ecosystem) เปน็ ระบบนิเวศทม่ี ีพชื
ตระกูลหญ้าเป็นพชื เดน่ แบ่งไดด้ ังน้ี
1) ระบบนิเวศน์ทงุ่ หญ้าเขตร้อน ไดแ้ ก่
ระบบนิเวศทุ่งหญ้าซาวนั นา โดยมที ่งุ
หญ้าทกี่ วา้ งใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกทีร่ ูจกั กันใน
นามทงุ่ หญา้ ซาฟารี
2) ระบบนิเวศนท์ งุ่ หญ้าเขตอบอุ่น ไดแ้ ก่
ระบบนิเวศทงุ่ หญา้ แพรร่ี, ทุง่ หญา้ สเตปป์
3) ระบบนิเวศน์ทุ่งหญา้ เขตหนาว ทุง่
หญ้าทุนดรา

1.3 ระบบนเิ วศน์ทะเลทราย (Desert
Ecosystem) เปน็ พื้นท่ที ่มี ปี ริมาณฝน
ตกน้อยกวา่ ปรมิ าณการระเหยนา้ แต่
บางพ้นื ทีอ่ าจมีฝนตกบ้างเล็กน้อยก็จะ
มหี ญ้าเขตแห้งแลง้ งอกงามได้ ได้แก่
1) ระบบนเิ วศนท์ ะเลทรายเขต
รอ้ น ทะเลทรายเขตอบอุ่น
2) ระบบนิเวศนท์ ุ่งหญา้ กง่ึ ทะเลทราย
เขตร้อน ทุ่งหญ้าก่ึงทะเลทรายเขตรอ้ น

4

ระบบนิเวศ

ประเภทของระบบนิเวศ

2. ระบบนเิ วศทางน้า (Aquatic Ecosystems) เป็นระบบนเิ วศ
ในแหลง่ นา้ ต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ โครงสรา้ งหลัก
คือ นา้ นั่นเอง แบ่งออกได้ดงั น้ี

2.1 ระบบนิเวศนา้ จืด (Fresh water Ecosystem) เป็นระบบท่นี ้าเปน็ น้าจืดอาจแบง่ ย่อยเปน็
2.1.1 ระบบนเิ วศน้าน่ิง เชน่ หนอง บึง ทะเลสาบนา้ จืด เปน็ ต้น
2.1.2 ระบบนเิ วศนา้ ไหล เช่น ลาธาร หว้ ย แมน่ า้ เป็นตน้

2.2 ระบบนิเวศน้ากรอ่ ย (Estuarine Ecosystem) เป็นระบบนิเวศที่เกิดขึ้นตรงรอยต่อ
ระหวา่ งน้าจดื กับน้าเค็ม มกั เป็นบริเวณทเี่ ป็นปากแม่นา้ ตา่ ง ๆ จะมีตะกอนมากจงึ มปี ่าไม้
กลมุ่ ป่าชายเลนขนึ้ จงึ เรียกวา่
ระบบนเิ วศปา่ ชายเลน แตบ่ างพืน้ ทอ่ี าจเปน็ แอ่งนา้ ขนาดใหญ่ เช่น ทะเลสงขลาตอนกลาง
กจ็ ะมีลักษณะเปน็ ทะเลสาบน้ากร่อยมพี ชื นา้ สลับกับปา่ โกงกาง

5

ระบบนเิ วศ

ประเภทของระบบนิเวศ

2.3 ระบบนเิ วศน้าเคม็ (Marine Ecosystem) เปน็ ระบบนเิ วศทม่ี ีนา้ เป็นนา้ เค็ม โดยปกติ
จะมคี วามเคม็ ประมาณพนั ละ 35 มีทง้ั ทีเ่ ป็นทะเลปดิ และทะเลเปิด เนอ่ื งจากเป็นห้วงนา้

ขนาดใหญ่ จึงนยิ มแบ่งออกเปน็ ระบบนิเวศย่อยตามความลกึ ของนา้ อกี ดว้ ย คอื

2.3.1 ระบบนิเวศชายฝง่ั (Coastal Ecosystem) เป็นบรเิ วณที่ตกอยู่ภายใต้
อทิ ธิพลของน้าขึ้นน้าลง สงิ่ มชี วี ิตตอ้ งปรับตวั ให้เข้ากบั สภาพการเปลยี่ นแปลง
ของระดบั น้าดงั กล่าว มรี ะบบยอ่ ย 2 ประเภท คือ ระบบนิเวศโขดหินชายฝงั่
และ ระบบนิเวศชายหาด

2.3.2 ระบบนิเวศนา้ ตน้ื เปน็ ระบบนเิ วศท่ีนับจากระบบนเิ วศ
ชายฝั่งลงไปจนถึงน้าลกึ 200 เมตร

2.3.3 ระบบนเิ วศทะเลลกึ เป็นระบบนเิ วศท่ีนับต่อเนอ่ื งจาก
ความลึก 200 เมตรลงไปถงึ ทอ้ งทะเล ส่วนนี้มกั เปน็ บริเวณท่ีแสงแดดสอ่ ง
ลงไปไม่ถงึ ดังน้ันจึงขาดแคลนผ้ผู ลติ ของระบบ สัตว์น้าตา่ ง ๆ จึงมจี านวน
นอ้ ยและใช้ชวี ติ โดยรอซากสิง่ ชวี ติ อน่ื ทต่ี ายจากดา้ นบนแล้ว

6

กล่มุ สง่ิ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ

กลุม่ สิ่งมีชีวิต หมายถงึ การอยรู่ ่วมกนั ในบรเิ วณแหล่งที่อยเู่ ดยี วกนั ของ
สง่ิ มีชวี ติ ต้งั แต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไป ซ่งึ ส่งิ มีชวี ิตนั้นหมายรวมถึง สัตว์, พชื , เห็ดรา ไปจนถึง
จลุ นิ ทรยี ์ต่าง ๆ ต่างจากสิง่ ไมม่ ชี วี ิต เชน่ ดิน, หิน, นา้ , อากาศ หรือสภาพแวดล้อม
ซ่งึ เม่ือรวมทั้งสองสว่ นเข้าดว้ ยกัน เราจะเรยี กว่า ระบบนเิ วศ (Ecosystem)

สงิ่ มชี วี ิตตา่ ง ๆ ท่ีอาศยั ในแหลง่ ทอี่ ย่หู น่งึ ๆ จะมีความสมั พันธ์
กันในรูปแบบต่าง ๆ ผา่ นกจิ กรรมเพ่ือการดารงชีวติ ของสง่ิ มีชวี ติ

น้ัน ๆ โดยเฉพาะการกนิ กนั เป็นอาหาร จนเกดิ เป็นวงจรทมี่ ี
ลักษณะเฉพาะของแตล่ ะแหลง่ ท่ีอยู่ ตัวอยา่ งเชน่

กลุ่มส่ิงมชี ีวติ ในขอนไมผ้ ุ ประกอบด้วย เห็ด, รา, ไลเคน, หนอน, แมลง
ต่างๆ รวมถึงสตั ว์ขนาดเลก็ เชน่ กงิ้ ก่า, จิง้ เหลน, หนู เป็นตน้

กล่มุ สิง่ มีชีวิตในบ่อนา้ ประกอบดว้ ย พชื นา้ , สาหรา่ ย, ลูกอ๊อด, กบ, เตา่ , ปลา, ปู
, กงุ้ , หอย, เปด็ และแมลงตา่ งๆ เป็นต้น

กลุม่ ส่ิงมีชีวิตในนาขา้ ว ไดแ้ ก่ ต้นขา้ ว, เพลย้ี , ตั๊กแตน, นกกระจบิ , กบ, ปู, หนู, ปลา, งู
และเหยยี่ ว เปน็ ต้น

7

กลมุ่ สิ่งมีชีวิตในระบบนเิ วศ

ในระบบนิเวศมสี ิ่งชีวติ หลายระดบั ซึ่งอาศัยอยรู่ วมกนั ในแหลง่ ทีอ่ ยู่อาศยั แหง่
ใดแหง่ หนง่ึ องค์ประกอบของระบบนเิ วศประกอบไปด้วย 2 ระดับ คอื ส่ิงมีชวี ิตและ
ไมม่ ชี วี ติ ซึง่ สิ่งไมม่ ีชวี ิตได้แก่ น้า แสงแดด อณุ หภูมิ ก๊าซตา่ ง ๆ ท่อี ยูใ่ นชัน้ บรรยากาศ
สว่ นสิ่งท่มี ชี วี ิตจะแบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ คือ

1. ผูผ้ ลติ (Producer)
ผผู้ ลติ คอื สง่ิ มีชีวติ ท่มี ีการสังเคราะหอ์ าหารขนึ้ มาเองได้เพราะมคี ลอโรฟลิ ล์

ได้แก่ พืชต่าง ๆ เช่น สาหรา่ ยสีเขียวแกมน้าเงนิ ตน้ หญา้ ต้นถั่ว ต้นสม้ พชื เหลา่ นี้
สามารถสร้างอาหารได้เองโดยอาศยั แสงอาทติ ย์ ซง่ึ จะผลติ น้าตาลออกมากักเกบ็ ไวใ้ น
ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช สาหรับเขตปา่ ฝนจะมรี ะบบนิเวศที่ซบั ซอ้ นมากเน่ืองจากมผี ู้ผลิต
หลากหลายชนิด พืน้ ที่เขตปา่ ฝนทั่วโลกจงึ มกี ารผลิตแก๊สออกซเิ จนถงึ 40 เปอรเ์ ซ็นต์

2. ผบู้ รโิ ภค (Consumer)
ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตท่ีไม่สามารถสรา้ งอาหารเองได้ สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม คือ

2.1 ส่ิงมีชีวิตท่กี ินพชื เป็นอาหาร (Herbivore) เราเรียกสิง่ มีชีวิตน้ีว่า ผบู้ รโิ ภคอันดบั 1 เปน็
สิง่ มชี วี ติ ท่กี ินผผู้ ลิต ส่ิงมชี ีวติ เหลา่ นีม้ ักจะเป็นเหยอ่ื เพราะถูกกินโดยผู้บริโภคอนั ดบั อน่ื ๆ เชน่
หนู นก มา้ ช้าง กวาง ปลา แมว้ ่าสตั ว์กินพืชจะเป็นผู้บรโิ ภคอันดับแรก แตส่ ัตว์เหลา่ นก้ี ็ยังได้รบั
พลงั งานจากแสงอาทิตย์ โดยได้จากพชื ทสี่ ัตวพ์ วกนก้ี นิ ไป ซ่ึงได้พลงั งานเพยี งแค่ 10 เปอร์เซ็นต์
ของพลงั งานทัง้ หมด ตามกฎ 10 เปอร์เซน็ ต์ ซงึ่ เป็นกฎการถา่ ยทอดพลังงานในสิง่ มีชีวิต

8

กล่มุ ส่งิ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ

2.2 สิ่งมชี ีวติ ทก่ี ินสตั วเ์ ปน็ อาหาร (Carnivore) สตั วเ์ หลา่ นี้เปน็ ผลู้ า่ เช่น สงิ โต
เสือ งู ไฮยีน่า หมาป่า ฉลาม เต่าทะเล

2.3 ส่ิงมีชีวติ ท่ีกินทง้ั พชื และสัตว์เปน็ อาหาร (Omnivore) เช่น มนุษย์

3. ผู้ย่อยสลาย (Decomposer)
เป็นส่งิ มีชวี ติ ท่ีมีหนา้ ท่ยี ่อยสลายซากพืชซากสตั วต์ ่าง ๆ เชน่ รา (Fungi) แบคทีเรยี (Bacteria)

9

หว่ งโซอ่ าหาร

ห่วงโซอ่ าหาร (Food chain) หมายถงึ กระบวนการถา่ ยทอด
พลงั งานในรปู ของอาหารเป็นลาดับขน้ั จากสงิ่ มีชีวิตหนึ่งไปยงั
ส่ิงมีชีวติ อกี หน่งึ โดยการกนิ กนั เปน็ ทอดๆ

ชนิดของหว่ งโซ่อาหาร

1. Decomposition food chain เปน็ ห่วงโซอ่ าหารท่เี ร่มต้นจากการยอ่ ยสลายซากอนิ ทรยี ์โดย
พวกจุลินทรยี ์ ไดแ้ ก่ เหด็ รา แบคทีเรีย และ Detritivorous animals เปน็ ระบบนเิ วศทมี่ ี
สายใยอาหารของผยู้ ่อยสลายมากกว่า เช่น

ซากพืชซากสัตว์ → ไส้เดอื นดิน → นก → งู

2. Parasitism food chain เป็นห่วงโซอ่ าหารทเี่ ริ่มตน้ จากภาวะปรสิต ตวั อย่างเชน่
ไก่ → ไรไก่ → โปรโตซัว → แบคทเี รีย

3. Predation food chain เปน็ ห่วงโซ่อาหารที่เปน็ การกนิ กันของสัตว์ผูล้ ่า (สตั ว์กนิ พชื สตั ว์
กินเนอ้ื )อาจเปน็ พวกขดู กิน (Grazing food chain) ซ่งึ หว่ งโซ่เรม่ิ ตน้ ที่สตั ว์พวกขูดกนิ อาหาร
เช่น หอยทากและสัตว์กนิ พชื อน่ื ๆ เชน่ สัตวเ์ คยี้ วเออื้ ง

4. Mix food chain เปน็ หว่ งโซ่อาหารแบบผสม โดยมกี ารกินกัน และมปี รสิต เชน่
สาหรา่ ยสเี ขียว → หอยขม → พยาธิใบไม้ → นก

10

ห่วงโซอ่ าหาร

หว่ งโซอ่ าหารแบง่ เปน็ 4 แบบ

1. ห่วงโซอ่ าหารแบบผ้ลู า่ (Predator chain or Grazing food chain) เรมิ่ จากผูผ้ ลิตคือพชื
ตามด้วยผบู้ รโิ ภคอนั ดับต่าง ๆ การถา่ ยทอดพลังงานจึงประกอบดว้ ย ผู้ลา่ (Predator)
และเหย่ือ (Prey)

2. หว่ งโซอ่ าหารแบบปรสิต (Parasitic chain) เร่ิมจากผู้ถูกอาศยั (Host) ถา่ ยทอด
พลังงานไปยังปรสิต (Parasite) และตอ่ ไปยังปรสิตอนั ดับสงู กว่า (Hyperparasite) โดย
ภายในหว่ งโซ่นีจ้ ะใชก้ ารเกาะกนิ ซง่ึ กนั และกนั

3. หว่ งโซ่อาหารแบบเศษอนิ ทรยี ์ (Detritus chain) เรม่ิ จากซากพืชหรือซากสตั ว์
(Detritus) หรอื ส่ิงทีไ่ ม่มชี วี ิตถูกผบู้ ริโภคซากพืชซากสัตว์กดั กิน และผู้บรโิ ภคซากอาจถกู
กนิ ตอ่ โดยผู้บรโิ ภคสัตว์ อกี ทอด

3. ห่วงโซ่อาหารแบบเศษอินทรยี ์ (Detritus chain) เร่มิ จากซากพืชหรือซากสตั ว์
(Detritus) หรือสงิ่ ทไ่ี มม่ ีชวี ติ ถูกผู้บรโิ ภคซากพชื ซากสัตว์กัดกนิ และผบู้ รโิ ภคซากอาจถูก
กนิ ตอ่ โดยผบู้ ริโภคสตั ว์ อีกทอด

11

สายใยอาหาร

สายใยอาหาร (Food Web) ก็คอื โซ่อาหารท่ซี บั ซ้อนโยงใยเหมอื นใยแมงมุม
เพราะในธรรมชาติ ผ้ผู ลิตอย่างพชื ไม่ไดถ้ กู บรโิ ภคโดยสัตว์เพยี งชนดิ เดียว สัตว์กนิ เน้ือก็
ไม่ได้ลา่ เหยอื่ เพยี งชนิดเดียวเชน่ กัน โซ่ทโี่ ยงออกจากสงิ่ มีชีวิตชนิดหนึง่ จงึ มีได้หลายเสน้
ขนึ้ อย่กู ับความสมบรู ณแ์ ละความสมดลุ ของระบบนิเวศหนึง่ ๆ

การถ่ายทอดพลังงานในโซอ่ าหาร

การถ่ายทอดพลังงานในโซอ่ าหารอาจแสดงในในลกั ษณะของสามเหล่ยี มพรี ามิดของสิ่งมีชีวิต
(ecological pyramid) แบง่ ได้ 3 ประเภทตามหน่วยท่ใี ชว้ ดั ปรมิ าณของลาดับขั้นในการกิน

1. พีรามดิ จานวนของสง่ิ มชี ีวิต (pyramid of number) แสดงจานวนส่งิ มีชวี ิตเปน็
หนว่ ยตวั ต่อพน้ื ท่ี โดยทั่วไปพีระมดิ จะมีฐานกว้าง ซึ่งหมายถงึ มีจานวนผู้ผลติ มากทสี่ ดุ
และจานวน ผบู้ รโิ ภคลาดับตา่ ง ๆ ลดลงมา

12

สายใยอาหาร

การถ่ายทอดพลงั งานในโซอ่ าหาร

2. พีรามดิ มวลของสิ่งมีชีวิต (pyramid of mass) โดยพิรามดิ นแ้ี สดงปรมิ าณของส่ิงมีชีวติ
ในแต่ละลาดบั ขน้ั ของการกนิ โดยใชม้ วลรวมของนา้ หนกั แห้ง (dry weight) ของสิง่ มีชวี ติ
ตอ่ พื้นทแี่ ทนการนับจานวนพีรามดิ แบบนีม้ ีความแมน่ ยามากกว่าแบบท่ี 1 แตใ่ นความเปน็
จรงิ จานวนหรอื มวล ของส่งิ มชี ีวิต มกี ารเปลย่ี นแปลงตามชว่ งเวลา

3. พีรามิดพลังงาน (pyramid of energy) เป็นปิรามดิ แสดงปรมิ าณพลังงานของแตล่ ะ
ลาดับชนั้ ของการกนิ ซึ่งจะมีคา่ ลดลงตามลาดับขนั้ ของการโภค

13

สายใยอาหาร

การถ่ายทอดพลงั งานในโซ่อาหาร

1. พรี ามิดจานวนของสง่ิ มชี ีวิต (pyramid of number) แสดงจานวนสิ่งมชี วี ิตเป็น
หนว่ ยตัวตอ่ พื้นท่ี โดยทั่วไปพรี ะมิดจะมีฐานกวา้ ง ซึง่ หมายถึง มจี านวนผู้ผลิตมากท่สี ดุ
และจานวน ผู้บรโิ ภคลาดบั ตา่ ง ๆ ลดลงมา

2. พีรามดิ มวลของสิง่ มชี วี ติ (pyramid of mass) โดยพริ ามดิ น้ีแสดงปริมาณของสง่ิ มีชีวติ
ในแต่ละลาดบั ขั้นของการกินโดยใชม้ วลรวมของน้าหนกั แหง้ (dry weight) ของส่ิงมชี ีวติ
ต่อพื้นทแ่ี ทนการนบั จานวนพรี ามดิ แบบนมี้ คี วามแมน่ ยามากกว่าแบบที่ 1 แต่ในความเปน็
จริงจานวนหรือมวล ของสิง่ มีชวี ติ มีการเปลี่ยนแปลงตามชว่ งเวลา

14

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี วี ติ กับสง่ิ มีชวี ติ

1. ภาวะการล่าเหย่อื (predation) + , -
เป็นการอยู่รว่ มกนั ของสิ่งมีชีวติ 2 ชนดิ ฝ่ายหน่ึงเป็นผ้ลู ่า (predator) มีความแข็งแรง

ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งถูกผลู้ า่ กินเป็นอาหารเรยี กว่า “เหย่ือ(prey)” มีความสัมพนั ธ์แบบ +,- เชน่
แมวจับหนู นกกินหนอน เหยยี่ วลา่ ไกห่ รอื กระตา่ ยเป็นอาหาร สงิ โตลา่ ละมั่งเป็นอาหาร

2.ภาวะปรสิต (parasitism) + , -
เป็นการอยู่รว่ มกันของสิง่ มีชีวติ 2 ชนดิ โดยสง่ิ มชี ีวติ ชนิดหนง่ึ ไปอาศยั อยกู่ ับส่ิงมีชีวติ

อีกชนิดหนง่ึ โดยผอู้ าศัย(parasite) ไดป้ ระโยชน์ และผถู้ กู อาศัย (host) เสียประโยชน์ มี
ความสัมพนั ธแ์ บบ +, - เชน่ เหบ็ กับสุนขั ตน้ กาฝากบนตน้ มะม่วงหรือตน้ ไม้อนื่ ๆ

15

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ มชี วี ิตกบั ส่งิ มีชีวติ

3.ภาวะพ่ึงพากนั (mutualism) + , +
เป็นการอยรู่ ่วมกันของสิ่งมชี ีวิต 2 ชนิด โดยได้ประโยชนท์ ง้ั สองฝ่ายและเม่ือแยก

ออกจากกนั จะไม่สามารถดารงชีวิตอย่ไู ด้ มีความสัมพันธ์แบบ +, + เช่น แบคทีเรยี ไร
โซเบียมท่อี าศยั อยใู่ นปมรากพืชตระกลู ถ่วั แบคทีเรียไดร้ ับพลงั งานจากการสลายของ
สารอาหารท่อี ยใู่ นรากพชื ส่วนแบคทเี รยี ไรโซเบียมสามารถตรึงแกส๊ ไนโตรเจนในอากาศ
แลว้ เปล่ยี นเป็นสารประกอบไนเตรต ซ่งึ เปน็ ป๋ยุ ของพืชตระกลู ถั่วได้ รากับสาหรา่ ยสี
เขยี วอยรู่ วมกนั เรยี กว่า “ไลเคน” โดยสาหร่ายสเี ขียวสร้างอาหารไดเ้ อง แตต่ อ้ งอาศัย
ความช้ืนจากรา ส่วนราไดร้ ับอาหารจากสาหรา่ ยสีเขยี ว

4.ภาวะองิ อาศยั (commenselism) + , 0
เปน็ การอยู่รว่ มกันของสิ่งมีชวี ิต 2 ชนิด ในลักษณะที่ฝ่ายหนึ่งไดป้ ระโยชน์ ส่วนอกี

ฝ่ายไมไ่ ด้ประโยชนแ์ ละไม่เสียประโยชน์ มีความสมั พันธ์แบบ + , 0 เชน่ เฟนิ เกาะบนต้นไม้
ใหญ่ กล้วยไมเ้ กาะบนตน้ ไม้ใหญ่

16

ความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวติ กบั สง่ิ มชี วี ติ

5.ภาวะได้ประโยชน์ซงึ่ กนั และกนั (protocooperation) + , +
เป็นการอยูร่ ่วมกันของสิ่งมีชวี ิต 2 ชนิด ซงึ่ ต่างได้ประโยชนท์ ั้งสองฝ่าย แต่สามารถ

แยกออกจากกนั ได้โดยดาเนนิ ชีวิตตามปกติ มคี วามสัมพนั ธแ์ บบ +, + เชน่ ดอกไม้กบั แมลง
ควายกับนกเอ้ยี ง มดดากับเพลย้ี

6.ภาวะแขง่ ขัน(competition)
เปน็ ความสัมพันธ์ของสง่ิ มีชวี ติ ที่ท้งั สองฝ่ายต้องการปจั จัยในการดารงชีวิตอย่างใด

อย่างหน่ึงร่วมกนั แตป่ ัจจัยนัน้ มนี อ้ ยจึงตอ้ งแข่งขนั กนั เชน่ การแยง่ อาหารของจระเข้ การ
แขง่ ขันด้านความสงู ของต้นไม้เพ่ือรับแสงจากดวงอาทติ ย์

17

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวิตกับสงิ่ มีชีวิต

7.ภาวะเปน็ กลาง(neutralism)
เป็นการดารงชีวิตของส่ิงมชี ีวิตท่ีทัง้ สองฝ่ายไมม่ ผี ลประโยชนซ์ ่ึงกันและกัน เช่นนกกบั

กระต่ายในทงุ่ หญา้

8.ภาวะตอ่ ต้าน (antibiosis)
เปน็ การดารงชีวติ ของสิ่งมีชีวติ 2 ชนดิ ท่ีฝ่ายหนึ่งมอี ิทธิพลต่ออกี ฝา่ ยหนง่ึ เช่น ราเพ

นิซลิ เลยี มจะหลัง่ สารยับย้ังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย