ใบงานการเปลี่ยนแปลงของภาษา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของภาษาที่มา จากหนังสือปริทัศน์วรรณลักษณวิจารณ์ เล่ม1รวบรวมโดย ครูบลรัตน์ พิศดำขำ

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด

  1. 1.ภาษาจำพวกใดไม่มีการแปลี่ยนแปลง

    1.   ?    ภาษาตาย
    2.   ?    ภาษาที่ไม่มีตัวอักษร
    3.   ?    ภาษาที่เกี่ยวข้องกับภาษาอื่นน้อย
    4.   ?    ภาษาที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับภาษาอื่น
    1.   ?    ภาษาทมิฬ
    2.   ?    ภาษาฮินดี
    3.   ?    ภาษาบาลีและสันสกฤต
    4.   ?    ภาษาของชาวเงาะเผ่าซาไก
  2. 3.ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุแห่งการเปลี่ยนของภาษา

    1.   ?    อิทธิพลของภาษาอื่น
    2.   ?    การพูดจาในชีวิตประจำวัน
    3.   ?    ระเบียบไวยากรณ์ที่เคร่งครัด
    4.   ?    การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
  3. 4.ข้อใดไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลงของภาษาที่เกิดจากการพูดจาในชีวิดประจำวัน

    1.   ?    ลงชื่อ-เซ็นชื่อ
    2.   ?    อย่างไร-ยังไง
    3.   ?    สิบเอ็ด-สิบเบ็ด
    4.   ?    เรือหางยาว-เรือหาง
  4. 5.การที่นักร้อง นักแสดงไทยหลายคนที่เกิดและเติมโตในต่างประเทศและพูดภาษาไทยได้ไม่ชัดเจนนั้นแสดงให้เห็นถึง
    ลักษญะและธรรมชาติของภาษาตามข้อใด (สามัญ 1 พ.ศ. 2541)

    1.   ?    ภาษาเป็นวัฒนธรรมทางังคม
    2.   ?    ภาษาย่อมแตกต่างกันตามเชื้อชาติ
    3.   ?    ภาษาเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพแวดล้อม
    4.   ?    ภาษามักจะสะท้อนสภาพของสังคมนั้นๆ
  5. 6.คำไทยในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเปลี่ยนมาเป็นคำในปัจจุบันข้อใดไม่ถูกต้อง

    1.   ?    สูด-สวด
    2.   ?    โสง-สองผ
    3.   ?    ช่อย-โชย
    4.   ?    เงือน-เงิน
  6. 7.ประโยคช้อใดใช้ภาาาได้ถูกต้อง
    (สามัญ 1 พ.ศ. 2539)

    1.   ?    องค์การทั้งหมดภาครัฐบาลและเอกชนได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือเด็กเพื่อที่จะนำมาซึ่งการเจริญเติมโตที่สมบูรณ์
    2.   ?    ปัญหาความยากจนและการอพยพ เข้ามาอยู่ในเมืองส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กในหลายๆ ประเทศ
    3.   ?    ความคิดและการวางแผนเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายถูกผูกขาดโดยสถาบันและหน่วยงานสำคัญหลายแห่ง
    4.   ?    เด็กควรจะเป็นผู้ที่จะได้รับการปฎิบัติอย่างถูกต้องเพื่อเขาจะได้เติมโตขึ้นเป็นทางรอดของโลก มิใช่ปัญหาที่ยากต่อการแก้ไข
  7. 8.ประโยคใดไม่ใช่สำนวนต่างประเทศ
    (สามัญ 2 พ.ศ. 2539)

    1.   ?    เราขอแสดงความยินดีที่คุณนำความสำเร็จและนำชื่อเสียงมาสู่ประเทศไทย
    2.   ?    เครื่องปั้นดินเผาของไทย มีลักษณะแตกต่างจากเครื่องปั้นดินเผาของจีนในเรื่องสีและลวดลาย
    3.   ?    คนที่มีมิตรมากย่อมอาจทำการใหญ่สำเร็จเพราะมีผู้ช่วยคิด ช่วยทำและช่วยออกทรัพย์หลายคนด้วยกัน
    4.   ?    งานก้าวไกลไทยทำจัดขึ้นโดยคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ระหว่างวันที่ 17-26 กุมภาพันธ์ 2538
  8. 9.ข้อใดให้ความรู้เรื่องภาษาถูกต้อง
    (ภาษา กข พ.ศ. 2533)

    1.   ?    บางภาษาเท่านั้นที่มีการขยายประโยคให้ยาวออกไปได้เรื่อยๆ
    2.   ?    แม้ภาษาของชาติที่ไม่ได้ติดต่อกับชาติอื่นก็มีการเปลี่ยนแปลง
    3.   ?    บางภาษามีคำนาม คำกริยา แต่ไม่มีคำขยายนามและคำขยายกริยา
    4.   ?    พยางค์ในแต่ละภาษาย่อมประด้วยเสียงสระพยัญชนะและวรรณยุกต์
  9. 10.ประโยคใด ไม่มี คำกร่อนที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษา
    (ภาษาไทย กข พ.ศ. 2526)

    1.   ?    สมส่วนซื้ออะไร
    2.   ?    สมทรงสอยมะม่วง
    3.   ?    สมศรีดีใจหน้าระรื่น
    4.   ?    สมศักดิ์ตะโกนเสียงดัง

          แม้ว่าภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได้หลายลักษณะดังที่กล่าวมา แต่ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว นักภาษาศาสตร์ถือว่าเป็นธรรมชาติของภาษาที่ยังไม่ตาย  เพราะภาษาที่พูดจากันอยู่ในชีวิตประจำวันนั้น จะต้องมีการเปลี่ยนแปร  (variation) ซึ่งหากการเปลี่ยนแปรนั้นเกิดขึ้นอย่าง     ถาวรแล้ว ก็จะเรียกว่าภาษามีการเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นสำหรับการใช้ภาษาในรูปแบบสมัยนิยม     เช่น คำคะนอง หรือสำนวนภาษาของวัยรุ่น นักภาษาศาสตร์จะถือว่าเป็นแค่การเปลี่ยนแปร แต่ยังไม่สร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับภาษา 

ตอนที่ ๑

คำชี้แจง                 ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ¡ หน้าตัวเลือกคำตอบที่เห็นว่าถูกต้องมากที่สุด

 

๑. ข้อใดกล่าวผิด

ก. ภาษา หมายถึงคำพูดหรือถ้อยคำ                ข. ภาษาที่เป็นถ้อยคำ เรียกว่า วาจาภาษา

ค. ภาษาสามารถจำแนกได้ ๒ ประเภท         ง. กล่าวผิดทุกข้อ

 

 

๒. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่เป็นธรรมชาติของภาษา

ก. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย

ข. หน่วยในภาษาประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นได้

ค. ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

ง. ภาษาต่าง ๆ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน

๓. ข้อใดเรียงหน่วยในภาษาได้ถูกต้อง

ก. เสียง พยางค์ คำ ประโยค                             ข. เสียง วลี คำ ประโยค

ค. เรื่อง คำ วลี เสียง                                           ง. ประโยค เรื่อง เสียง พยางค์

๔. ข้อใดเป็นประโยค

ก. ฉันและน้อง                                                    ข. ฉันชอบอาหาร

ค. อาหารไทย                                                      ง. รถไฟฟ้า

๕. ข้อใดเป็นการกร่อนเสียง

ก. อย่างนี้ – ยังงี้                                                  ข. ฉันนั้น – ฉะนั้น

ค. อุโบสถ – โบสถ์                                             ง. สะพาน – ตะพาน

๖. คำว่า “ ผักเฉด ” ออกเสียงเป็น “ ผักกระเฉด ” เป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาแบบใด

ก. การกลมกลืนเสียง                                         ข. การตัดเสียง

ค. การกลายเสียง                                                 ง. การเพิ่มเสียง

๗. คำว่า “ ตะไกร ” ออกเสียงเป็น “ กะไต ” เป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาแบบใด

ก. การสลับเสียง                                                  ข. การตัดเสียง

ค. การกลายเสียง                                                 ง. การเพิ่มเสียง

๘. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา

ก. เปลี่ยนในเรื่องวิธีเขียน                                 ข. เปลี่ยนในเรื่องวรรณยุกต์

ค. เปลี่ยนในเรื่องความหมาย                           ง. เปลี่ยนในเรื่องการออกเสียง

๙. ข้อใดคือลักษณะที่ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น

ก. มีชนิดของคำคล้ายกัน

ข. ขยายประโยคให้ยาวออกไปเรื่อย ๆ

ค. สามารถสร้างคำใหม่จากคำศัพท์เดิม

ง. มีรูปวรรณยุกต์และมีการผันวรรณยุกต์ที่ชัดเจน

๑๐. ข้อใดคือส่วนประกอบที่สำคัญของภาษา

ก. สัญลักษณ์ คำ ประโยค และความหมาย   ข. สำนวน โวหาร สุภาษิต คำพังเพย

ค. วรรณยุกต์ เอก โท ตรี และจัตวา                ง. ถูกทุกข้อ

 

ตอนที่ ๒

คำชี้แจง                 ให้นักเรียนค้นหาคำในภาษามาตรฐานและภาษาถิ่นจากคำที่กำหนดให้ต่อไปนี้

 

ข้อที่

คำในภาษามาตรฐาน

คำในภาษาถิ่นเหนือ

คำในภาษาถิ่นอีสาน

คำในภาษาถิ่นใต้

โมโห

อู้

กะจอง

แล

ฝรั่ง

กะลัง

บักสีดา

หรอย

ครับ / ค่ะ

๑๐

ซาว

๑๑

ฮัก

๑๒

ล่อ

๑๓

ข้าวโพด

๑๔

เฮือน

๑๕

ฮวก

๑๖

ราสา

๑๗

สับปะรด

๑๘

บะแต๋ง

๑๙

หย่าง

๒๐

แข้บ

๒๑

มะละกอ

๒๒

จั๊กก่า

๒๓

เกิบ

๒๔

หลบ

๒๕

กระผม / ดิฉัน

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...