บูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล ppt

งานนำเสนอเรื่อง: "การบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล

2 โครงสร้างของ ศอช. คณะกรรมการบริหาร ศอช. มี 3 ระดับ
โครงสร้างของ ศอช. คณะกรรมการบริหาร ศอช. มี 3 ระดับ - ระดับตำบล (ศอช.ต.) จำนวน 9 – 25 คน - ระดับอำเภอ (ศอช.อ.) จำนวน 9 – 25 คน - ระดับจังหวัด (ศอช.จ.) จำนวน 9 – 25 คน

3 บทบาท/หน้าที่ ของ ศอช.ต.
1. สนับสนุนการจัดทำระบบฐานข้อมูล บูรณาการจัดทำแผนชุมชน 2. ประสานงานระหว่าง องค์การชุมชน 3. สนับสนุนกระบวนการ ประชาธิปไตย 4. ส่งเสริมธรรมาภิ บาล 5. การดำเนินงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 6. สนับสนุนให้มีกองทุนและ สวัสดิการในชุมชน

4 บทบาท/หน้าที่ ของ ศอช.ต.
7. การจัดการความรู้ภูมิปัญญา ท้องถิ่น 8. เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ของสังคม 9. ป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด 10. อนุรักษ์และบำรุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติฯ 11. ประสานกับหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ อปท. ภาคประชาชน

5 บทบาท/หน้าที่ ของ ศอช.ต. ในการบูรณาการแผนชุมชน ระดับตำบล
บทบาท/หน้าที่ ของ ศอช.ต. ในการบูรณาการแผนชุมชน ระดับตำบล ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ ข้อ 10 (2) กำหนดให้ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน มีภารกิจในการบูรณาการจัดทำแผนชุมชนระดับตำบล ประสานแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนพัฒนาจังหวัด

6 ระยะเวลาดาเนินการ ขั้นตอน/กิจกรรม
กันยายน - ธันวาคม ศอช.ต. เสนอแผนงานกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเพื่อบรรจุในแผนการดาเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (๓ ปี) มกราคม ศอช.ต. จัดทำโครงการเสนอของบประมาณ กุมภาพันธ์ – มีนาคม ศอช.ต. ส่งโครงการฯ ถึงองค์กรปกครอง(ก่อนวันที่ ๑๕ มีนาคมของทุกปี) ส่วนท้องถิ่น เมษายน – มิถุนายน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ/ จัดตั้งงบประมาณ สิงหาคม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแจ้งผลการเสนอ ขอตั้งงบประมาณที่ผ่านมติการประชุมและ บรรจุในแผน แล้วองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แจ้งผลการจัดสรรงบประมาณรายปีให้ทราบ

7 ROAD MAP การเชื่อมโยงและบูรณาการแผนในระดับพื้นที่ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ
จังหวัด บูรณาการ แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี จัดทำคำของบประมาณประจำปี ม.ค-ก.พ. มี.ค-มิ.ย. พ.ค.-ก.ค. ก.ค.-ต.ค. ทบทวนแผนชุมชน/หมู่บ้าน บูรณาการแผนชุมชน ระดับตำบล บูรณาการ จัดทำแผน พัฒนาอำเภอ กม. : กลไกหลัก ศอช.ต. : กลไกหลัก รวบรวบข้อมูลแผนชุมชน/หมู่บ้านส่งอำเภอ ภายใน ก.พ. พช. : สนับสนุน อปท. ข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อการพัฒนา ระดับอำเภอ กบจ. ฝ่ายอำนวยการ (ผู้กำกับการแสดง) พช. : สนับสนุน กบอ. สำนักงานจังหวัด พช. : สนับสนุน ข้อมูลสารสนเทศ-ชุมชนเพื่อ การพัฒนาระดับหมู่บ้าน วิทยากรกระบวนการ อกอ. ข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อการพัฒนาระดับตำบล กลไกหลัก บูรณาการจัดทำ แผนพัฒนาท้องถิ่น พช. ปค. สถ. แผนของ อบจ. ข้อมูล จปฐ./ ข้อมูลทุนชุมชน/ข้อมูลกลุ่มอาชีพ/และข้อมูลอื่นๆ อปท. : สนับสนุน อปท. : กลไกหลัก จัดทำและทบทวนแผนพัฒนาสามปี ภายใน มิ.ย.ของทุกปี แผนของหน่วยงาน (Function) การจัดทำเวทีประชาคมในหมู่บ้าน/ชุมชน

8 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้
กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 85 ของ แผนชุมชน มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับการพัฒนา 25 กลุ่ม ประชาชนที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 5,060 ราย/ครัวเรือน หน่วย ดำเนินการ โครงการหลัก โครงการสนับสนุน โครงการยกระดับต่อยอด สพช. (ศูนย์ฯนครราชสีมา) ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ส่วนกลาง พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ 253 หมู่บ้าน (คน) ประชุมเชิงปฏิบัติการวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด 253 หมู่บ้าน (คน) เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 253 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน 253 หมู่บ้านๆละ 20 คน สนับสนุนการจัดตั้งและ พัฒนากลุ่มอาชีพ จำนวน 25 กลุ่ม ประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชน ไตรมาส 1 จังหวัดๆ ละ 2 คน จำนวน 3 วัน ส่วนกลาง ไตรมาส 1-2 จำนวนรุ่นละ 4 วัน ไตรมาส ๑,๓ จำนวน ๔ รุ่นละ ๓ วัน ประชุมเชิงปฏิบัติการองค์กรสตรีระดับ ภาค ส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 ภาค ภาคละ 2 วัน ระดับจังหวัด ระดับจังหวัด จังหวัด ไตรมาส 1-2 จำนวน 1 วัน พัฒนาผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 2,4 จำนวน 107 คน เฉลี่ยตำบลๆ ละ 1 คน ไตรมาส ๑,๓ จำนวน ๑ วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1 จังหวัด ๆ ละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน จำนวน 20 คน/รุ่น ระดับอำเภอ อำเภอ ไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน บูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 1 จำนวน 107 ตำบล ตำบล ละ 1 วัน ระดับหมู่บ้าน ไตรมาส ๑,๓ จำนวน ๑ วัน อำเภอ สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน ไตรมาส 2 จำนวน 85 ครัวเรือน ไตรมาส 1-2 จำนวน 5 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ไตรมาส 3 จำนวน 16 หมู่บ้าน อำเภอ ไตรมาส 3-4 จำนวน 1 วัน

9 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
เป้าหมาย >> ครัวเรือนเป้าหมายในหมู่บ้าน ได้รับการพัฒนาอาชีพและ มีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 โครงการหลัก 5 โครงการ ดังนี้ สนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ 25 กลุ่ม (กลุ่มละ 1 วัน) 5 4 เตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้าน 253 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน (หมู่บ้านละ 3 วัน) 3 ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 253 หมู่บ้านๆ ละ 20 คน (หมู่บ้านละ 5 วัน) 2 1 พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 253 คน (รุ่นละ 4 วัน) ประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด 253 คน ( จังหวัดละ 1 วัน)

10 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
โครงการสนับสนุน 3 โครงการ ดังนี้ 1 2 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อน สัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับอำเภอ

11 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
โครงการยกระดับต่อยอด 7 โครงการ ดังนี้ ภาค จังหวัด อำเภอ ส่วนกลาง 1 2 ประชุมเชิง ปฏิบัติการองค์กร สตรีระดับภาค ส่งเสริมครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน 3 5 บูรณาการ แผนชุมชน ระดับตำบล ประชุมเชิง ปฏิบัติการสร้าง เครือข่ายนักจัดการ ความรู้ชุมชน พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชน ระดับตำบล 6 พัฒนา หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ พัฒนาผู้นำ ชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน 4 7 สนับสนุน สัมมาชีพแก่ ครัวเรือนยากจน

12 ศอช.ต. จำนวน 107 ตำบลๆ ละ อย่างน้อย 20 คน สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ
โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ศอช.ต. จำนวน 107 ตำบลๆ ละ อย่างน้อย 20 คน ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลและการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชนในการสร้าง สัมมาชีพชุมชน สนับสนุนให้ ศอช.ต. เป็นกลไกหลักในการ บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ที่เชื่อมโยง สู่แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด ไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค. 59) หน่วยดำเนินการ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ ดำเนินการ ตำบลละ 1 วัน 1. จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล 107 ตำบล มีการเชื่อมแผนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพ 2. ร้อยละ 85 ของแผนชุมชนระดับตำบล มีการนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ (91 ตำบล) ผลผลิต

13 ตำบลเป้าหมาย : บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล จำนวนตำบลเป้าหมายตามโครงการฯ
จำนวนตำบลเป้าหมายตามโครงการฯ กลุ่มเป้าหมาย คือ ที่ อำเภอ ตำบลในพื้นที่ตาม ตำบลที่ คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ที่มีศักยภาพ รวม ศอช.ต.ๆละ 20 คน (ตำบล) (คน) 1 เมืองชัยภูมิ 10 2 12 240 บ้านเขว้า 6 - 120 3 คอนสวรรค์ 7 140 4 เกษตรสมบูรณ์ 9 180 5 หนองบัวแดง 8 160 จัตุรัส บำเหน็จณรงค์ หนองบัวระเหว 100 เทพสถิต ภูเขียว 200 11 บ้านแท่น แก้งคร้อ 13 คอนสาร 14 ภักดีชุมพล 80 15 เนินสง่า 16 ซับใหญ่ 60 102 107 2,140

14 วัตถุประสงค์การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
1. เพื่อส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล และการใช้ ประโยชน์จากแผนชุมชนในการสร้างสัมมาชีพ 2. เพื่อสนับสนุนให้คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน ระดับตำบล (ศอช.ต.) เป็นกลไกหลักในการบูรณาการแผน- ชุมชนระดับตำบล ที่เชื่อมโยงสู่แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนา อำเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด มุ่งเน้นการเพิ่มโอกาสเข้าถึง แหล่งงบประมาณที่สนับสนุนการยกระดับ/ต่อยอดการสร้าง สัมมาชีพชุมชนให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

15 ขั้นตอนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ระยะที่ 1 ก่อนดำเนินการ
1. สพอ. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และวาง รูปแบบการจัดเวทีบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล 2. สพอ. ประชุมทีมปฏิบัติการตำบล และ ประธาน ศอช.ต เพื่อวางแผนการจัดเวทีบูรณาการแผน ชุมชนระดับตำบล 3. สพอ. ประชุมคณะกรรมการศอช.ต. เพื่อสร้าง ความเข้าใจในการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล

16 ระยะที่ 1 ก่อนดำเนินการ
4. สพอ. สนับสนุนคณะกรรมการ ศอช.ต. รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน ให้ครบทุกหมู่บ้านในตำบล แล้วนำมา วิเคราะห์ สังเคราะห์จัดกลุ่มปัญหา/ ความต้องการจัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ (เน้นการส่งเสริมอาชีพเป็นลำดับแรก) 5. สพอ. ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ ศอช.ต. ยกร่างการบูรณาการ แผนฯ ตามแบบฟอร์มที่กำหนด (ก่อน นำเสนอเวทีบูรณาการแผนชุมชน ระดับตำบล) 6. สพอ. ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ ศอช.ต. เพื่อกำหนดและ เตรียมการประสานจัดเวทีบูรณาการแผน ชุมชนระดับตำบล เช่น กำหนดการประชุมฯสถานที่จัดเวทีฯ และ หนังสือเชิญผู้เข้าร่วมเวทีฯ

17 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
1. ผู้เข้าร่วมเวทีฯ ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละ หมู่บ้าน วิเคราะห์สถาน การณ์ของตำบล เพื่อสังเคราะห์เป็น ภาพรวมของตำบล ตำบลมีปัญหาอะไรบ้าง ? มากหรือน้อย จำเป็นเร่งด่วนต้องแก้ไข ขนาดไหน อย่างไร ? ปัญหาดังกล่าว เกิดจากปัจจัยภายใน หรือ ปัจจัยภายนอก ส่งผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ในตำบล นำข้อมูลทั้ง 2 ประเภท มารวบรวมและ ประมวลผล ค้นหาศักยภาพ ตำบล จากข้อมูลพื้นฐานครัวเรือน เช่น จปฐ. ข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน เช่น กชช.2ค และข้อมูลบัญชีครัวเรือน เพื่อให้ทุกฝ่ายรับรู้ปัญหา และหาแนว ทางแก้ไขในภาพรวมของตำบล

18 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
2. นำข้อมูลทั่วไป และข้อมูลที่เจาะลึกแต่ละด้าน เช่น ทุนชุมชนทั้งที่เป็นเงิน และไม่ใช่เงิน ธุรกิจชุมชน วัฒนธรรมชุมชน ฯลฯ ของแต่ละหมู่บ้าน มารวบรวมเป็นข้อมูลระดับตำบล เพื่อวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และข้อจำกัด นำไปสู่การกำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และทิศทางการ พัฒนาตำบล มีขั้นตอนดังนี้ 2.1 วิเคราะห์ชุมชน : ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน และครัวเรือน เพื่อให้รู้ว่า ในตำบลนั้นมีทรัพยากรอะไรบ้างที่จะส่งเสริม สัมมาชีพ หรือปัญหาที่หมู่บ้านต้องการแก้ไข 2.2 ค้นหา โอกาส และแนวทางแก้ไขปัญหา โดยใช้ข้อมูลพื้นฐานของครัว เรือน วิเคราะห์คุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ เชื่อมโยงกับเป้าหมายการ พัฒนาคุณภาพชีวิต และบูรณาการจัดทำเป็น โครงการต่างๆ

19 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
2.3 กำหนดเป้าหมาย หรือ วิสัยทัศน์ : โดยใช้ ข้อมูลในการค้นหาปัญหา สาเหตุ ความจำเป็น ความต้องการ มาจัดลำดับและประเมินตนเอง และ นำมา กำหนดเป้าหมาย หรือวิสัยทัศน์ 2.4 นำปัญหาที่หมู่บ้านส่วนใหญ่ได้รับความ เดือดร้อน หรือผลกระทบในวงกว้าง : มาเป็น ประเด็นในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล 2.5 จัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ : เพื่อแสวงหา งบประมาณ โดยพิจารณาจากบทบาท/ภารกิจหลัก ของหน่วยงานที่จะขอการสนับสนุนงบประมาณ แผนงาน/โครงการที่ทำเองได้ เช่น การลด รายจ่ายในครัวเรือน แผนงาน/โครงการที่ทำร่วม : มี การร่วมกันในด้านทรัพยากร คน/เงิน แผนงาน/โครงการที่ขอรับการ สนับสนุน : เป็นแผนที่ต้องมีการประสาน เชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะปัญหา ที่มีผลกระทบในวงกว้าง

20 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
2.6 การจัดลำดับแผนงาน/โครงการ : ยึดหลัก ความสำคัญ ความจำเป็น หรือความสามารถใน การแก้ไขปัญหาความต้องการของชุมชน ผ่านเวที ประชาคม โดยใช้วิธีการต่างๆ เพื่อให้หมู่บ้านสามารถแสวงหาความร่วมมือ และโอกาสในการขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น รูปแบบการนำเสนอแผนงาน/ โครงการ ควรจะทำให้สอด-คล้องกับหน่วยงานที่ เป็นแหล่งงบประมาณ ครอบคลุม 5 ด้าน คือ ด้านที่ 1 เศรษฐกิจ ด้านที่ 2 สังคมและ คุณภาพชีวิต ด้านที่ 3 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านที่ 4 ความมั่นคง และความสงบ ด้านที่ 5 การบริหาร จัดการ

21 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
2.7 การยกร่างแผนชุมชนระดับตำบล เพื่อขอ ความเห็นชอบ : โดยนำเข้าสู่เวทีประชาพิจารณ์ใน ระดับตำบลอีกครั้ง เพื่อขอความเห็นชอบและ ประกาศใช้ต่อไป 2.8 จัดทำรูปเล่มแผนชุมชนระดับตำบล ฉบับ สมบูรณ์ จำนวน เล่ม เพื่อส่งมอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ (อบต./เทศบาล) นำไปบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณ ส่งให้อำเภอ เก็บไว้ที่ตำบล หรือ ที่ทำการของ ศอช.ต อาจส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามความ เหมาะสม

22 ระยะที่ 2 ระหว่างดำเนินการ : การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
2.7 การยกร่างแผนชุมชนระดับตำบล เพื่อขอ ความเห็นชอบ : โดยนำเข้าสู่เวทีประชาพิจารณ์ใน ระดับตำบลอีกครั้ง เพื่อขอความเห็นชอบและ ประกาศใช้ต่อไป 2.8 จัดทำรูปเล่มแผนชุมชนระดับตำบล ฉบับ สมบูรณ์ จำนวน เล่ม เพื่อส่งมอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่ (อบต./เทศบาล) นำไปบรรจุในข้อบัญญัติงบประมาณ ส่งให้อำเภอ เก็บไว้ที่ตำบล หรือ ที่ทำการของ ศอช.ต อาจส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามความ เหมาะสม

23 ระยะที่ 3 หลังดำเนินการ
สพอ. ส่งเสริมและสนับสนุนคณะกรรมการ ศอช.ต. ดำเนินการติดตามความก้าวหน้าใน การดำเนินโครงการฯ การประเมินผลสำเร็จ ของโครงการและประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้า ในการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทุกขั้นตอน สพอ. จัดทำไฟล์เอกสารเล่มแผนชุมชน ระดับตำบล (แยกรายตำบล) จัดส่งจังหวัด ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559

24 การจัดทำแผนชุมชน ระดับตำบล (รายละเอียดตามเค้าโครง แผนชุมชนระดับตำบล)

25 ตัวชี้วัดกิจกรรมการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล
1. จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล 107 ตำบล มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ 2. ร้อยละ 85 ของแผนชุมชนระดับ ตำบล มีการนำไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนา อาชีพ