ทัศนศิลป์ทางภาคเหนือได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใด

          ประเพณีภาคเหนือ เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของภาคเหนือ ทั้งการวัฒนธรรม พิธีกรรม ความเชื่อ ภาษา การแต่งกาย การละเล่นพื้นบ้าน และอาหาร ฯลฯ นับเป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมาอย่างยาวนาน

          ภาคเหนือ หรือล้านนา ดินแดนแห่งความหลากหลายทางประเพณีและวัฒนธรรมที่มีความน่าสนใจไม่น้อยไปกว่าภาคอื่นของไทย เพราะเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยเสน่ห์มนตร์ขลัง ชวนให้น่าขึ้นไปสัมผัสความงดงามเหล่านี้ยิ่งนัก ส่วนบรรดานักท่องเที่ยวที่ไปเยี่ยมชม ต่างก็ประทับใจกับสถานที่ท่องเที่ยวมากมายและน้ำใจอันล้นเหลือของชาวเหนือ ดังนั้นใครที่ยังไม่มีโอกาสได้ไปเยือนสักครั้งคงต้องไปแล้วล่ะค่ะ ว่าแล้วเราก็ขอนำประวัติเล็ก ๆ น้อย ๆ พร้อมข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีของภาคเหนือมาฝากกัน เผื่อเป็นไกด์ให้เพื่อน ๆ ได้ศึกษาหาข้อมูลก่อนจะเดินทางไปเยือนเมืองเหนือยังไงล่ะ

ทัศนศิลป์ทางภาคเหนือได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใด

ขอขอบคุณภาพประกอบจาก เฟซบุ๊ก สมาคมคนเหนือ, เว็บไซต์ครูบ้านนอก, เว็บไซต์นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร, เว็บไซต์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม, เว็บไซต์สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน, ศูนย์ข้อมูลกลางวัฒนธรรม, dusithost.dusit.ac.th

ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ from SeeGrundy

ทัศนศิลป์ทางภาคเหนือได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใด

ศิลปะลัทธิเหนือจริง(Surrealism)

              ศิลปะเหนือจริงเป็นศิลปะที่ว่ากันด้วยเรื่องของ การถ่ายทอดภาพจากจิตใต้สำนึก ความเพ้อฝัน ความแปลกแยกโดดเดี่ยว ฯลฯ มีศิลปินที่ถ่ายทอดผลงานแนวนี้มากมาย เช่น Jean Arp, Max Ernst, Giorgio de Chirico, Man Ray, Joan Miro, Rene Magritte แต่ที่มีชื่อเสียงและคุ้นตามากที่สุดก็น่าจะเป็น ซาลวาดอร์ดาลี (Salvador Dali) ศิลปินเซอร์เรียลลิสต์ชาวสเปน บุคลิกเพี้ยนๆ ที่มีผลงานได้รับการยอมรับไปทั่วโลก ทั้งในวงการศิลปะทัศนศิลป์, การแสดง, กราฟิกดีไซน์, ออกแบบตกแต่งภายนอก-ภายใน, จนไปถึงผลงานทางภาพยนตร์ศิลปินกลุ่มนี้กล่าวว่า ความรู้สึกของมนุษย์เป็นสิ่งสำคัญมาก ถ้าท่านรู้สึกอย่างไร จงแสดงออกทันที อย่าสกัดกั้นเอาไว้ เพราะมันจะฝังอยู่ใต้จิตสำนึก และจะเป็นอันตรายต่อตัวท่านเอง จากคำกล่าวของลัทธินี้ ทำให้ทราบว่าลัทธินี้เกี่ยวข้องกับจิตไร้สำนึก ซึ่งเป็นระยะพอดีกับที่นายแพทย์ ซิกมันด์ ฟรอย์ (1856-1934) ประกาศทฤษฎีด้านจิตวิทยาอยู่ในยุโรปพอดี นับว่า ซิกมันด์ ฟรอย์ มีส่วนช่วยให้ลัทธิเซอร์เรียลลิสม์ มีอิทธิพลต่อวงการมาก

                การศึกษาด้านศิลปะไม่ใช่แค่เพียงการวาดเท่านั้นที่เราจะต้องเรียนรู้ การศึกษาที่มาและ ลักษณะของงานศิลปะ รวมทั้งพัฒนาการความเป็นไปตั้งแต่อดีตและปัจจุบันก็สำคัญ ศิลปะเหนือจริง ก็เป็นหนึ่งในเรื่องที่ข้าพเจ้าสนใจและต้องการศึกษาลักษณะและประวัติความเป็นมาของศิลปะเหนือจริง เพื่อใช้ในการพัฒนาและหาแนวทางในการทำงานศิลปะต่อไป

ประวัติความเป็นมาของศิลปะเหนือจริง

                Surrealism ลัทธิศิลปะเหนือจริง เริ่มขึ้นตอนต้นของศตวรรษที่ 20 ในประเทศฝรั่งเศส มีรูปแบบรากฐานมาจากกลุ่มดาด้า (Dada) โดยนักทฤษฎีหลักประจำกลุ่มก็คือ อองเดร เบรตง มีจุดหมายอยู่ ที่การคลี่คลายสภาพอันขัดแย้งระหว่างระยะห่างของความฝันและความเป็นจริง โดยถ่ายทอดออกมาในงานศิลปะด้วยวิธีต่างๆ กัน เช่น สร้างภาพซึ่งดูเหนือจริงหรือถึงขั้นหลอน หรือพัฒนาเทคนิคด้านภาพที่จะช่วยถ่ายทอดความฝันหรือจิตใต้สำนึกออกมา งานของกลุ่มนี้จึงมักเกี่ยวข้องกับทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันต์ ฟรอยด์ที่ว่า มนุษย์ทุกคนอยู่ภายใต้อิทธิพลของจิตไร้สำนึก ซึ่งเราฝังความอยากอันมิได้ขัดเกลาเอาไว้ จนทำให้รู้สึกว่าความป่าเถื่อนยังมิได้หายไปจากมนุษย์ หากแต่หลบอยู่ในส่วนลึกของจิตใจ

ทัศนศิลป์ทางภาคเหนือได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใด

The Persisitence of Memory(นาฬิกาเหลว), ถูกเขียนขึ้นในปี ค.ศ.1931 เป็นผลงานของ ซัลวาดอร์ ดาลี เป็นผลงานที่เรียกได้ว่าสร้างชื่อเสียงให้แก่ ซัลวาดอร์ ดาลี ซึ่งได้รับแรงดาลใจจากเนยแข็งชนิดหนึ่งที่กินเป็นประจำ สื่อสัญลักษณ์ของความไม่แน่นอน การเสื่อมสลาย ผุพัง เน่าเปื่อยของสรรพสิ่งนำเสนอภาพความตาย ศิลปะแนวเซอเรียลิสม์ มีความหมายว่า เหนือความจริง เพราะศิลปะแนวนี้ถ่ายทอดเรื่องราวเหนือธรรมชาติ ถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในความฝันออกมา งานเซอเรียลิสม์มีความสำคัญอยู่ที่ การแสดงออกของจิตใต้สำนึกอย่างอิสระ-ปราศจากการควบคุมของเหตุผล มีความฝันและอารมณ์ จินตนาการ ค่อนข้างโน้มเอียงไปในทางกามวิสัย หลักการของเซอเรียลิสม์คือ จินตนาการเป็นส่วนสำคัญของการแสดงออก จินตนาการคือจิตไร้สำนึก และจิตไร้สำนึกเป็นภาวะของความฝัน ที่มีขบวนการต่อเนื่องกันซึ่งนำไปสู่การสร้างสรรค์งานศิลปะได้ สิ่งที่เราเห็นจากโลกภายนอกขณะตื่น เป็นเพียงปรากฏการณ์ ทางการแทรกแซงความงามของพวกเขาคือความมหัศจรรย์ ความมหัศจรรย์เพียงอย่างเดียวที่สามารถสร้างศิลปะให้สมบูรณ์ได้ และยังให้ความรู้สึกที่เต็มไปด้วยความหมายต่อความรู้สึกของมนุษย์ แนวคิดของศิลปะเหนือจริง เกิดจากการตั้งคำถามในการใช้ชีวิตของมนุษย์ว่าจริงๆ แล้วสิ่งที่เราเคยถูกสอนมาไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรมต่างๆ นั้น มีความจำเป็นต่อชีวิตเราจริงหรือไม่ ในอดีตที่มนุษย์ยังไม่มีความเข้าใจหรือความรู้พอที่จะใช้ในการดำรงชีวิต การตั้งกฎเกณฑ์หรือข้อแม้ต่างๆ อาจจำเป็นเพื่อให้มนุษย์ใช้ชีวิตอยู่ในระเบียบของสังคม แต่เมื่อเวลาผ่านไป สิ่งต่างๆ ในโลกได้รับการพิสูจน์ด้วยวิทยาศาสตร์ เรามีความเข้าใจในสิ่งที่เราเป็นมากขึ้น ทำให้เกิดการตั้งคำถามต่อความเชื่อที่เคยถูกสอนมาวัฒนธรรมที่ต่างกัน เห็นการใช้ชีวิตของคน ได้เห็นความเชื่อที่มนุษย์สร้างขึ้นและอยู่เป็นเส้นขนานกับการใช้ชีวิต ได้อ่านหนังสือในเชิงจิตวิทยาและศิลปะร่วมสมัย ทำให้คำถามต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย แนวความคิดของงานครั้งนี้คือการตั้งคำถามกับการใช้ชีวิตของมนุษย์ที่ถูกผูกมัดด้วยความเชื่อต่างๆ จนบางครั้งข้อผูกมัดเหล่านั้นกลายเป็นข้อแม้ที่ทำให้มนุษย์ไม่สามารถพัฒนาต่อได้ การตั้งคำถามเกี่ยวกับความเชื่อที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อให้การใช้ชีวิตในสมัยก่อนอยู่ในกฎระเบียบรวมถึงความกลัวที่ถูกสร้างขึ้น เมื่อเวลาผ่านไปสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาเป็นนามธรรมได้ถูกพิสูจน์ด้วยความจริงของการใช้ชีวิตของคนในยุคต่อมา แล้วสิ่งเหล่านั้นยังจำเป็นกับการมีตัวตนของเราอยู่หรือไม่ ที่มา http://swu141km.swu.ac.th/index.php/ (Surrealism) http://camerartmagazine.com/index.php/photo-techniques/52-photo-techniques/138-surrealism-photography