ตัวอย่าง plc พฤติกรรมนักเรียน

ความคดิ เห็นผอู้ านวยการโรงเรยี นอนุราชประสทิ ธ์ิ รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธิ์

.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................................
( นางวันเพญ็ รกั เสนาะ )

ครูโรงเรียนอนุราชประสทิ ธ์ิ รักษาการในตาแหน่ง
ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนุราชประสทิ ธิ์

แบบบนั ทกึ การมีส่วนร่วมในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC)
โรงเรียนอนรุ าชประสิทธ์ิ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1

ชือ่ กล่มุ กิจกรรม กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562
จานวนสมาชิก 7 คน
ช่อื กิจกรรม การแกไ้ ขพฤติกรรมนักเรยี นไมม่ ีสมาธิในการเรยี น ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โดยใช้
“เกมบงิ โก”
ระหวา่ งเวลา
25 มถิ นุ ายน – 29 พฤศจิกายน 2562 (รวมระยะเวลาดาเนินการ 69 ชัว่ โมง)

รายชื่อสมาชิกกล่มุ PLC ดังน้ี ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ ลงช่อื .....................................................................
1. นางวีรยาพร โพธารส ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ ลงช่ือ.....................................................................
2. นางอรสา พัชรจรรณยา ตาแหน่ง ครชู านาญการ ลงชอื่ .....................................................................
3. นางสาวจริ ิสุดา สพุ นั ธนา ตาแหน่ง ครชู านาญการ ลงชอ่ื .....................................................................
ตาแหน่ง ครชู านาญการ ลงชอ่ื .....................................................................
4. นางสาวกมลา กลั ยาณพงศ์ ตาแหน่ง ครู ลงชื่อ.....................................................................
5. นายไชยพัฒน์ สังขรกั ษ์ ตาแหน่ง ครู ลงชือ่ .....................................................................
6. นายภราดร สะโดอยู่
7. นายวสะ ภวู งศ์

ประเด็นปัญหาการพัฒนา
นักเรยี นไม่มีสมาธใิ นการเรียน ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้

สาเหตขุ องปัญหา ครูผู้สอนไมส่ ามารถที่จะหากิจกรรมการเรียนการสอนที่ทาใหผ้ ้เู รยี นไม่สนใจในการเรียน
ด้านครูผสู้ อน และไมม่ ีสมาธิในการเรยี นการสอน
นักเรียนไม่สนใจกจิ กรรมการเรยี นการสอน และไม่มสี มาธใิ นการร่วมกจิ กรรมการเรียน
ด้านนักเรียน การสอน

ความรู้/หลักการท่ีนามาประยุกต์ใช/้ แนวทางการแก้ปัญหา
1. สื่อการสอน
สอื่ การเรียนการสอน หมายถึง สงิ่ ตา่ งๆ ทเี่ ป็นบคุ คล วสั ดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธกี าร ซ่งึ
เปน็ ตัวกลางทาให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ตามจุดประสงคข์ องการเรียนการสอนทีก่ าหนดไว้ไดอ้ ยา่ งง่าย
และรวดเร็วเป็นเครอ่ื งมือและตวั กลางซ่ึงมีความสาคัญในกระบวนการเรยี นการสอนมหี น้าท่เี ป็นตวั นา
ความตอ้ งการของครไู ปส่ตู ัวนักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเรว็ เป็นผลให้นักเรียนเปลยี่ นแปลง
พฤติกรรมไปตามจดุ มุง่ หมายการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม นกั การศึกษาเรียกชื่อการ
สอนด้วยชือ่ ตา่ งๆ เช่น อุปกรณก์ ารสอน โสตทัศนปู กรณ์ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา ส่ือการเรียนการสอน
ส่ือการศกึ ษา เปน็ ต้น

การใช้สอ่ื การเรียนการสอนนั้นอาจจะใชเ้ ฉพาะข้ันตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการสอน หรือจะใช้ใน
ทุกข้นั ตอนกไ็ ด้ ดังน้ี

- ขน้ั นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น เพื่อกระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อหาทีก่ าลงั จะเรยี นหรอื เนื้อหา
ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเรยี นในครง้ั ก่อน แตม่ ิใชส่ ื่อท่เี น้นเนอื้ หาเจาะลึกอยา่ งแทจ้ รงิ เปน็ สื่อท่ีง่าย
ในการนาเสนอในระยะเวลาอันสั้น

- ขน้ั ดาเนินการสอนหรือประกอบกจิ กรรมการเรยี น เป็นขั้นสาคัญในการเรยี นเพราะเปน็ ข้ันท่ี
จะใหค้ วามรู้เน้อื หาอย่างละเอยี ดเพ่ือสนองวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีต้งั ไว้ ตอ้ งมกี ารจัดลาดับขั้นตอน
การใช้ส่ือใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรียน

- ขั้นวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ ส่ือในขั้นนจี้ ึงเป็นส่อื ท่ีเปน็ ประเด็นปัญหาให้ผ้เู รยี นไดข้ บคดิ โดย
ผเู้ รยี นเป็นผ้ใู ช้ส่อื เองมากท่สี ดุ

- ขน้ั สรุปบทเรยี น เป็นข้ันของการเรยี นการสอนเพอื่ การยา้ เนื้อหาบทเรียนใหผ้ เู้ รยี นมีความ
เขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งและตรงตามวตั ถุประสงค์ทตี่ ั้งไว้ ควรใชเ้ พียงระยะเวลาส้ันๆ

- ขั้นประเมนิ ผู้เรียน เปน็ การทดสอบความสามารถของผู้เรียนวา่ ผูเ้ รยี นเขา้ ใจในส่งิ ท่เี รยี น
ถกู ตอ้ งมากนอ้ ยเพียงใด ส่วนใหญแ่ ล้วจะเปน็ การประเมนิ จากคาถามจากเน้อื หาบทเรียนโดย
อาจจะมีภาพประกอบดว้ ยก็ได้

2. ประเภทของสอื่ การเรยี นการสอน
1. สือ่ ประเภทวัสดุ ไดแ้ ก่ สือ่ เล็ก ซง่ึ ทาหน้าทีเ่ กบ็ ความรใู้ นลักษณะของภาพเสียง และ อกั ษรใน

รปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีผู้เรียนสามารถใช้เป็นแหล่งหาประสบการณ์ หรือศึกษาไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงและ
กวา้ งขวาง แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ

1.1 วสั ดทุ เ่ี สนอความรไู้ ด้จากตวั มนั เอง ได้แกห่ นงั สือเรียนหรอื ตาราของจรงิ หุ่นจาลอง
รูปภาพ แผนภูมิ แผนท่ี ป้ายนเิ ทศ เป็นต้น

1.2วสั ดทุ ต่ี อ้ งอาศัยสอ่ื ประเภทเครื่องกลไก เปน็ ตวั นาเสนอความรู้ไดแ้ ก่ฟลิ ม์ ภาพยนตร์
แผ่นสไลด์ ฟิลม์ สตริป เสน้ เทปบันทกึ เทป รายการวิทยุ รายการโทรทศั น์ รายการทใ่ี ชเ้ ครอื่ งชว่ ย
สอน เปน็ ตน้
2. สอ่ื ประเภทเคร่อื งมอื หรอื โสตทัศนปู กรณ์ ไดแ้ ก่ สื่อใหญ่ ท่ีเป็นตวั กลางหรือทางผ่านของ
ความรู้ ท่ีถา่ ยทอดไปยงั ครูและนกั เรยี น สื่อประเภทน้ตี ัวมนั เองแทบไม่มีประโยชนต์ อ่ การส่ือ
ความหมายเลยถา้ ไม่มใี ครรู้ในรปู แบบต่างๆ มาปอ้ นผ่านเครอ่ื งกลไกลเหลา่ น้ี ส่ือประเภทนจ้ี ึง
จาเป็นตอ้ งอาศัยส่ือประเภทวัสดุ บางชนดิ เป็นแหลง่ ความรใู้ ห้มันส่งผา่ น ซงึ่ จะทาให้ความรูท้ ส่ี ง่ ผา่ นมี
การเคล่ือนไหวไปสูน่ ักเรียนจานวนมาก ได้ไกลๆ และรวดเร็ว และบางทีกท็ าหนา้ ทเี่ หมอื นครูเสียเอง
เช่น
เครื่องช่วยสอน ไดแ้ ก่เคร่อื งฉายภาพยนตร์ เครื่องเล่นแผ่นเสยี ง เคร่อื งบันทึกเสยี ง
เคร่ืองรบั วิทยุ เคร่ืองฉายภาพน่งิ ท้งั หลาย
3.สอื่ ประเภทเทคนิคหรอื วธิ กี าร ตวั กลางในกระบวนการเรยี นการสอนไมจ่ าเป็นต้องใชแ้ ตว่ สั ดุ
หรือเครือ่ งมอื เทา่ นั้น บางคร้ังจะตอ้ งใชเ้ ทคนคิ และกลวธิ ตี า่ งๆ ควบคกู่ ันไป โดยเนน้ ท่ีเทคนิคและ
วิธีการเป็นสาคญั

3. สื่อการเรยี นการสอนจาแนกตามประสบการณ์
3.1. ประสบการณ์ตรงและมคี วามมุ่งหมาย ประสบการณ์ข้นั น้ี เปน็ รากฐานสาคัญของการศกึ ษา

ทั้งปวง เป็นประสบการณ์ท่ีผู้เรียนไดร้ ับมาจากความเป็นจรงิ และดว้ ยตวั เองโดยตรง ผ้รู ับ
ประสบการณน์ ้จี ะได้เหน็ ได้จบั ไดท้ า ไดร้ สู้ ึก และไดด้ มกลิน่ จากของจริง ดังนน้ั สื่อการสอนที่ไห้
ประสบการณ์การเรียนรูใ้ นขัน้ น้กี ็คอื ของจริงหรือความเปน็ จริงในชวี ติ ของคนเรานน่ั เอง

3.2. ประสบการณ์จาลอง เปน็ ท่ียอมรบั กันวา่ ศาสตร์ตา่ งๆ ในโลก มมี ากเกนิ กวา่ ทจี่ ะเรยี นรไู้ ด้
หมดสน้ิ จากประสบการณต์ รงในชวี ติ บางกรณกี อ็ ยู่ในอดีต หรอื ซบั ซอ้ นเรน้ ลับหรอื เปน็ อนั ตรายไม่
สะดวกตอ่ การเรยี นร้จู ากประสบการณ์จรงิ จึงได้มกี ารจาลองสิ่งตา่ ง ๆ เหลา่ นั้นมาเพือ่ การศกึ ษา ของ
จาลองบางอยา่ งอาจจะเรียนได้งา่ ยกวา่ และสะดวกกว่า

3.3. ประสบการณ์นาฏการ ประสบการณต์ ่าง ๆ ของคนเรานน้ั มีหลายสงิ่ หลายอย่างทีเ่ ราไม่
สามารถประสบไดด้ ว้ ยตนเอง เช่น เหตกุ ารณ์ในอดีต เรื่องราวในวรรณคดี การเรียนในเร่อื งทม่ี ีปญั หา
เกย่ี วกับสถานที่ หรอื เร่ืองธรรมชาตทิ ่ีเป็นนามธรรม การแสดงละครจะช่วยไปให้เราไดเ้ ข้าไปใกล้
ความเปน็ จรงิ มากทส่ี ดุ เชน่ ฉาก เครื่องแตง่ ตัว เครอื่ งมือ หุ่นตา่ ง ๆ เป็นตน้

3.4. การสาธติ การสาธติ คอื การอธิบายถึงข้อเทจ็ จรงิ หรอื แบง่ ความคดิ หรือกระบวนการตา่ ง ๆ
ใหผ้ ้ฟู งั แลเห็นไปด้วย เชน่ ครวู ทิ ยาศาสตรเ์ ตรียมกา๊ ซออกซิเจนใหน้ ักเรียนดู ก็เปน็ การสาธิต การ
สาธิตก็เหมือนกบั นาฏการ หรือการศกึ ษานอกสถานที่ เราถอื เปน็ สือ่ การสอนอย่างหนงึ่ ซง่ึ ในการ
สาธิตนอี้ าจรวมเอาสิ่งของท่ใี ช้ประกอบหลายอย่าง นบั ต้ังแต่ของจริงไปจนถงึ ตวั หนงั สือ หรือคาพดู
เข้าไวด้ ้วย แต่เราไม่เพ่งเล็งถึงสงิ่ เหลา่ น้ี เราจะให้ความสาคัญกบั กระบวนการท้ังหมดทีผ่ เู้ รียนจะตอ้ ง
เฝ้าสงั เกตอยู่โดยตลอด

3.5 การศกึ ษานอกสถานท่ี การพานกั เรยี นไปศึกษานอกสถานท่ี เปน็ การสร้างเสริม
ประสบการณ์ชวี ติ เพอื่ ใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนจากแหล่งข้อมลู แหลง่ ความรู้ท่มี อี ยู่จรงิ ภายนอกห้องเรียน
ดังนน้ั การศกึ ษานอกสถานทีจ่ ึงเปน็ วิธีการหนง่ึ ท่เี ปน็ สือ่ กลางใหน้ กั เรยี นไดเ้ รียนจากของจรงิ

3.6. นิทรรศการ นทิ รรศการมีความหมายท่กี วา้ งขวาง เพราะหมายถงึ การจดั แสดงสิ่งตา่ งๆ
เพือ่ ใหค้ วามรูแ้ ก่ผชู้ ม ดังนนั้ นทิ รรศการจึงเป็นการรวมสือ่ ตา่ ง ๆ มากมายหลายชนดิ การจดั
นิทรรศการทใ่ี หผ้ ้เู รยี นมามสี ว่ นรว่ มในการจดั จะสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้มโี อกาสคดิ สร้างสรรคม์ ีสว่ นรว่ ม
และไดร้ บั ข้อมลู ยอ้ นกลบั ด้วยตัวของเขาเอง

3.7. โทรทัศน์และภาพยนตร์ โทรทศั นเ์ ปน็ ส่ือการสอนท่มี บี ทบาทมากในปจั จบุ ัน เพราะไดเ้ ห็น
ท้งั ภาพและได้ยนิ เสียงในเวลาเดยี วกัน และยงั สามารถแพรแ่ ละถ่ายทอดเหตกุ ารณท์ ่ีกาลงั เกิดขึ้นได้
ด้วย นอกจากน้นั โทรทัศน์ยังมหี ลายรูปแบบ เช่น โทรทศั นว์ งจรปิด ซ่งึ โรงเรยี นสามารถนามาใช้ใน
การเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี นอกจากนยี้ ังมโี ทรทัศนว์ งจรปดิ ที่เออ้ื ประโยชน์ตอ่ การศึกษาอยา่ ง
กว้างขวาง ภาพยนตร์เปน็ ส่อื ท่ีจาลองเหตกุ ารณม์ าใหผ้ ูช้ มหรอื ผเู้ รียนไดด้ ูและไดฟ้ ังอยา่ งใกลเ้ คียงกบั
ความจริง แต่ไมส่ ามารถถ่ายทอดเหตกุ ารณ์ท่กี าลงั เกิดข้นึ ได้ ถงึ อย่างไรก็ตามภาพยนตรก์ ย็ ังนับวา่
เปน็ สือ่ ที่มีบทบาทมากในการเรยี นการสอน เช่นเดยี วกันกบั โทรทัศน์

3.8. ภาพนง่ิ การบันทึกเสียง และวิทยุ ภาพน่ิง ไดแ้ ก่ ภาพถ่าย ภาพวาดซึง่ มที ัง้ ภาพทบึ แสงและ
โปร่งแสง ภาพทบึ แสงคอื รปู ถ่าย ภาพวาด หรอื ภาพในสงิ่ พิมพต์ า่ ง ๆ สว่ นภาพนงิ่ โปรง่ ใสหมายถงึ
สไลด์ ฟลิ ์มสตรปิ ภาพโปร่งใสที่ใช้กบั เครอื่ งฉายวสั ดโุ ปร่งใส เปน็ ตน้ ภาพน่ิงสามารถจาลองความเป็น
จริงมาให้เราศึกษาบนจอได้ การบันทกึ เสยี ง ไดแ้ ก่ แผ่นเสยี งและเครอื่ งเล่นแผ่นเสียง เทปและเคร่ือง

บนั ทึกเสียง และเคร่อื งขยายเสียงตลอดจนอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วกับเสยี งซงึ่ นอกจากจะสามารถ
นามาใชอ้ ยา่ งอิสระในการเรียนการสอนดว้ ยแลว้ ยังใช้กับรายการวทิ ยแุ ละกิจกรรมการศึกษาอ่ืน ๆ
ได้ดว้ ย สว่ นวทิ ยนุ น้ั ปัจจุบันที่ยอมรับกันแล้วว่า ชว่ ยการศกึ ษาและการเรยี นการสอนไดม้ าก ซ่ึงไม่
จากดั อยูแ่ ต่เพียงวทิ ยุโรงเรยี นเทา่ นั้น แต่ยังหมายรวมถงึ วทิ ยทุ ว่ั ไปอกี ดว้ ย

3.9. ทศั นสญั ลกั ษณ์ สอ่ื การสอนประเภททัศนสญั ลกั ษณน์ ้ี มมี ากมายหลายชนดิ เช่น แผนภมู ิ
แผนภาพ แผนที่ แผนผัง ภาพโฆษณา การต์ นู เปน็ ตน้ สื่อเหลา่ นเี้ ป็นสอ่ื ท่ีมีลักษณะเปน็ สญั ลกั ษณ์
สาหรับถา่ ยทอดความหมายใหเ้ ข้าใจได้รวดเรว็ ขึ้น

3.10.วจนสัญลักษณ์ สอื่ ขน้ั น้ีเปน็ สอ่ื ท่ีจดั วา่ เปน็ ขนั้ ที่เปน็ นามธรรมมากท่สี ดุ ซ่งึ ได้แก่ตวั หนงั สอื
หรืออักษร สัญลกั ษณ์ทางคาพดู ท่เี ปน็ เสียงพูด ความเป็นรปู ธรรมของส่อื ประเภทนจี้ ะไม่คงเหลืออยู่
เลย อยา่ งไรกด็ ี ถงึ แม้สอ่ื ประเภทนจ้ี ะมลี ักษณะท่เี ป็นนามธรรมท่ีสดุ กต็ ามเรากใ็ ชป้ ระโยชนจ์ ากสื่อ
ประเภทน้ีมาก เพราะตอ้ งใชใ้ นการสื่อความหมายอยตู่ ลอดเวลา
ส่อื การสอนคือวสั ดุ อปุ กรณ์ และเทคนิค ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน โดยสามารถแบง่ ขั้นตอนการ
เรยี นการสอนออกเป็น 3 ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ 1 ขนั้ สรปุ และ 1 ข้ันประเมินผล โดยการใชส้ อ่ื การสอนนน้ั จะใช้
ส่อื ในข้ันตอนการสอนขัน้ ใดขน้ั หน่ึงกไ็ ด้ นอกจากนี้เรือ่ งการเลือกคดั สรรคส์ ื่อมาใชก้ ม็ คี ามสาคญั มาเช่นกนั ส่ือแต่
ละประเภทก็ มีความเหมาะสมกับเทคนคิ การเรียนการสอนทแ่ี ตกต่างกัน โดยการเลือกส่อื การสอนท่เี หมาะสมนัน้
มจี ุดประสงคเ์ พ่ือการเรียนการสอนทม่ี ผี ลสมั ฤทธิ์ ทด่ี ีขน้ึ หรือ เพอื่ เปน็ การสง่ เสริมเรอ่ื งพัฒนาการของนกั เรยี นเป็น
ส่วนสาคัญ นอกจากน้ีการผลิตสื่อการสอนของครผู สู้ อนเพื่อนาไปใช้ประกอบการเรยี นการสอน ยังเปน็ การแกไ้ ข
ปญั หาต่างๆท่ีนกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจ ใหน้ ักเรยี นได้เขา้ ใจงา่ ยยิง่ ขึ้น

4. ความรูพ้ ืน้ ฐานเก่ียวกบั ดนตรไี ทย
1. ความหมายและประวตั คิ วามเป็นมาของดนตรไี ทย
1.1 ความหมายของดนตรไี ทย
ดนตรีไทย หมายถึง เพลงไทยทมี่ รี ะดับเสียงซึ่งประกอบข้นึ เป็นทานอง มีลีลาจังหวะ มีความเสนาะ

ไพเราะก่อใหเ้ กิดความรสู้ ึกรน่ื เรงิ สนกุ สนาน รัก อ่อนหวาน ให้ความสขุ เศรา้ โศก ปลกุ จติ ใจใหฮ้ ึกเหิมเปน็ ตน้
ดนตรีไทย มคี วามสาคญั ตอ่ การดาเนินวถิ ีชีวติ ของคนไทยมาตั้งแต่อดตี ถึงปจั จบุ นั นยิ มให้มีวงดนตรีไทย

ร่วมบรรเลงดว้ ย เช่นงานข้นึ บ้านใหม่ งานทาบุญ งานบวชนาค งานมงคลสมรส งานเฉลิมฉลอง งานในเทศกาล
ต่างๆ ตลอดจนการบรรเลงประกอบการแสดง เป็นตน้

1.2 ประวตั คิ วามเปน็ มาของดนตรไี ทย
ดนตรีไทย เป็นดนตรีที่ศลิ ปนิ สร้างสรรค์ขึน้ ใช้บรรเลงในกิจกรรมตา่ งๆ ของสังคมท่ตี นอาศยั
อยู่ เชน่ บรรเลงเพ่ือประกอบพิธีตามความเช่ือ และเพอื่ ประกอบการแสดง
1.3 องค์ประกอบของดนตรีไทย
ดนตรีทมี่ คี วามไพเราะนา่ ฟงั จะประกอบไปดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ดงั นี้

1.3.1 เสยี งดนตรี เป็นเสยี งท่ีมนษุ ยป์ ระดิษฐ์ขึน้ มา โดยทวั่ ไปแลว้ เสียงดนตรีเกิดจากเสยี ง
ของเคร่อื งดนตรแี ละเสยี งรอ้ งเพลงของมนษุ ย์

1.3.2 ทานอง หมายถงึ เสยี งตา่ เสยี งสงู เสียงสน้ั เสียงยาว เสียงทมุ้ เสยี งแหลมของ
ดนตรหี รอื บทเพลง

1.3.3 จงั หวะ หมายถงึ การเคล่อื นไหวทส่ี มา่ เสมอ จงั หวะจะเป็นตัวกากบั เพ่ือใหก้ ารรอ้ ง
เพลงหรือการเลน่ ดนตรอี อกมาในลักษณะทพ่ี ร้อมเพรียงกัน

1.3.4 การประสานเสยี ง เสียงของเคร่อื งดนตรแี ละเสียงรอ้ งเพลงของมนุษยท์ ่ีมรี ะดับเสียง
ต่างกนั เปล่งเสียงออกมาพรอ้ มกนั เชน่ การร้องเพลงพรอ้ มกับการเล่นกีตารค์ อร์ดประสานเสยี ง
ร้อง เป็นตน้
2. แนวทานองเพลงไทย
เพลงไทยมีแนวทานองที่ก่อให้เกดิ ความรสู้ ึกทส่ี ามารถสมั ผสั อารมณ์เพลงได้อยา่ งหลากหลาย ดงั น้ี

2.1 เพลงท่ีให้ความรสู้ ึกขลัง น่าเคารพ เช่น เพลงสาธกุ าร เพลงมหาฤกษ์ เพลงมหาชยั เปน็ ตน้
2.2 เพลงที่ให้ความรสู้ ึกร่นื เรงิ สนุกสนาน เช่น เพลงคา้ งคาวกนิ กลว้ ย เพลงเขมรไลค่ วายเป็นต้น
2.3 เพลงทีใ่ หค้ วามรสู้ กึ รักออ่ นหวาน เช่น เพลงลาวดวงเดอื น เพลงชมโฉม เป็นตน้
2.4 เพลงทใ่ี หค้ วามรสู้ ึกสุขใจจากสงิ่ แวดล้อมและธรรมชาติ เช่น เพลงคลื่นกระทบฝ่งั สาม
ชน้ั เพลงเขมรไทรโยค เป็นต้น
2.5 เพลงท่ใี ห้ความรสู้ กึ เศรา้ โศก เช่น เพลงธรณกี รรแสง เพลงมอญรอ้ งไห้ เปน็ ต้น
2.6 เพลงทใ่ี ห้ความรสู้ กึ ฮึกเหิม องอาจ เร้าใจ เช่น เพลงกราวใน เพลงกราวนอก เป็นต้น

ประเภทวงดนตรไี ทย

1. ประเภทของเคร่อื งดนตรตี ามลักษณะของกริ ยิ าอาการทท่ี าให้เกดิ เป็นเสยี งดนตรีแบ่งได้เป็น 4
ประเภท คือ เคร่ืองดดี เคร่อื งสี เคร่ืองตี และเครอ่ื งเป่า และเมื่อนาเคร่ืองดนตรีมาจดั เป็นวง
ดนตรจี ะแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ เครือ่ งสายทใ่ี ชค้ ันชักสี เครอื่ งสายทใ่ี ชด้ ดี เครอ่ื งเปา่ ลมไม้
เคร่ืองเป่าโลหะ เครือ่ งกากับจงั หวะ
1. เสียงดนตรี คือ สิง่ ที่ถกู สร้างข้นึ จากธรรมชาตเิ ม่ือไดย้ นิ ไดฟ้ งั แล้วเกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม
หรอื เลยี นแบบ
2. เพลงดนตรี คือ ทานองท่ีมผี ู้ประดษิ ฐข์ น้ึ โดยมี สว่ นสดั จังหวะ วรรคตอน และสัมผัส ท่ี
ถูกต้องตามกฎเกณฑข์ องดุรยิ างคศลิ ป์
3. ทานอง หมายถงึ เสียงสูง สงู ตา่ ตา่ สลบั สบั กนั มคี วามส้ัน ยาว เบา แรง อยา่ งไรแลว้ แต่
ความต้องการของผู้แต่ง
4. จงั หวะ หมายถึง การแบง่ ส่วนย่อยของทานองเพลงซง่ึ ดาเนินไปด้วยความสม่าเสมอ ทกุ
ระยะของสว่ นท่ีแบ่งนคี้ อื “จงั หวะ” ดนตรไี ทยแบง่ จงั หวะออกเปน็ 3 อยา่ ง คือ
- จงั หวะทวั่ ไป คอื จังหวะที่มีอย่ใู นใจของผบู้ รรเลง และผูข้ บั ร้อง
- จังหวะฉงิ่ คือ การใชฉ้ ่งิ เป็นเคร่อื งตบี อกจงั หวะ หนัก เบา ชา้ เรว็ ถี่ หา่ ง
- จงั หวะหน้าทับ คอื การใช้กลองตีประกอบเพือ่ แสดงใหร้ วู้ ่าเปน็ จงั หวะเพลงประเภท ใด
และเร่งเรา้ ให้เกิดความสนุกสนานแก่ผฟู้ งั

2. การจดั วงดนตรไี ทย วงดนตรีไทยที่เปน็ แบบแผนบรรเลงกนั อยใู่ นปัจจุบัน มี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
2.1. วงปพ่ี าทย์ คอื วงบรรเลงท่ปี ระกอบดว้ ย ระนาดและฆ้อง กับเคร่อื งอปุ กรณต์ ่างๆ

บางสมยั เรยี กพิณพาทย์ ตามตานานทพ่ี ณิ เป็นต้นกาเนิด หรือมพี ณิ เปน็ ประธาน สมยั ตอ่ มาเรยี ก
“ปพี่ าทย์” เพราะมีปเ่ี ป็นประธานของวง ถงึ แมว้ งที่ไมผ่ สมดว้ ยปี่ หากเปน็ วงท่ีมีระนาดมีฆ้องกค็ ง
เรียกว่า

“ป่พี าทย์” ทัง้ น้นั วงปพ่ี าทย์ มชี อ่ื เรียกตามปริมาณของเคร่อื งผสมที่อยใู่ นวงได้ 3 ขนาด คือ ป่ี
พาทยเ์ ครือ่ งหา้ ปี่พาทยเ์ ครือ่ งคู่ และปพี่ าทยเ์ ครอื่ งใหญ่
ปีพ่ าทย์เครอ่ื งหา้ มเี ครอ่ื งบรรเลงท่ีสาคัญ 5 อย่างคอื ปใี่ น ปีน่ อก ฆอ้ งวงใหญ่ ตะโพน
กลองทัด

วงป่ีพาทยเ์ ครอื่ งห้ามี “ฉง่ิ ” เปน็ เครอื่ งดนตรปี ระกอบจงั หวะเพมิ่ เป็นพเิ ศษอกี ส่ิงหนงึ่
ทรัพยากรสารสนเทศดา้ นดนตรี

- ป่พี าทย์เครอื่ งคู่ มเี ครอื่ งดนตรีบรรเลงทุกอย่างที่เหมอื นวงป่พี าทยเ์ ครอื่ งห้า แตเ่ พมิ่ เครอื่ ง
ดนตรใี ห้มเี ปน็ คู่ ๆ ขน้ึ ได้แก่ ปน่ี อก ป่ใี น ระนาดเอก ระนาดทมุ้ ฆอ้ งวงใหญ่ ฆอ้ ง
วงเลก็ โหมง่

เคร่อื งประกอบจังหวะ คอื ฉ่งิ ฉาบเลก็ ฉาบใหญ่ ส่วนกรับนน้ั ใชข้ ณะบรรเลงขับรอ้ ง หรือ
ประกอบเสภา วงปี่พาทยเ์ ครอื่ งคู่

- ปีพ่ าทยเ์ คร่ืองใหญ่ มีเครอ่ื งบรรเลงอยา่ งเดยี วกบั ปี่พาทยเ์ ครอื่ งคู่ แตเ่ พิม่ เครื่องบรรเลง
อีก บางอยา่ ง ไดแ้ ก่ ป่ีนอก ปี่ใน ระนาดท้มุ ระนาดเอก ฆอ้ งวงเลก็ ฉาบเล็ก
ส่วนตะโพนกบั กลองเป็นของคกู่ ันอย่แู ลว้ จงึ ไม่ตอ้ งเพ่ิม แตเ่ พ่ิมเคร่ืองบรรเลงอีกบางอยา่ ง เชน่
ระนาดเอกเหล็กหรือทอง ระนาดทมุ้ เหล็ก ฉาบใหญ่ โหมง่

วงป่ีพาทย์เครื่องใหญ่ ฉะนั้น วงปี่พาทย์ทีเ่ ปน็ หลกั ของไทยจึงมีอยู่ 3 ขนาด แต่ยังแยก
ออกไปโดยผสมเคร่อื งบรรเลง หรอื เครอื่ งอุปกรณ์ให้เกดิ เป็นชอ่ื เรียกแตกต่างกันออกไปไดอ้ กี
เชน่ ปี่พาทยน์ างหงส์
และป่ีพาทยด์ กึ ดาบรรพ์

ด้านดนตรี ปพ่ี าทยน์ างหงส์ คาวา่ “นางหงส”์ เป็นชื่อเพลงเพลงหนง่ึ และเพลงนางหงส์นี้
ใชแ้ ต่เฉพาะในงานศพเทา่ น้นั สว่ นวงปพ่ี าทยท์ ่ีใชบ้ รรเลงเพลงนางหงส์ก็เช่นเดียวกบั วงปพ่ี าทย์
ทุกวง ไมว่ ่าจะเปน็ ป่ีพาทย์เครือ่ งหา้ ป่พี าทย์เคร่ืองคู่ หรือปี่พาทยเ์ คร่อื งใหญ่ และใช้ป่ีชวาแทน
ป่ีใน ปน่ี อก และกลองมลายู
(เหมอื นกลองแขก แตม่ สี ายโยงตีดว้ ยไมง้ อๆ) เปน็ เครอ่ื งประกอบจงั หวะแทนตะโพน และกลอง
ทัด

ปพ่ี าทยด์ กึ คาบรรพ์ เปน็ วงปพ่ี าทยท์ ีส่ มเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานวุ ดั ติวงศ์ ได้ทรง
รว่ มกบั เจา้ พระยาเทเวศรว์ งศ์ววิ ฒั น์ (ม.ร.ว.หลาน กุญชร) คดิ ผสมขน้ึ ใหม่สาหรบั ใช้
ประกอบการแสดงละครดกึ ดาบรรพ์ โดยทรงเลอื กใชแ้ ตเ่ คร่ืองดนตรีที่มเี สยี งนุ่มนวลไดแ้ ก่
ระนาดเอก(ตดี ว้ ยไมน้ วม) ขลยุ่ อู้ ระนาดทมุ้ ไม้ ซออู้ ระนาดทมุ้ เหลก็ ตะโพน 2 ลกู (ตแี ทน
กลองทัด) ฆ้องวงใหญ่ ฆอ้ งหุ่ย(มี7ลกู เรยี งเสียงลาดับ7เสยี ง) ขล่ยุ เพียงออ เป็นวงป่พี าทย์ทมี่ ี
ความไพเราะ น่าฟัง เหมาะสมกบั การแสดงละคร ดว้ ยเหตนุ ี้ จึงได้รับการขนาน นามว่า “ปพี่ าทย์
ดึกดาบรรพ”์

2.2 วงเครื่องสาย คอื วงดนตรที ี่ประกอบดว้ ยเครอ่ื งดนตรีจาพวกมสี ายเปน็ ประธาน มี
เครื่อง เปา่ และเคร่ืองตเี ปน็ ส่วนประกอบ แบ่งออกเป็น 2 ขนาด คือ ก. เคร่อื งสายวงเลก็ มี
เครือ่ งบรรเลง 7อย่าง คือ ซออู้ ซอดว้ ง จะเข้ ขลุ่ยเพยี งออ โทน รามะนา ฉ่งิ จะเพ่มิ

ฉาบเล็กและโหม่งก็ได้ เคร่ืองสายวงเล็ก
-เครอ่ื งสายเครื่องคู่ เครอ่ื งดนตรเี ชน่ เดียวกบั เครอ่ื งสายวงเลก็ แต่เพมิ่ ซออู้ ซอดว้ ง จะเข้

ให้เปน็ อย่างละ 2 เคร่อื งแตข่ ลุ่ยท่จี ะเพมิ่ ต้องเปน็ “ขล่ยุ หลิบ” (ซงึ่ เลก็ และเสยี งสูงกวา่ ขลุย่
เพยี งออ)

2.3 วงมโหรี เป็นวงดนตรีไทยทผ่ี สมระหวา่ งวงป่ีพาทยก์ บั วงเครอื่ งสาย โดยยอ่ ขนาด
เคร่ืองดนตรี ของวงป่ีพาทยใ์ ห้เลก็ ลง เพมิ่ เสียงใหแ้ หลมเล็กข้ึน เพ่อื ใหก้ ลมกลืนกบั ตน้ เสยี งวง
เครื่องสาย และตดั เครอื่ งดนตรีในวงปี่พาทย์เครื่องสาย ซึ่งทาหนา้ ท่ซี ้าบางอยา่ งออก เช่น ปีใ่ น
ซงึ่ ซ้ากบั ขลุ่ย และตะโพนซา้ กบั โทน-รามะนา และเพิ่มเครอื่ งดนตรที ี่ไมม่ ีอยู่ในวงปี่พาทย์ และวง
เครอ่ื งสาย คือ “ซอสามสาย” วงมโหรีแบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ

- มโหรเี ครือ่ งเลก็ ประกอบดว้ ยเคร่ืองดนตรี ดังน้ี ซอด้วง ซออู้ ซอสามสาย จะเข้
ขลุ่ยเพยี งออ ระนาดเอก ฆอ้ งมโหรี(เรียกว่า ฆ้องกลาง) โทน รามะนา ฉง่ิ

- มโหรเี ครือ่ งคู่ ประกอบดว้ ยเครอื่ งดนตรีดงั น้ี ซอดว้ ง 2 คนั ซออู้ 2 คนั ซอสาม
สาย ซอสามสายหลบิ (เล็กกว่าซอสามสายธรรมดา) จะเข้ 2 ตัว ขล่ยุ เพียงออ ขลุ่ยหลบิ
ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆอ้ งมโหรี ฆอ้ งวงเลก็ โทน รามะนา ฉ่ิง ฉาบเล็ก

- มโหรีเครือ่ งใหญ่ ประกอบดว้ ยเครือ่ งดนตรีดังนี้ ซอด้วง 2 คัน ซออู้ 2 คนั ซอ
สามสาย ซอสามสายหลบิ (เลก็ กว่าซอสามสายธรรมดา) จะเข้ 2 ตวั ขลุ่ยเพยี งออ ขลุ่ยหลบิ
ระนาดเอก ระนาดทมุ้ ระนาดเอกเหล็ก ฆ้องมโหรี ฆ้องวงเลก็ โทน รามะนา ฉง่ิ
ฉาบเล็ก ระนาดทุม้ เหล็ก

นอกจากน้ี ไทยเรายังมีดนตรพี นื้ เมอื งภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคอสี าน ตลอดจนดนตรี
สาหรบั บรรเลง ประกอบพระราชพธิ ีอีกหลายชนิดด้วยกนั เช่น แตร สังข์ มโหระทกึ บณั เฑาะว์
ปีไ่ ฉน กลองชนะ เป็นต้น

3. ความสาคัญของดนตรี ดนตรมี คี วามสาคัญตอ่ มนษุ ย์และสงั คม สรปุ ไดด้ งั น้ี
3.1 เปน็ สอ่ื ให้ความบนั เทิงและถา่ ยทอดอารมณ์และความรู้สึก ดนตรเี ปน็ เสียงทีเ่ รียบเรยี ง

ขน้ึ อย่างเป็นระบบทาให้เกดิ ความไพเราะ มคี ุณคา่ และกระตุ้นผ้ฟู ังใหเ้ กดิ อารมณต์ ่างๆ เชน่ รัก
ครกึ ครนื้ ดใี จ โศกเศร้า เสยี ใจ มนษุ ย์จงึ ใชด้ นตรเี ป็นส่อื เพื่อใหค้ วามเพลดิ เพลิน สนุกสนาน และ
สร้างความสามัคคี ในหม่คู ณะ

3.2 เป็นแหลง่ ความรู้และภมู ิปญั ญาของมนุษย์ นอกจากจะใหเ้ สียงทไี่ พเราะแลว้ ดนตรี
ยงั ให้ เนื้อหาทเ่ี ป็นความรใู้ นสาขาวชิ าการต่าง ๆ ตลอดจนเรือ่ งราวเกีย่ วกบั ศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวถิ ีชวี ติ ของมนษุ ยใ์ นแตล่ ะยุคแต่ละสมยั ท่ีถ่ายทอดออกมาเปน็
เพลงหรือบทเพลง ดนตรจี งึ เปน็ แหลง่ สารสนเทศลกั ษณะพเิ ศษประเภทหนงึ่ ท่สี ามารถนามาใช้
ศึกษาวชิ าการสาขาต่างๆ ได้

3.3 เปน็ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ ดนตรเี ปน็ ศลิ ปะแขนงหน่ึง แตล่ ะท้องถิน่ ในแต่
ละประเทศจะสรา้ งสรรคด์ นตรที ่ีเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนเอง จงึ ถือวา่ ดนตรีเป็นมรดกทาง
ศิลปวฒั นธรรม ของชาติที่ต้องมกี ารอนรุ กั ษใ์ หค้ งอย่คู ่ชู าตติ ลอดไป

5. ภาษาท่านาฏศิลป์ เป็นการนาท่าทางตา่ งๆ และสหี นา้ ทีม่ ีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น คาพดู กรยิ าอาการ
อารมณ์ ความรูส้ ึก มาปฏบิ ตั ิเป็นทา่ ทางนาฏศิลป์ไทยทม่ี คี วามหมายแทนคาพดู ใหส้ อดคลอ้ งกับจงั หวะเพลงและ
การขับรอ้ ง การฝกึ ปฏิบัติ การฝกึ หดั ภาษาทา่ จะตอ้ งฝกึ ใหถ้ ูกตอ้ งตามแบบแผนเพือ่ จาได้ส่ือความหมายได้
โดยตรง ซึ่งจะทาให้ผชู้ มเข้าใจความหมายที่ผแู้ สดงต้องการสอื่ ความหมายมากขน้ึ

ทมี่ าของภาษาทา่ ทใี่ ช้ในการแสดงนาฏศิลป์ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท
5.๑ ภาษาท่าทม่ี าจากธรรมชาติ เปน็ ท่าทางทดี่ ดั แปลงมาจากท่าทางตามธรรมชาติของคนเรา แต่

ปรบั ปรงุ ให้ดูสวยงามออ่ นชอ้ ยมากยงิ่ ขึ้น โดยใชล้ กั ษณะการ รา่ ยราเบอ้ื งต้นมาผสมผสาน เชน่ ทา่ ย้ิม ท่าเรียก
ทา่ ปฏิเสธ ทา่ รอ้ งไห้ ทา่ ดใี จ ท่าเสยี ใจ ทา่ โกรธ

5.๒ ภาษาทา่ ทมี่ าจากการประดิษฐ์โดยตรง เป็นทา่ ทางที่ประดษิ ฐ์ ข้นึ เพอ่ื ให้เพยี งพอใช้กบั คาร้อง
หรือคาบรรยาย ทจ่ี ะต้องแสดงออกเป็นทา่ รา เชน่ สอดสร้อยมาลา เป็นต้น

ภาษาท่าเป็นสง่ิ สาคัญท่ใี ชค้ วามหมายระหวา่ งผแู้ สดงและผู้ชม ในการแสดงนาฏศลิ ป์ เพราะทาใหผ้ ชู้ ม
ทราบวา่ ผ้แู สดงกาลงั สือ่ อะไร หรอื กาลังมอี ารมณ์อยา่ งไร

ภาษาทา่ สามารถแบง่ ได้เป็น ๓ ลกั ษณะ คือ
๑. ภาษาทา่ ทใ่ี ชแ้ ทนคาพดู
๒. ภาษาท่าที่ใช้แทนกิริยาอาการตา่ งๆ
๓. ภาษาท่าทีใ่ ชแ้ สดงอารมณ์ ความรูส้ กึ ภายใน
ภาษาท่าทางนาฏศิลป์

ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ในชีวิตประจาวันทุกวันนม้ี นุษย์เราใชท้ ่าทางประกอบการพดู หรอื บางครัง้ มกี าร
แสดงสหี นา้ ความรูส้ กึ เพอ่ื เน้นความหมายดว้ ยในทางนาฏศิลป์ ภาษาทา่ เสมือนเปน็ ภาษาพูด โดยไมต่ อ้ งเปล่ง
เสยี งออกมา แต่อาศยั ส่วนประกอบอวยั วะของรา่ งกาย แสดงออกมาเป็นทา่ ทาง โดยเลียนแบบท่าทางธรรมชาติ
เพ่อื ใหผ้ ูช้ มสามารถเขา้ ใจได้ การปฏบิ ัติภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปแ์ บ่งออกได้ ดงั นี้

1. ภาษาทา่ ทางนาฏศิลปท์ ่ใี ชแ้ ทนคาพดู เช่น ฉนั เธอ ท่าน ปฏิเสธ ทา่ เรยี ก ทา่ ไป
2. ภาษาท่าทางนาฏศิลป์อริ ยิ าบทหรือกริ ิยาอาการ เช่น ทา่ ยนื ทา่ เดิน ทา่ นั่ง
3. ภาษาท่าทางนาฏศิลปท์ ี่ใชแ้ สดงอารมณค์ วามรู้สึก เชน่ ดใี จ เสยี ใจ โกรธ เศร้าโศก

การอธิบายภาษาทา่ ของนาฏศิลป์
1. ย้ิม ใช้มือซา้ ยยกจีบมอื ทจี่ บี ระดบั ปาก และหกั ข้อมือเข้าหาใบหน้า ใหป้ ลายนวิ้ ชี้และ

นิ้วหัวแม่มืออยู่ตรงระดับปาก
2. อาย ใชฝ้ า่ มอื หงายแตะที่ขา้ งแก้ม เอยี งและก้มหนา้ เลก็ น้อยขา้ งเดยี วกับมอื ทแี่ ตะแกม้
3. ฉันหรอื ตวั เรา ใชม้ ือซ้ายจีบหันข้อมือที่จีบเข้าหาลาตัวและวางมอื อยูร่ ะดับระหว่างอก
4. ทา่ น เธอ คาว่าท่าน ซง่ึ เป็นบรุ ุษที่ 2 น้ี ใชแ้ ทนตัวผู้ท่มี ีเกยี รติหรอื ศักดทิ์ ี่สงู กว่าผพู้ ดู
ไม่ควรใชก้ ารช้ี ควรใชส้ ่วนท้งั หมดของฝ่ามือในลักษณะของการตะแคงมอื ให้ปลายมือไปสูผ่ ู้ที่

กล่าวถึงและคาวา่ เธอ จะใชล้ ักษณะของการชมี้ อื ได้ ขอ้ ควรระวัง การใชก้ ริ ิยาชม้ี อื ควรจะเป็นลกั ษณะของ
การตะแคงนว้ิ ช้ี สว่ นลักษณะการใช้นวิ้ ชีช้ ตี้ รงหรอื ควา่ มอื จะบอกถงึ อารมณโ์ กรธ ไม่พอใจ

5. ไป จะชมี้ ือใดกเ็ ริ่มจากการจบี หงาย ยกจีบระดับหนา้ อกแล้วมว้ นมือออกไปเป็นวงหนา้ หรือ
วงขา้ งกไ็ ด้

6. รกั ใช้ลกั ษณะของการประสานมอื ใหป้ ลายน้วิ ทงั้ สองมอื ทาบแตะทฐ่ี านไหล่ กริ ยิ านมี้ ีความ
หมายถึงการหม่ ผา้ กไ็ ด้

7. เปน็ ทุกข์ หว่ งใย คอย ใช้ประสานลาแขนระดับทอ้ งปลายมอื ทง้ั สองแตะใกล้กระดกู เชงิ กราน
8. ปฏเิ สธ ให้ตงั้ มอื ขึ้นระดบั วงหนา้ แลว้ สน่ั ปลายมอื พร้อมสา่ ยหนา้ เล็กนอ้ ย
9. เสยี ใจ ร้องไห้ ให้ยกมือซ้ายแตะหนา้ ผาก มอื ขวากมุ ที่ชายพกหรอื หวั เข็มขัดและสะด้งุ ตวั ข้นึ
ลงพรอ้ มดว้ ย แสดงวา่ กาลังสะอนื้
10. โกรธ ใช้ฝ่ามอื ข้างใดข้างหนึ่งถูท่กี ้านคอ ตอนใตใ้ บหูไปมาพรอ้ มทัง้ กระทบื เท้าลงอยา่ งแรง
11. มา ใหต้ ง้ั มอื พอประมาณระดับวงหนา้ แลว้ กดปลายมอื ลงจีบควา่ และตวดั จีบเข้าหาลาตัว
12. การรบั ใชม้ ือใดมือหนงึ่ ก็ไดต้ ั้งมือระดบั วงหนา้ แลว้ พลกิ ชอ้ นมอื หงายข้นึ ถ้ารบั สองมอื ก็ต้งั
มือท้งั สองใหเ้ หลอื่ มกนั แลว้ พลกิ ช้อนฝา่ มอื พร้อมกัน
13. หอมหรอื ดม ใชม้ ือซ้ายจบี และหกั ขอ้ มอื ทจ่ี ีบเข้าหาให้ปลายนว้ิ ช้แี ละน้วิ หวั แมม่ ืออยูร่ ะดบั
จมกู
14. เกอ้ เขนิ ถฝู ่ามอื ทง้ั สองแล้วท้ิงแขนลงล่างแกว่งตวั และชว่ งแขนไปมา
15. รา่ เริง เบิกบาน เริ่มใช้ทา่ ดว้ ยการจีบมือทั้งสอง หักขอ้ มอื เข้าหาลาตัวระดบั อก แล้วม้วนมอื
ออกตง้ั วงกลางและกระแทกทอ้ งแขนให้เหยยี ดตึงระดับไหลท่ ั้งสองข้าง
16. ดใี จ ปรบมอื ทงั้ สองเข้าหากันระดับอก
17. กลวั มอื ทัง้ สองประสานกันระดบั อก ถา้ สัน่ มอื ท่ปี ระสานกัน แสดงวา่ กลัวมาก
18. ความรุ่งเรอื ง สวา่ งไสว เปิดเผย เริ่มทา่ ดว้ ยการจบี ควา่ ระดับหนา้ ท้อง
จบี คว่าใหม้ ือท้งั สองเรยี งระดบั เดยี งกันหรือซ้อนมือกันกไ็ ด้ แล้วคอ่ ยๆคลายจบี ทั้งสอง แยกมือ
ออกไปตง้ั วงบัวบาน
19. แสดงความเป็นใหญ่ ใชม้ อื ใดมอื หนึ่งต้งั วงบวั บาน อกี มือหนึ่งตง้ั และเหยียดตรงระดับไหลท่ ี่
เรียกว่า ทา่ นภาพร
หรอื จะใช้วงบวั บานท้งั สองมือทีเ่ รียกว่า ทา่ พรหมสีห่ น้าก็ได้
20. ความสวย ความงาม ใชม้ ือใดมือหนง่ึ ตง้ั วงบวั บานอีกมือหนึง่ ต้ังวงหน้าท่ีเรียกวา่ ทา่ เฉดิ ฉิน
การแสดงออกทางทา่ ทางเพือ่ ใหผ้ ูช้ มเขา้ ใจความหมายของผ้แู สดงท่สี ่อื ออกมาเรียกวา่ ภาษาทา่ โดยแบ่ง
ออกเปน็ ภาษาทา่ ทม่ี าจากธรรมชาติ และ ภาษาท่าท่มี าจากการประดิษฐโ์ ดยตรง ซ่งึ ภาษาทา่ น้ันเปน็ การสดงออก
ทางนาฏศิลป์ ทใี่ ชแ้ ทน คาพูด แทนกริ ยิ าอาการตา่ ง ๆ ตลอดจนใช้แสดงแทนอารมณ์ และความรสู้ กึ ภายใน

6. ทัศนธาตุ

ทัศนะ หมายถงึ การเห็น ส่ิงทีม่ องเหน็ ธาตุ หมายถึง สิ่งทถี่ อื ว่าเป็นส่วนสาคัญท่ีรวมกัน

เป็นรปู ร่างของสง่ิ ทัง้ หลาย

ทศั นธาตุ หมายถงึ ส่วนสาคญั ทีร่ วมกนั เป็นรปู รา่ งของส่ิงทัง้ หลายตามท่ตี ามองเหน็

ทัศนธาตุ ไดแ้ ก่

1) จดุ (Dot)

2) เส้น (Line)

3) สี (Color)

4) รูปร่างและรูปทรง (Shape and Form)
5) นา้ หนกั (Value)
6) บรเิ วณว่าง (Space)
7) ลักษณะผวิ (Texture)
1) จดุ (Dot) จดุ หมายถึง รอยหรือแตม้ ทีม่ ลี กั ษณะกลมๆ ปรากฏท่ผี วิ พ้นื ไม่มขี นาด ความกวา้ ง
ความยาว ความหนา เป็นสิง่ ที่เล็กที่สดุ และเปน็ ธาตุเร่ิมแรกทท่ี าให้เกดิ ธาตอุ ืน่ ๆ ข้ึน
2) เส้น (Line) เสน้ คอื จุดหลาย ๆ จดุ ต่อกันเป็นสาย เปน็ แถวแนวไปในทศิ ทางใดทศิ ทางหนึง่ เป็นทาง
ยาวหรือจดุ ทเ่ี คลื่อนท่ีไปในทศิ ทางใดทศิ ทางหนง่ึ ด้วยแรงผลักดนั หรอื รอยขูดขดี เขียนของวตั ถเุ ป็นรอยยาว เสน้
แบ่งเป็นลักษณะใหญ่ ๆ 2 ลักษณะ ดังน้ี
1. เส้นตรง

1.1. เสน้ ดงิ่ คือ เสน้ ตรงทีต่ งั้ ฉากกับพ้นื ระดับใหค้ วามรู้สกึ มัน่ คง แข็งแรง สงา่ รงุ่ เรอื ง
สมดลุ พงุ่ ขึ้น

1.2. เสน้ นอน คือ เสน้ ตรงทีน่ อนราบไปกับพนื้ ระดบั ให้ความรสู้ ึกกวา้ งขวาง สงบเงียบ
เยือกเยน็ ผ่อนคลาย

1.3.เสน้ เฉยี ง คอื เส้นตรงเอนไม่ต้ังฉากกบั พนื้ ระดับใหค้ วามรู้สกึ ไมม่ ่ันคง เคล่อื นไหว
แปรปรวน ไมส่ มบูรณ์

1.4. เส้นฟนั ปลา คือ เส้นตรงหลายเสน้ ต่อกนั สลบั ข้นึ ลงระยะเทา่ กัน ให้ความรสู้ กึ
รุนแรง กระแทก ตื่นเต้น อนั ตราย ขัดแย้ง

1.5. เสน้ ประ คอื เส้นตรงทข่ี าดเป็นช่วง ๆ มรี ะยะเท่ากัน ให้ความรูส้ กึ ตอ่ เนื่องขาด
ระยะใจหาย ไมแ่ นน่ อน
2. เส้นโคง้

2.1. เส้นโค้งลง คือ เส้นทเ่ี ปน็ ทอ้ งกระทะคลา้ ยเชอื กหยอ่ น ให้ความรสู้ ึกอ่อนโยน
เคลอื่ นไหวไมแ่ ขง็ แรง

2.2. เสน้ โคง้ ขึ้น คือ เสน้ ทโ่ี คง้ เปน็ หลงั เตา่ คลา้ ยคนั ธนใู หค้ วามรู้สกึ แขง็ แรง เชอื่ ม่ัน
เคลื่อนไหว
3. เส้นคด คอื เสน้ โค้งขน้ึ โคง้ ลงต่อเนอื่ งกันคลา้ ยคลน่ื ในทะเล ให้ความร้สู กึ เล่อื นไหล ต่อเน่ือง
ออ่ นชอ้ ย นมุ่ นวล
4. เสน้ ก้นหอย คือ เส้นโคง้ ต่อเนอื่ งกนั วนเขา้ เล็กลงเปน็ จุดคล้ายก้นหอย ให้ความรู้สกึ อดึ อดั
เคลือ่ นไหวคล่ีคลาย
5. เส้นโค้งอิสระ คอื เส้นโคง้ ตอ่ เนอ่ื งกนั ไปไม่มที ศิ ทาง คลา้ ยเชอื กพนั กัน ให้ความรู้สกึ วนุ่ วาย ยงุ่
เหยิง ไมเ่ ป็นระเบียบ

3) สี (Colour) สี หมายถงึ ลกั ษณะของแสงสวา่ ง ปรากฏแกต่ าใหเ้ หน็ เปน็ สี
ขาว ดา แดง เขียว นา้ เงิน เหลอื ง เป็นต้น ถ้าไม่มีแสงจะมองไมเ่ หน็ สี ซง่ึ สีมี 2 ชนิด ดงั น้ี

1. สีทเี่ ปน็ วตั ถุ (Pigment) สีทเี่ ปน็ วัตถสุ ีผงหรอื ธาตใุ นรา่ งกายทท่ี าใหค้ นมสี ีตา่ ง ๆ สที ่ีเกิดจาก
วัตถุธาตุ เชน่ จากพชื สตั ว์ แรธ่ าตุ เป็นต้น ซง่ึ เปน็ สที ่ใี ชใ้ นงานศลิ ปะ

2. สีท่ีเป็นแสง (Spectrum) สีที่เกิดจากการหักเหของแสง แสงสอ่ งผา่ นแท่งแก้ว แสงแดด
ส่องผา่ นละอองนา้ ในอากาศจะเกิดการหกั เหของแสงเป็นสรี ุ้ง 7 สี ได้แก่ สีแดง ส้ม เหลอื ง เขียว นา้
เงิน คราม มว่ ง

วงจรสธี รรมชาติ วงจรสี เกดิ จากการนาเอาแม่สที เ่ี ปน็ วัตถมุ าผสมกนั เป็นสี 3 ขน้ั มี 12 สี คือ สี
เหลือง เหลอื งเขยี ว เขียว เขยี วนา้ เงิน นา้ เงิน นา้ เงินมว่ ง มว่ ง มว่ งแดง แดง แดงสม้ ส้ม เหลืองส้ม หรือ
เรียกวา่ วงล้อของสี

1. สีขน้ั ที่ 1 คือ สีทไ่ี มม่ สี ใี ดสามารถผสมใหไ้ ด้สีนนั้ ไดแ้ ก่ สแี ดง สเี หลอื ง สีนา้ เงิน
2. สีข้ันที่ 2 (Secondary Colours) สีขน้ั ที่ 2 เกดิ จากการนาเอาแมส่ ที ี่เปน็ วตั ถทุ ั้ง 3 สี มา
ผสมกันเกดิ สีใหม่ข้ึนมาอกี 3 สี คอื ส้ม เขยี ว ม่วง
3. สขี ั้นท่ี 3 (Tertiory Colours) สีขน้ั ที่ 3 เกิดจากการนาเอาสขี นั้ ท่ี 1 กับสขี น้ั ท่ี 2 มาผสมกัน
ทลี ะคู่ท่ีอยตู่ ดิ กัน จะไดส้ เี พ่มิ ข้ึนอกี 6 สี

ความหมายของสี
สีแดง = ตืน่ เตน้ เร้าใจ อนั ตราย พลงั อานาจ รกั
สสี ม้ = ตน่ื ตัว ตื่นเต้น เรา้ ใจ สนกุ สนาน
สเี หลอื ง = สดใส รา่ เริง ฉลาด เปร้ยี ว
สเี ขียวอ่อน = สดชน่ื ร่าเรงิ เบกิ บาน
สีเขียวแก่ = สะอาด ปลอดภยั สดช่นื ธรรมชาติ ชรา
สีน้าเงิน = สภุ าพ เชอ่ื มนั่ หนกั แน่น ถ่อมตัว ผู้ชาย
สีฟา้ = ราบรน่ื สว่าง วยั รุน่ ทันสมัย สีมว่ ง = ฟุม่ เฟอื ย ลกึ ลบั ขเ้ี หงา
สีชมพู = ความรกั ผู้หญงิ ออ่ นหวาน นุ่มนวล หอม
สีขาว = ความบรสิ ุทธิ์ สะอาด ปลอดภัย เดก็ ทารก
สีดา = ทกุ ข์ ลกึ ลับ สืบสวน หนกั แนน่
สีเทา = สภุ าพ ขรมึ
สีน้าตาล = อนรุ กั ษ์ โบราณ ธรรมชาติ

4) รูปรา่ งและรปู ทรง (Shape and Form) รปู รา่ ง (Shape) หมายถงึ เส้นรอบนอกของวตั ถุ คน
สัตว์ สิง่ ของ มลี กั ษณะเปน็ 2 มิติ (กวา้ ง ยาว)

5) นา้ หนัก (Value) น้าหนัก หมายถึง ความออ่ นแกข่ องสี หรอื แสงเงาท่นี ามาใชใ้ นการเขียนภาพ

นา้ หนกั ทาใหร้ ปู ทรงมี ปรมิ าตร และให้ระยะแก่ภาพ แสงและเงา (Light & Shade) แสงและเงา เป็นองค์ประกอบ

ทีอ่ ยู่คกู่ นั แสง เมื่อส่องกระทบกับวัตถุ จะทาใหเ้ กดิ เงา แสงและเงา เปน็ ตัวกาหนดระดบั ของค่านา้ หนัก ความเข้ม

ของเงาจะขน้ึ อยู่กบั ความเขม้ ของแสง ในท่ีที่มแี สงสวา่ งมาก

6) บรเิ วณวา่ ง (Space) บรเิ วณว่าง หรือ ชอ่ งไฟ คือ

1. อากาศท่โี อบลอ้ มรูปทรง

2. ระยะหา่ งระหว่างรูปทรง

3. บรเิ วณภายในรปู ทรงท่มี ีลักษณะกลวงหรือทะลุเป็นช่องที่มีอากาศผา่ นเขา้ ไปได้

4. บริเวณว่างของภาพเขียนหรือภาพวาด ท่ีมองดูเปน็ ช่องลึกเขา้ ไปในภาพ เรียกว่า บรเิ วณว่าง

ลวงตา

7) ลกั ษณะผิว (Texture)

ลักษณะผิว หมายถึง ลกั ษณะภายนอกของวตั ถุที่มองเหน็ และสมั ผัสพนื้ ผวิ ได้ แสดงความรู้สกึ หยาบ ละเอียด

ขรุขระ มัน ด้านเปน็ เสน้ เป็นจุด จับดูแลว้ สะดดุ มือ หรอื สัมผสั ไดจ้ ากความรู้สึกผวิ เปน็ ทศั นธาตทุ นี่ ามาประกอบใน

การสร้างงานศลิ ปะ ลกั ษณะผิวทีแ่ ตกตา่ งกนั จะทาใหเ้ กิดความรู้สึกแตกตา่ งกนั

7. พัฒนาการวยั รุ่น (Adolescence)
วัยรนุ่ เป็นวยั ท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งมากทั้งทางด้านรา่ งกายและจติ ใจ สงั คมปัจจบุ ันเป็นยคุ ข่าวสารไร้

พรมแดน สง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ความรู้สกึ นึกคิดของวัยรนุ่ มากขน้ึ ดว้ ย ในระยะวัยรนุ่ เป็นระยะหวั
เล้ียวหวั ต่อของชวี ติ เป็นวยั วกิ ฤต (critical period) หรือวยั พายบุ ุแคม (strom and stress) เนอื่ งจากมีการ
ปรับเปลยี่ นการดาเนินชวี ติ อยา่ งมาก มปี ัญหาและมีความยากลาบากในการปรบั ตัว

วยั รุ่น (Adolescence) เป็นวัยทีม่ พี ฒั นาการปรับเปล่ยี นจากวัยเดก็ เขา้ สู่วยั ผู้ใหญ่ เร่มิ ต้งั แต่ชว่ งอายุ
ประมาณ 12 หรอื 13 ปี จนกระท่งั ถงึ อายปุ ระมาณ 20 ปี มีการเปลยี่ นแปลงทางด้านรา่ งกายเปน็ สญั ญาณ
สาคญั ทีบ่ อกถึงการพ้นระยะการเปน็ เด็ก คือการเปล่ยี นแปลงร่างกายภายนอกและการมีวฒุ ภิ าวะทางเพศ เชน่
ความสงู นา้ หนกั การเรมิ่ มีลักษณะทางเพศ ไดแ้ ก่ การมหี นา้ อกในวัยรนุ่ หญงิ การมหี นวดและการเปลีย่ นแปลง
ของเสยี งในวัยรนุ่ ชาย ขณะเดียวกันกม็ กี ารเปล่ยี นแปลงในพฒั นาการดา้ นอ่ืน ๆ ดว้ ย เช่น ความสนใจในเพศตรง
ข้าม การเปลยี่ นแปลงทางอารมณแ์ ละสงั คม เป็นต้น (Papalia and Olds, 1995 ; ศรเี รือน แก้วกงั วาล, 2538)
มกี ารแบ่งระยะของวัยรนุ่ ออกเป็น 3 ระยะดงั น้ี (Cole อ้างถงึ ใน สชุ า จนั ทน์เอม, 2536)

วยั รุน่ ตอนต้น (early adolescence) เดก็ หญิงมอี ายุระหว่าง 13 – 15 ปี เด็กชายมีอายรุ ะหว่าง
15 – 17 ปี

วัยรนุ่ ตอนกลาง (middle adolescence) เดก็ หญงิ มีอายรุ ะหว่าง 15 – 18 ปี เด็กชายมอี ายรุ ะหวา่ ง
17 – 19 ปี

วยั รุน่ ตอนปลาย (late adolescence) เดก็ หญงิ มอี ายุระหวา่ ง 18 – 21 ปี เด็กชายมีอายรุ ะหวา่ ง
19 – 21 ปี

พฒั นาการทางด้านร่างกาย
Secondary Sex Characteristic (ลักษณะทางเพศหรือลกั ษณะทตุ ิยภมู ทิ างเพศ) คอื ลกั ษณะที่แบง่ แยก

ความเปน็ ชายหน่มุ ความเปน็ หญิงสาวท่ีเพง่ิ เริม่ เจริญเตบิ โตเต็มทีใ่ นวัยแรกรนุ่ การเจริญเติบโตของลักษณะทาง
เพศมีพฒั นาการ 3 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ (ศรเี รอื น แก้วกงั วาล, 2538)

Pre–pubescence เป็นระยะลักษณะทางเพศสว่ นตา่ ง ๆ เรม่ิ พัฒนา เช่น สะโพกเร่ิมขยาย เตา้ นมของ
เดก็ หญงิ เร่มิ เจรญิ เสยี งของเดก็ ชายเร่ิมแตกพรา่ แต่อวัยวะสบื พนั ธุ์ (Productive organs) ยงั ไม่เร่มิ ทาหน้าท่ี

Pubescence เป็นระยะท่ลี ักษณะทางเพศสว่ นตา่ ง ๆ ยงั คงมกี ารเจริญตอ่ ไป อวยั วะสืบพนั ธุ์เรมิ่ ทาหนา้ ที่
แต่ยังไม่สมบูรณ์ เดก็ หญงิ เริ่มมีประจาเดอื น เด็กชายเร่มิ สามารถผลติ เซลล์สืบพนั ธไุ์ ด้

Post-pubescence หรอื Puberty เป็นระยะท่ีลกั ษณะทางเพศทกุ สว่ นเจรญิ เติบโตเต็มท่ี อวัยวะสืบพันธ์ุ
ทาหน้าท่ไี ด้ มวี ุฒภิ าวะทางเพศสามารถมีบตุ รได้ จึงถือเปน็ ระยะที่เด็กย่างเขา้ สวู่ ัยรุ่นทีแ่ ทจ้ รงิ

การเริ่มเข้าสรู่ ะยะตา่ ง ๆ ขา้ งตน้ อายุของเด็กแตล่ ะคนจะไมเ่ ท่ากนั ในบางคนอาจเรม่ิ เขา้ สู่วยั รุ่นในระยะ
Puberty คอ่ นขา้ งเรว็ ในบางคนมพี ัฒนาการคอ่ นข้างช้าได้ การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขน้ึ มีผลมาจากการทางานของ
ระบบต่อมไรท้ อ่ ซ่ึงผลิตฮอรโ์ มนหลายชนดิ ที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวยั รนุ่ คอื Growth
hormone หรอื Somatotrophic hormone มหี น้าทีค่ วบคุมการเจรญิ เตบิ โตของ ร่างกาย Gonadotrophic
hormone ประกอบดว้ ยฮอร์โมนสาคัญ 2 ชนิด

Follical stimulating hormone หนา้ ท่ี
- ในเพศหญิง กระตุน้ การเติบโตของ Follical ในรงั ไข่ เม่ือ Follical เจรญิ เติบโตมากก็จะสร้าง

Estrogen และกระตุน้ ใหเ้ กิดการตกไข่
- ในเพศชาย กระตุ้นการสร้างตวั อสจุ ิ และกระตุน้ การเจรญิ เตบิ โตของหลอดอสุจิ

(Seminiferous tube)
-Lutinizing hormone หนา้ ที่
- ในเพศหญิง กระตนุ้ ใหเ้ กดิ การตกไข่และสรา้ ง Copus luteum ในรงั ไข่ และกระต้นุ ให้ Copus

luteum สรา้ งและหล่ัง Estrogen และ Progesterone
- ในเพศชาย กระตุ้นให้ตวั อสุจิเติบโตเต็มท่ีและกระตุน้ interstitial cells ในอณั ฑะใหส้ รา้ งและ

หลัง่ Testosterone
Testosterone ทาหน้าทีค่ วบคุมลกั ษณะเพศชาย
Estrogen ทาหน้าทค่ี วบคมุ ลกั ษณะเพศหญงิ

Progesterone ทาหนา้ ท่รี ่วมกับ Estrogen เพอื่ ชว่ ยสรา้ งเน้อื เยื่อชน้ั ในของมดลูกใหห้ นาขึ้นสาหรบั
เตรียมรบั ไขท่ ี่ถกู ผสมมาฝงั ตวั รวมท้ังกระต้นุ ให้ตอ่ มนา้ นมขยายตวั ถา้ ไขไ่ ม่ผสม Copus luteum จะสลายตวั
พร้อมกับหยุดสรา้ ง Progesterone ทาใหม้ ีประจาเดือน

พัฒนาการทางอารมณ์
ทฤษฎีจติ วเิ คราะหข์ องฟรอยด์ วัยรุน่ อยใู่ นขั้นพอใจในการรกั เพศตรงขา้ ม (genital stage) ความพงึ พอใจ
และความสขุ ตา่ งๆ เป็นแรงขบั มาจากวฒุ ภิ าวะทางเพศ เริม่ สนใจเพศตรงขา้ ม มแี รงจงู ใจที่จะรักผู้อน่ื ต้องการ
อสิ ระจากพ่อแม่มากข้นึ เด็กชายจะเลียนแบบพ่อ เด็กหญิงจะเลยี นแบบแม่ (ทิพยภ์ า เชษฐเ์ ชาวลติ , 2541)
อารมณข์ องวยั รนุ่ เป็นอารมณ์ทเี่ ปลยี่ นแปลงงา่ ย อ่อนไหวงา่ ย เจ้าอารมณ์ มอี ารมณ์รุนแรง การควบคมุ
อารมณ์ยงั ไม่สดู้ ี บางครั้งเก็บกด บางคราวมัน่ ใจสงู บางครั้งพลุง่ พล่าน ลกั ษณะอารมณเ์ หลา่ น้ีเรยี กกนั วา่ พายุบุ
แคม (Strom and stress) ( สชุ า จนั ทน์เอม, 2536 ; ศรเี รอื น แกว้ กงั วาล, 2538) เพราะลักษณะอารมณแ์ บบน้ี

จึงมีความคดิ เห็นขัดแยง้ กับผูใ้ หญไ่ ด้ง่าย ทาให้วยั รนุ่ จึงคดิ วา่ ผ้ทู ่ีเขา้ ใจตนเองดที ่สี ดุ คือเพือ่ นในวัยเดียวกนั
เน่อื งจากมีความคดิ เห็นทเ่ี ปน็ ไปทางเดยี วกัน ยอบรับกันและกนั การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ท่เี กดิ ข้ึนน้มี ีผลมา
จากหลายปัจจยั ประกอบกนั เช่น การปรบั ตวั กบั การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นร่างกาย การปรบั พฤตกิ รรมการ
แสดงออกจากการเป็นเด็ก เขา้ ส่กู ารเรียนรู้บทบาทของการเป็นผใู้ หญ่ สังคมที่มกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว เปน็
ตน้

ปัญหาทางอารมณ์ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นรา่ งกายมีผลกระทบต่ออารมณ์ของเด็กวยั รนุ่ อยา่ ง
มาก เนอ่ื งจากมกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วประกอบกบั การเปลีย่ นแปลงของสงั คมและภาวะเศรษฐกจิ ใน
ปจั จุบนั ทาให้พ่อแม่ผู้ปกครองมีภาระกิจอื่นๆคอ่ นข้างมากจนลืมไปว่าบตุ รหลานกาลังเริ่มเข้าส่วู ัยรนุ่ ทาใหไ้ มม่ กี าร
เตรียมตัวมาก่อนล่วงหนา้ เด็กบางคนมีพฒั นาการทางเพศเรว็ กอ่ นวัย หรอื บางคนอาจชา้ กวา่ วัย ความคิดของเดก็
เองทีค่ ดิ วา่ ตัวเองมคี วามแตกต่างจากเพือ่ น มปี มดอ้ ยเร่ืองรูปรา่ งหนา้ ตา ทาให้เดก็ ยอมรับตวั เองไม่ได้ สง่ ผลเกิด
ปญั หาทางดา้ นอารมณ์ มภี าวะเครยี ด เกดิ พฤตกิ รรมซมึ เศรา้ และอาจกอ่ ใหเ้ กิดปญั หาอื่น ๆ ตามมาไดเ้ ชน่ ปญั หา
การฆ่าตัวตายในวยั ร่นุ เป็นตน้ การส่งเสริมวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ ทาไดโ้ ดยทผ่ี ู้ปกครองต้องใหเ้ วลาและมีความ
อดทนเพ่ือที่จะทาความเข้าใจวัยรุ่น เปน็ ตัวอย่างของผทู้ ีม่ อี ารมณ์ม่ันคง แนะนาและสง่ เสริมใหเ้ ด็กเรยี นรกู้ าร
ควบคมุ อารมณ์ และแนะนาวธิ ีระบายความเครยี ดที่เหมาะสม

พฒั นาการทางความคิดสตปิ ญั ญา
เดก็ วัยรุ่นมกี ารเจรญิ เติบโตของสมองอย่างเต็มท่ี พัฒนาการทางดา้ นความคดิ สตปิ ัญญาเป็นไปอย่าง
รวดเรว็ สามารถเข้าใจเรอื่ งทเี่ ปน็ นามธรรมได้ มีความคดิ กวา้ งไกล พยายามแสวงหาความรูใ้ หมๆ่ มจี ินตนาการมาก
มคี วามเช่อื มนั่ ในความคดิ ของตนอยา่ งมาก
พฒั นาการทางความคดิ ตามแนวคดิ ของเพียเจท์ (Piaget, 1958 cited in Lefrancois, 1996) เด็ก
วัยรุ่นพัฒนาความคดิ จากความคดิ แบบรปู ธรรม (concrete) มาจากวยั เดก็ มาส่กู ระบวนการพฒั นาความคดิ แบบ
เปน็ เหตุผล เป็นรปู แบบชัดเจน (Cognitive thought phase หรือ Formal operation period ) ซ่ึงมีลักษณะ
เดน่ คอื สามารถคดิ อย่างมีเหตุผลโดยไม่ใช้วตั ถเุ ป็นสอื่ มกี ารคดิ แบบใชต้ รรกจากเงื่อนไขทกี่ าหนด การคดิ แบบใช้
เหตุผลเชงิ สดั สว่ น การคดิ แบบแยกตัวแปรเพอ่ื สรุปผล การคดิ แบบใช้เหตผุ ลสรปุ เปน็ องค์รวม คาดการณอ์ นาคตได้
โดยมองย้อนอดตี (ศรีเรอื น แกว้ กงั วาล,2538 ; ทพิ ย์ภา เชษฐเ์ ชาวลิต, 2541)
ความคดิ แบบตวั เองเปน็ ศนู ย์กลางในวยั ร่นุ (Adolescent egocentrism) คอื จะคดิ ว่าพฤตกิ รรมของตน
ถกู เฝา้ มองจากบุคคลอืน่ ให้ความใส่ใจอยา่ งมากตอ่ คาวพิ ากษ์วจิ ารณ์ของบคุ คลอื่น (The Imagination
Audience) โดยเฉพาะในเร่อื งการแตง่ กาย ทรงผม และรปู รา่ งของตน วยั รุน่ มกั คาดหวงั วา่ สงิ่ ท่ตี นแสดงออกว่า
สนใจ ชอบ บุคคลอน่ื จะตอ้ งร้สู ึกเช่นนั้นดว้ ย และวยั ร่นุ มีความคิดฝัน มจี นิ ตนาการว่าตนเปน็ คนเก่ง (hero) และมี
โลกสว่ นตวั (The Personal Fable )

พัฒนาการดา้ นเหตุผลเรื่องศลี ธรรมจรรยา ( Moral reasoning )
ทฤษฎีพฒั นาการด้านศีลธรรมจรรยาของโคลเบริกซ์ (Kohlberg’s Level of Morality) (Kohlberg
1969 ; 1980 cited in Lefrancois, 1996 ; ศรเี รอื น แกว้ กังวาล, 2538) ระดับการพัฒนาการดา้ นศีลธรรม
จรรยามี 3 ระดบั แตล่ ะระดบั แบ่งเป็น 2 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

ระดับท่ี 1 กอ่ นมศี ลี ธรรมจรรยา (Preconventional)
ข้ันตอนที่ 1 เช่ือฟงั ทาสง่ิ ทีด่ ี ทาตามกฎเกณฑเ์ พราะกลัวถกู ลงโทษ
ขัน้ ตอนท่ี 2 ทาสง่ิ ทีด่ ี ทาตามกฎเกณฑ์เพ่ือหวงั ได้รับรางวลั และการช่นื ชม

ระดบั ที่ 2 มีศลี ธรรมจรรยา (Conventional)
ขั้นตอนที่ 3 เป็นเดก็ ดี ได้รบั การยอมรับจากบิดามารดา ครู กลุ่มเพอ่ื น และสงั คม
ข้ันตอนท่ี 4 ทาตามกฎเกณฑ์ของสังคม

ระดบั ท่ี 3 หลังมีศีลธรรมจรรยา (Postconventional)
ข้นั ตอนท่ี 5 ตระหนักถึงสิทธขิ องบคุ คล กฎระเบียบ หรอื กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม
ขั้นตอนที่ 6 ปฏิบตั ติ ามหลกั ศีลธรรม

วัยรนุ่ ถกู จดั อยใู่ นพฒั นาการระดบั ที่ 2 ขน้ั ตอนท่ี 3 ถึงข้นั ตอนที่ 4 คอื มศี ีลธรรมจรรยาซ่งึ พฒั นา
มาจากในวัยเดก็ โดยเด็กวัยรุ่นจะเปน็ เด็กดี “Good – boy , nice –girl” เพื่อได้รับการยอมรบั จากบิดา
มารดา ครู กลุ่มเพ่ือนและสังคม จะพัฒนาศีลธรรมเขา้ สู่วยั ผู้ใหญต่ ่อไป เดก็ วยั ร่นุ บางคนอาจมีพฒั นาการ
ด้านศลี ธรรมจรรยากา้ วหน้าไปอกี ในขั้นตอนท่ี 5 ก็ได้ ทั้งเดก็ และผู้ใหญม่ ีพัฒนาการทางศลี ธรรมจรรยา
ในระดับทแี่ ตกตา่ งกนั บางคนแม้เป็นผู้ใหญ่กอ็ าจพฒั นาไดเ้ พยี งระดับตน้ เทา่ น้ัน

ปญั หาดา้ นความคดิ สตปิ ญั ญาในวยั รุ่นชว่ งอายุประมาณ 12 – 13 ปี เด็กอาจต้องมกี ารเปลย่ี นย้าย
ห้องเรยี นหรอื เปลยี่ นโรงเรยี นจากระดับประถมศึกษาเปน็ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษา พบวา่ ในวยั รนุ่ หญงิ มีปญั หาเรอ่ื ง
การปรับตวั มากกว่าในวยั รุน่ ชายเนอ่ื งจากเดก็ หญิงเข้าสูก่ ารเปน็ วยั ร่นุ เร็วกว่าเดก็ ชาย ทาให้มีการติดกบั กลมุ่ เพื่อน
เดมิ มากกวา่ ส่งผลให้วัยรนุ่ หญิงมคี วามเครียด มคี วามเปราะบางเกย่ี วกับสมั พันธภาพระหวา่ งเพอ่ื นมากกวา่ วยั ร่นุ
ชาย ทาให้มีผลกระทบตอ่ การเรยี นได้ (Papalia and Olds, 1995) วัยรนุ่ ชว่ งอายุประมาณ 17 – 19 ปี เปน็
ชว่ งปรบั เปลย่ี นการเรยี นในระดับมัธยมศึกษาส่กู ารเรยี นระดบั อุดมศึกษา วยั รุ่นทง้ั หญิงและชายมกั มปี ัญหาเร่อื ง
การปรับตวั เร่ืองการเรียน เร่อื งเพ่ือนเพศเดียวกนั และเพอ่ื นต่างเพศ และการใชช้ วี ติ ในมหาวทิ ยาลยั ทาให้มี
ความเครียดส่งผลให้การเรยี นตกต่าลงได้ และในวัยรุน่ บางกลุ่มมพี ฤตกิ รรมชอบฝา่ ฝืนกฎระเบียบ ไมท่ าตาม
กฎเกณฑข์ องสงั คม ไมช่ อบเขา้ เรียน ชอบกอ่ กวน อาจเนื่องจากเดก็ อาจมปี ญั หาเร่ืองสัมพันธภาพในครอบครวั หรือ
อทิ ธิพลกลุ่มเพอื่ น สง่ ผลใหก้ ารเรียนตกตา่ ลงไดเ้ ชน่ กนั และอาจทาให้เกิดการสูญเสียความภาคภมู ิใจในตนเอง มี
ปญั หาทางอารมณต์ ามมาเช่น อบั อายเพอ่ื นฝงู ครู อาจารย์ และถกู แรงกดดนั จากพ่อแม่อีกด้วย (ศรีเรอื น แก้ว
กงั วาล, 2538)

พัฒนาการของชว่ งวยั ร่นุ ถือไดว้ า่ เปน็ ชว่ งหัวเลีย้ วหวั ตอ่ และเป็นชว่ งทเี่ รยี กได้อกี อย่างวา่ เปน็ ช่วงวิกฤต
ของชีวิต โดยการพัฒนาการของวัยรนุ่ แบ่งออกเป็น 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่ วันรนุ่ ตอนตน้ อายรุ ะหวา่ ง 15-17 ปี วัยรุน่
ตอนกลาง อายุระหวา่ ง 17-19 ปี วนั รนุ่ ตอนปลาย 19-21 ปี ในแตล่ ะชว่ งมีพัฒนาการทแี่ ตกตา่ งกันไปทั้งผ้ชู าย
และผหู้ ญงิ สามารถแยกออกได้เปน็ ทางดา้ นรา่ งกาย คือ การเปล่ยี นแปลงของสรีระตา่ ง ๆ การเจริญเติบโตของ
รา่ งกาย ทางด้านอารมณ์ คอื อารมณข์ องวยั รุ่นเป็นอารมณท์ ่เี ปล่ยี นแปลงงา่ ย อ่อนไหวง่าย เจา้ อารมณ์ มอี ารมณ์
รุนแรง ดา้ นสติปัญญา คอื พฒั นาการท่มี คี วามคดิ รวดเรว็ และ กวา้ งไกล ตลอดจนคอยเสาะแสวงหาความร้ใู หม่ ๆ
มจี ิตนาการ และมีความเชอื่ มนั่ ในตวั เองสูง

กล่าวโดยสรปุ สมาชิกในกลมุ่ PLC กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ (นาฏศลิ ป)์ พบว่า ปญั หาท่ีเกิดข้นึ กบั
นักเรียนในปกี ารศกึ ษา 2560 น้ัน จากขอ้ สรปุ ของสามชิกกกล่มุ PLC พบปญั หาเรือ่ ง นักเรยี นไม่เขา้ ใจเร่ือง
ความหมายของท่ารา (ภาษาทา่ ) ทาให้การเรยี นการสอน ไม่สามารถประสบผลสาเรจ็ เนอื่ งจากนกั เรียนไมม่ ี
พ้นื ฐานของนาฏศิลปต์ ลอดจนนกั เรยี นไมค่ อ่ ยไดม้ โี อกาสชมการแสดงนาฏศิลป์ นอกจากน้ยี ังมีอปุ สรรคข์ องการ
เรยี นการสอนคือ เรอ่ื งของ ส่ือการสอนไมม่ ี สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกนั หาวธิ แี กไ้ ขปญั หาโดยการสรา้ งนวตั กรรม
สือ่ การเรยี นรู้ โดยใชป้ ระเภทส่อื ทามือ รูปแบบบัตรคา บตั รภาพประกอบคาอธิบาย เพือ่ ใชใ้ นการแก้ไขปัญหา

นกั เรยี นไม่เข้าใจเรือ่ งความหมายของท่าคา (ภาษาท่า) ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใชแ้ บบชุดฝกึ ทักษะ
ภาษาทา่ เพอ่ื ให้นกั เรยี นไดม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจและ มที กั ษะเร่ืองภาษาทา่ อย่างถกู ตอ้ ง

กิจกรรมทท่ี า (อธบิ ายลกั ษณะหรือขัน้ ตอนการทา PLC)

ข้นั ที่ 1 ค้นหาปญั หา สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกนั สืบค้นหรือเสาะหาปญั หาท่ีเกิดจากการเรียนการสอน
ปีการศกึ ษา 2561 ของสมาชกิ ในกล่มุ โดยปญั หาของสมาชกิ ในกลุ่มน้ัน มีทง้ั ปญั หาท่เี ป็นในเรือ่ งของปญั หาทีเ่ ป็น
เร่ืองทกั ษะความรู้ มีปัญหาทงั้ ที่เปน็ เร่ืองการปฏบิ ัติ เนือ่ งจาก กล่มุ สารระการเรียนรูศ้ ิลปะ เปน็ กลุ่มสาระที่มที งั้
ทกั ษะ ความรู้และทกั ษะเรอ่ื งของการปฏบิ ตั ิ เกิดปัญหาการเรียนการสอนท่ีนกั เรียนไมเ่ ข้าใจเรอื่ งเน้อื หาและ
นกั เรยี นไมส่ ามารถปฏิบตั ทิ า่ ทางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง โดยประเดน็ ที่สมาชิกพบคือ

1. นักเรียนไมส่ ามารถอธบิ ายความร้ทู างด้านศลิ ปะไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
2. นกั เรยี นไมม่ ีความร้ทู างดา้ นประวัติศาสตร์ศิลปะไทย
3. นักเรียนไมม่ สี มาธิในการเรยี นการสอนกลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
4. นักเรยี นเข้าเรียนวชิ าศลิ ปะสาย
5. นกั เรียนไม่สนใจการเรียนในรายวิชาตา่ งๆ ในกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
6. นกั เรียนไมช่ อบเรยี นวิชานาฏศลิ ป์
7. นักเรยี นไมเ่ ข้าใจเรื่องเครือ่ งดนตรีชนดิ ต่างๆ
8. นักเรียนไม่สามารถบอกถึงองคป์ ระกอบศลิ ปท์ างด้านทศั นศลิ ป์

สรปุ ปัญหา สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกนั สรุปปญั หาเรอื่ งการเรยี นการสอนทีเ่ กิดข้นึ ในปีการศึกษา 2561
ของกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น จากประเดน็ ท่ีร่วมกนั เสาะหาประเดน็ ทั้งหมด โดย
สมาชกิ ในกลุ่ม PLC รว่ มกันสรปุ กันวา่ ประเด็นทม่ี ีความนา่ สนใจมากทส่ี ดุ คอื ประเด็นเก่ยี วกับเร่อื งทน่ี ักเรยี นไม่
ไมม่ สี มาธใิ นการเรยี นการสอน ของกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เนอื่ งจากประเด็นนี้ มที ง้ั ทกั ษะเรอื่ งความรแู้ ละ
ทกั ษะเรื่องการปฏบิ ัติ ซงึ่ เปน็ เร่ืองท่ีสามารถจะได้รับความรู้ควบคูก่ ันไปได้ สาเหตขุ องประเดน็ ปญั หาท่ีสมาชิกใน
กล่มุ PLC คือ นักเรียนไม่สนใจเรียน ประกอบกบั ครูผู้สอนขาดสือ่ การเรยี นการสอน ทาให้นักเรียนสนใจในการ
เรียน

ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั เสนอแนะวิธีแก้ปัญหา สมาชกิ ในกลมุ่ PLC ร่วมกันระดมความคิดที่จะหาวธิ ีการแกไ้ ขปญั หา
ในหัวข้อท่กี ลมุ่ ร่วมกันเลอื กประเดน็ คอื นกั เรยี นไมม่ สี มาธใิ นการเรยี นการสอนของกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
โดยสมาชกิ ในกลุ่มรว่ มกนั เสนอแนะเพ่อื เป็นแนวทางวิธที ีจ่ ะนาใชใ้ นการแก้ไขปญั หา การเรียนร้ขู องงนกั เรียน ซ่ึง
สมาชกิ ในกลมุ่ ไดเ้ สนอแนะรูปแบบของวิธกี ารทจ่ี ะใช้ในการแก้ไขปัญหา คือ

1. การใช้บทเรยี นสาเร็จรูป
2. การใชส้ ื่อเทคโนโลยีในการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมสอื่
3. การใชส้ ือ่ วดี ที ัศน์
4. การใช้กิจกรรมเพอ่ื เสรมิ ทกั ษะและเพ่มิ ศกั ยภาพของผ้เู รยี น
5. การใชส้ ือ่ ทามอื

6. การใช้เกมเพื่อพัฒนาการเรยี นการสอน
7. การใช้รปู แบบการเรยี นการสอนที่มีความหลากหลายเพอื่ ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ที่ดขี ้นึ

ในแต่ละหัวขอ้ ทีส่ มาชิกในกลุ่ม รว่ มกนั เสนอแนะ กม็ ีข้อจากดั หลาย ๆ อยา่ ง เชน่ เร่ืองอุปกรณ์ทีจ่ ะให้
นักเรียนเรยี นกไ็ ม่เอือ้ อานวยในเรอ่ื งของวัสดุและอปุ กรณ์ ข้าพเจา้ ไดเ้ สนอวธิ กี ารแก้ไขปัญหาโดย การใช้สอื่ ทามอื
เนือ่ งจากการทาสอ่ื ทามอื เป็นการสรา้ งนวตั กรรมส่ือการสอนแบบงา่ ย ๆ ใช้ระยะเวลาในการสรา้ งสือ่ น้อย แต่
นักเรียนสามารถท่จี ะนานวัตกรรมสื่อไปใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม

สรุปรูปแบบวิธีการแกไ้ ขปญั หา เมื่อสมาชิกภายในกลุ่มรว่ มกันคิดวธิ ีการแก้ไขปญั หา ก็ไดข้ ้อสรุป ในการ
แก้ไขปญั หาการเรียนการสอนของกลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น เร่อื ง นกั เรยี นไมม่ สี มาธิใน
การเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยการใช้เกมเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน และเป็นการสร้าง
นวัตกรรมส่ือเพ่ือนาไปใช้เสริมทักษะและแก้ปัญหาที่นักเรียนไม่มีสมาธิในการเรียนการสอน ของกลุ่มสาระการ
เรยี นรศู้ ลิ ปะ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ขนั้ ที่ 3 ข้ันวางแผนการสร้างนวตั กรรมสอ่ื สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกันวางแผนการสรา้ งนวตั กรรมสื่อ โดย
สมาชกิ ในกลมุ่ PLC รว่ มกนั เสนอแนะในเร่ืองการสรา้ งนวตั กรรมสอื่ ในรูปแบบเกมชนิดต่าง ๆ ขอบเขตเนอื้ หา
สาระ ขั้นตอนและวธิ กี ารสร้างนวตั กรรมสือ่ ดงั น้ี

1. เกมวงลอ้ มหาสนุก
2. เกมบิงโก
3. เกมจ๊กิ ซอว์
4. เกมจับคู่
5. เกมโดมโิ น่
6. เกมเศรษฐี
7. เกมใบค้ า
8. เกมตอบปญั หา

สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ถึงเกมแต่งละชนดิ วา่ สามารถนาเนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ใน
แผนการสอนของครูผู้สอนแต่ละคน จะสามารถท่ีจะนามาเช่ือมโยงในการใช้นวัตกรรมส่ือแบบใดได้บ้าง โดย
สมาชิกในกลุม่ PLC จะตอ้ งร่วมกนั หาว่า เกมในรปู แบบใดที่จะสามารถนามาใชไ้ ด้กับเน้อื หาสาระและต้องเป็นเกม
แบบเดียวกันท้ังกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยประกอบไปด้วย รายวิชาดังนี้ ทัศนศิลป์ ดนตรี และ นาฏศิลป์
สมาชิกในกลุ่ม PLC สรุปว่า จะใช้ “เกมบิงโก” ในการสร้างนวัตกรรมสื่อเพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหา นักเรียนไม่มี
สมาธใิ นการเรียนการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ระดับมัธยมศกึ ษาตอ้ นตน้

ขอบเขตเน้ือหาสาระ สมาชิกในกลุ่ม PLC นาเน้ือหาสาระท่ีจะทาเกมมาปรึกษากันเพ่ือการข้อสรุปว่า
แต่รายวิชา นั้น สามารถนาเร่ืองใดมาสร้างนวตั กรรมสอ่ื เกมบิงโก ได้

ทศั นศลิ ป์

- เรอ่ื ง การใช้สี
- เรอื่ ง องค์ประกอบศลิ ป์
- เร่ือง บุคคลสาคัญของทัศนศิลป์
- เรื่อง ทศั นธาตุ

ดนตรี

- เรื่อง การเขียนโน้ต
- เรอ่ื ง ชนิดเครือ่ งดนตรี
- เรอ่ื ง ประเภทเครอื่ งดนตรี

นาฏศลิ ป์

- เร่ือง การแสดงส่ีภาค
- เรอ่ื ง ประเภทของการแสดง
- เร่อื ง ภาษาทา่
- เรื่อง นาฏยศพั ท์

สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกันเลือกเรอ่ื งของแตล่ ะรายวิชา ที่จะนามาสร้างนวัตกรรมสื่อ ที่จะใช่ในการแก้ไขปัญหาท่ี
นักเรียนไม่มีสมาธิในการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สมาชิกในกลุ่ม
PLC รว่ มกันคัดเลือกเรื่องทจ่ี ะนามาสรา้ งนวัตกรรมสอ่ื ในแตล่ ะรายวิชา ดังนี้

ทศั นศิลป์ เรือ่ ง ทศั นธาตุ

ดนตรี เร่ือง ชนิดของเครือ่ งดนตรี

นาฏศลิ ป์ เรอ่ื ง ภาษาทา่

โดยทุกรายวิชา จะสามารถสร้างนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนเพ่ือแก้ไขปัญหานักเรียนขาดสมาธิในการ
เรียน โดยใช้เกมบิงโก ในการแก้ไขปัญหา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้กลมุ่ สาระศิลปะ ให้ดีขึ้น และนอกจากน้ียังทา
ใหน้ กั เรียนมีสมาธิและสนใจในการเรียนการสอนมากข้ึน

ขั้นตอนและวิธีการสร้างนวัตกรรมส่ือ สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันคิดวิธีการสร้างนวัตกรรมสื่อ ในรูปแบบ
เกมบิงโก เพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหาที่นักเรียนไม่มีสมาธิในการเรียนการสอนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น โดยสมาชกิ ในกลุ่ม PLC รว่ มกันเสนอแนะขั้นตอนและวิธกี ารสร้างนวตั กรรมสื่อ ดงั น้ี

1. คัดสรรข้อมูลแต่ละรายวชิ า ที่ใช้ในการสรา้ งนวัตกรรมสื่อ โดยครผู สู้ อนแตล่ ะรายวิชาเปน็ ผ้นู าเสนอขอ้ มูล

2. สมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันคัดสรรข้อมูลแต่ละรายวิชา เพื่อหาข้อมูลท่ีเหมาะสมที่สุดในการที่จะสร้าง
นวตั กรรมสือ่

3. สมาชิกในกลุม่ PLC สรุปเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชา
4. เมอ่ื ไดข้ อ้ มูลแต่ละรายวชิ าแล้ว สมาชิกรว่ มกนั วางแผนขั้นตอนการสรา้ งนวัตกรรมสอ่ื

สมาชิกรว่ มกันคดั สรรข้อมูลแตล่ ะรายวชิ า สรุปได้ดังนี้

ดนตรี

1. ประเภทดดี จะเข้ ซงึ กระจบั ป่ี
2. ประเภทสี ซอดว้ ง ซออู้ สะล้อ
3. ประเภทตี ระนาดเอก ฆอ้ งวงใหญ่ กลองยาว กลองแขก
4. ประเภทเครื่องเปา่ ปี่ใน ปีช่ วาขลุ่ยเพียงออ แคน

นาฏศิลป์

1. ภาษาทา่ ท่ีมาจากธรรมชาติ เชน่ รัก อาย โกรธ ทน่ี นั่ ท่นี ่ี ไป มา ฉนั ท่าน เธอ นอน เดิน กนิ
ดม เปน็ ต้น

2. ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์ เช่น สอดสร้อยมาลา พรหมสี่หน้า บัวชูฝัก นภาพร พิสมัย
เรยี งหมอน เฉดิ ฉิน เป็นต้น

ทศั นศิลป์

1. จุด (รอย แต้ม การจิม้ การกด เปน็ ต้น)
2. เสน้ (เส้นตรง เฉยี ง ซิกแซก เป็นตน้ )
3. สี (สีขาว สแี ดง สีดา เป็นต้น)
4. แสงเงา
5. รูปร่างรปู ทรง (วงกลม สีเหล่ยี ม หกเหล่ยี ม แปดเหล่ียม เป็นต้น)
6. พ้ืนผวิ (เรยี บ ขรขุ ระ เปน็ ต้น)
7. พ้นื ทีว่ า่ ง

สรุปข้ันตอนวางแผนการสร้างนวตั กรรมสื่อ สมาชิกในกลมุ่ PLC ร่วมกันเสนอแนะเรื่องการสรา้ งนวัตกรรม
สื่อ โดยใช้ “เกมบิงโก” เพื่อใช้ในการสร้างนวัตกรรมสื่อครั้งน้ี ขอบเขตเน้ือหาสาระ ทัศนศิลป์ เร่ือง ทัศนธาตุ
ดนตรี เร่ือง ชนิดของเครื่องดนตรี นาฏศิลป์ เรื่อง ภาษาท่า และข้ันตอนและวิธีการสร้างนวัตกรรมส่ือ คัดสรร
ข้อมูลในแต่ละเรอ่ื งของแตล่ ะรายวชิ า

ขน้ั ท่ี 4 การสรา้ งนวตั กรรมสอื่ การเรยี นการสอน สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกันสรา้ งนวตั กรรมสือ่ การเรยี น
การสอน แบบชดุ การฝกึ ทักษะภาษาทา่ เพ่อื ใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หา เร่อื ง นกั เรยี นไมเ่ ข้าใจเรื่องความหมายของท่า
รา (ภาษาทา่ ) โดยมีขัน้ ตอนดังน้ี

1. สมาชกิ หาอุปกรณ์การสร้างนวตั กรรมส่อื มาเพ่อื ทานวตั กรรมสอ่ื รว่ มกัน
2. สมาชิกร่วมกันออกแบบและสร้างฟอร์มนวัตกรรมส่ือ “เกมบิงโก” ของแต่ละรายวิชา โดยให้มี

ขนาด A5 หรือ คร่ึงกระดาษ A4
3. ปรน้ิ นวัตกรรมสอ่ื “เกมบิงโก” ลงในกระดาษ 250 แกรม ขนาด A4 ให้มขี นาดที่กาหนด
4. ตดั นวตั กรรมส่ือ “เกมบิงโก” ที่ปรนิ้ ใหม้ ีขนาดท่ีกาหนดไว้ ขนาด A5 หรือครึง่ A4
5. นานวัตกรรมส่ือ “เกมบงิ โก” เคลอื บแผน่ พลาสติกผ่านความรอ้ น (เคลอื บร้อน)
6. ตัดมุมนวัตกรรมสื่อที่เคลือบร้อนเรียบร้อยแล้ว เพื่อให้มุมไม่แหลมและไม่เกิดอันตรายกับผู้ใช้

นวตั กรรมสอ่ื และเพอ่ื ไมใ่ หน้ วัตกรรมชารดุ ง่าย
7. ทาสลากบิงโก ทใ่ี ชส้ าหรบั การจับสลากบงิ โก
8. ตัดสลากบิงโกใหม้ ขี นาดพอดี
9. เคลือบสลากบิงโก
10.ตัดมุมสลากบิงโก

สรุปการสร้างนวตั กรรมสอื่ การเรียนการสอน การสรา้ งนวตั กรรมสอื่ การเรยี นการสอน สมาชกิ ในกลุ่ม
PLC รว่ มกันสรา้ งข้นึ นัน้ จากขน้ั ตอนทไ่ี ดว้ างแผนไวเ้ บอื้ งตน้ ประสบความสาเร็จไปไดด้ ้วยดี อาจมอี ปุ สรรค์บา้ ง
เลก็ นอ้ งในเรอื่ งของอุปกรณ์บางอยา่ ง ทีไ่ ม่พร้อม และไมเ่ พยี งพอทีจ่ ะใช้ในการสรา้ งนวตั กรรมสื่อในครง้ั น้ี แต่
สมาชิกในกลุม่ PLC กร็ ่วมกันช่วยแก้ปัญหาจนสรา้ งนวตั กรรมสอ่ื “เกมบิงโก” จนสาเรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

ขั้นที่ 5 การนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนไปทดลองใช้ การนานวัตกรรมสื่อ “เกมบิงโก” ไปใช้ โดย
นาไปทดลองใช้

รายวิชานาฏศิลป์ นายวสะ ภูวงศ์ เป็นผู้นานวัตกรรมสื่อไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
การทดลองการใชน้ วตั กรรมสอ่ื จะทดลอง จานวน 1 หอ้ งเรียน

รายวชิ าดนตรี นายภราดร สะโดอยู่ เป็นผนู้ านวัตกรรมส่ือไปทดลองใช้กับนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/4
การทดลองการใชน้ วตั กรรมสื่อจะทดลอง จานวน 1 หอ้ งเรยี น

การนานวตั กรรมส่อื ไปทดลองใชใ้ นครั้งนี้ มสี มาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมสังเกตการณ์ในการใช้นวัตกรรมสอื่ ด้วย
เพ่อื หาหาข้อดีและข้อเสีย ของนวัตกรรมส่อื “เกมบงิ โก” เพอ่ื ใช้ในการแก้ไขปัญหาที่นกั เรยี นไม่มสี มาธใิ นการเรยี น
การสอนของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ข้นั การทดลองการใชน้ วัตกรรมส่ือการเรยี นการสอน
1. ครูอธิบายกติกาของการเล่น “เกมบิงโก” ในการท่ีจะเป็นผู้ชนะ ว่าต้องวางที่จะชุดใดบ้างถึงจะ
เป็นผู้ชนะ ใครทชี่ นะหรอื วางเบี้ยครบตามกติกา ให้พูดคาวา่ “BINGO”
2. ครูแจกการ์ด “เกมบิงโก” ให้กับนักเรียนคนละแผ่นครูสุ่มนักเรียนจากเลขที่ ให้มาจับสลากของ
“เกมบิงโก (สลากเกมบิงโก หมายถงึ บัตรทบ่ี อกถึงสง่ิ ท่ีอยใู่ น ช่องการ์ดบิงโก)
3. ครูสุ่มนักเรียนจากเลขท่ี ให้มาจับสลากเกมบิงโกต่อไป จนมีนักเรียนที่ชนะ พูดคาว่า “BINGO”
ครเู ขา้ ไปตรวจสอบความถูกตอ้ ง
4. ในการเล่นเกมบิงโก ในแตล่ ะคร้ังจะเลน่ 2 - 3 รอบ แลว้ ครูผสู้ อน
5. เมื่อเล่นเกมบงิ โกเสร็จ ครูผู้สอนสรุปเน้ือหาของการเลน่ เกมบงิ โก

สรุปการนานวตั กรรมสอ่ื การเรยี นการสอนไปทดลองใช้ ในการทดลองใช้นวตั กรรมสือ่ การเรียนการ
สอน เพอื่ แกไ้ ข นักเรียนไม่มีสมาธใิ นการเรยี น โดยใช้ “เกมบงิ โก” ในการทดลองใชน้ วตั กรรมสอื่ มสี มาชกิ PLCรว่ ม
สังเกตการณ์ ด้วย โดยการทดลองใช้ จะแบ่งออกเป็น 2 รายวิชา ได้แก่ วชิ านาฏศิลป์ และ วิชาดนตรี ในแตล่ ะวชิ า
ใชก้ ารทดลองนวัตกรรมสอ่ื 1 ช่ัวโมง วชิ านาฏศลิ ป์ ทดลองใชก้ ับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 และ วิชาดนตรี
ทดลองใชก้ บั นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ซ่ึงการทดลองใชน้ วตั กรรมสอ่ื เปน็ ไปตามขั้นตอน และ สาเร็จตาม
วัตถุประสงค์ทตี่ ้ังไว้

อภิปรายผลการทดลองนวตั กรรมสื่อการเรยี นการสอน สมาชิกในกลมุ่ ทร่ี ว่ มสังเกตการณก์ ารทดลองการ
ใช้นวัตกรรมสือ่ การเรียนการสอน ท้งั สองรายวิชา คอื วชิ าดนตรี ทดลองใชก้ บั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 และ
วชิ านาฏศลิ ป์ ทดลองใชก้ บั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีทดลองใช้เกมบงิ โก นวัตกรรมสอื่ เพอ่ื แกไ้ ขนกั เรยี นไม่มี
สมาธิในการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ รว่ มกันหาข้อสรุปของนวัตกรรมนี้

ขอ้ สรุปการอภปิ รายการทดลองการใชน้ วัตกรรมสือ่ การเรียนการสอน

1. กิจกรรมการเล่นเกมบิงโกทาให้นักเรียนมีความสนใจในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และเพ่ือเป็นการฝึกให้นักเรียนมีสมาธิก่อนเริ่มการเรียนการสอนใน
แตล่ ะรายวิชา

2. การเล่นเกมบิงโกโดยครูสุ่มนักเรียนจากเลขท่ี เพ่ือให้มาจับสลากเกมบิงโก น้ัน ทาให้เสียเวลาใน
การทากิจกรรม เน่ืองจาก นักเรียนต้องเดินมาท่ีหน้าชั้น เพื่อจับสลากบิงโก แล้วถึงจะบอก
นักเรยี นในหอ้ งเรยี นวางเบีย้ จากภาพสลากทีจ่ ับขึ้นมาเป็นภาพอะไร

3. สลากบิงโกมขี นาดเล็กไปทาให้นักเรยี นไม่เห็นภาพ และ นักเรียนไม่สามารถทจ่ี ะบอกได้วา่ สลาก
ทเี่ หน็ นั้นเปน็ ภาพอะไร เน่อื งจากไม่มคี าอธบิ ายวา่ เป็นภาพอะไร

4. การ์ด “เกมบิงโก” มีขนาดเล็กเกินไปทาให้นักเรียนมองเห็นภาพไม่ชัดเจน และไม่มีคาอธิบาย
ภาพแต่ละภาพ ทาให้นักเรียนไม่ร้วู ่า ภาพในเกมคืออะไร และไม่สามารถทจ่ี ะวางเบี้ยลงในการ์ด
ได้อย่างถูกต้อง

5. การ์ด “เกมบิงโก” ท่ีเคลือบร้อนเมื่อถึงมือนักเรียน ก็พับหัก เนื่องจากตอนท่ีนักเรียนแจกกันก็
เลน่ ส่งกนั แบบไมม่ ีระบบระเบียบ ทาใหก้ ารด์ “เกมบงิ โก” ชารุด

ขน้ั ที่ 6 การสร้างนวัตกรรมสื่อการเรยี นการสอน (ปรับปรุงนวัตกรรมสอื่ ) สมาชกิ ในกลุม่ PLC ร่วมกัน
คิดปรับปรุงการสร้างนวัตกรรมส่ือ ในรูปแบบ เกม บิงโก ซึ่งการปรับปรุงนวัตกรรมสื่อจากท่ีได้สร้างมาแล้วให้มี
ความเหมาะสมกบั การใช้งานมากยิง่ ขึ้น เพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหาท่ีนักเรียนไมม่ ีสมาธิในการเรยี นการสอนของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยสมาชิกในกลุ่ม PLC ร่วมกันเสนอแนะขั้นตอนและวิธีการ
สรา้ งนวตั กรรมส่อื ดงั นี้

ขัน้ ตอนปรับปรงุ นวัตกรรมสอ่ื

1. สร้างฟอร์มนวัตกรรมสอื่ การ์ด “เกมบิงโก” ของแตล่ ะรายวิชา โดยใหม้ ขี นาด A4
2. ในฟอร์มนวัตกรรมส่ือการ์ด จะต้องมีคาอธิบายของภาพ เพื่อให้นักเรยี นสามารถรู้วา่ ภาพใด

คืออะไร
3. เลือกวัสดุท่ีจะนามาสร้างนวัตกรรมสื่อ โดยใช้กระดาษสต๊ิกเกอร์ ขนาด A4 ในการสร้าง

นวัตกรรมส่ือการด์ “เกมบิงโก”
4. ปร้ินนวตั กรรมสือ่ ลงในกระดาษทก่ี าหนดไว้
5. ตัดนวตั กรรมที่ปร้ินใหม้ ีขนาดทีก่ าหนดไว้
6. นานวัตกรรมสือ่ การ์ด “เกมบงิ โก” ตดิ ลงฟวิ เจอรบ์ อร์ด
7. เคลอื บสต๊กิ เกอรใ์ สบนการด์ เกมบิงโก ท่ตี ดิ อยบู่ นฟวิ เจอรบ์ อร์ดแล้ว
8. สรา้ งสลากท่มี ีภาพและคาอธิบายหรือชอื่ ของภาพ

สรปุ การสรา้ งนวตั กรรมส่ือการเรยี นการสอน (ปรบั ปรุงนวตั กรรมสอ่ื ) การปรบั ปรงุ นวัตกรรมสอ่ื “เกม
บิงโก” โดยสมาชกิ ในกลมุ่ PLC รว่ มกนั ปรับปรุงนวตั กรรม ครัง้ น้ีการปรบั ปรุง เป็นการปรบั รปู แบบของนวตั กรรม
สอ่ื เกมบิงโก โดยจากการทก่ี ารด์ เกมบงิ โก มเี ฉพาะรปู ภาพ ในการปรับปรุงนวัตกรรมสอ่ื คร้ังน้ีมีการใสช่ อ่ื ของ
ภาพท่ีปรากฏ อยใู่ นการด์ เกมบงิ โก ทง้ั 3 รายวิชา ได้แก่ ดนตรี นาฏศิลป์ และทัศนศิลป์ สมาชิกในกลุม่ PLC
ร่วมกนั ลงมือทาการปรับปรงุ นวัตกรรมสื่อ โดยในการปรับปรงุ นวตั กรรมครง้ั น้ี ผลการดาเนินงานเป็นไปตาม
แผนการที่วางไว้ แตม่ ีบางขัน้ ตอนท่ียงั พบปญั หา เชน่ กระดาษในการสรา้ งนวัตกรรมส่ือไมเ่ พยี งพอ รวมถงึ การพบ
ปัญหาของเครอ่ื งปร้นิ ท่ีตอ้ งใชใ้ นการสรา้ งนวัตกรรมสือ่ และนอกจากนี้ ยังมีเรอ่ื งของหมึกพิมพ์ท่ีไมเ่ พียงพอในการ
สรา้ งนวตั กรรมส่อื แตส่ มาชกิ ในกลมุ่ PLC ก็ไดร้ ว่ มมอื ชว่ ยกนั หาวธิ ีแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ได้ ทาใหก้ ารสร้างนวัตกรรม
ส่อื เป็นไปอย่างราบร่นื

ขั้นท่ี 7 การนานวัตกรรมสื่อทป่ี รับปรงุ ไปใช้ การนานวตั กรรมสือ่ ทป่ี รบั ปรุงนาไปใช้ กับการเรียนการ
สอน ในการนานวตั กรรมสือ่ ไปใช้ในครั้งน้ี ข้าพเจา้ นายวสะ ภวู งศ์ ได้นานวตั กรรมสือ่ ไปใช้กับนกั เรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 อกี 5 ห้อง ไดแ้ ก่

- วันที่ 19 สงิ หาคม 2562 ใชก้ บั นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/2
- วันท่ี 20 สิงหาคม 2562 ใช้กับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1/5 และ 1/6
- วันที่ 21 สิงหาคม 2562 ใชก้ บั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/4
- วันที่ 23 สิงหาคม 2562 ใชก้ ับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/3

ในการนานวัตกรรมส่ือไปใช้ในทกุ ครัง้ มสี มาชกิ PLC รว่ มสงั เกตการณ์ ในการใชน้ วตั กรรมส่อื ด้วย

ขัน้ ตอนการนานวัตกรรมสอื่ ท่ปี รบั ปรงุ ไปใช้ การนานวัตกรรมสื่อท่ีปรบั ปรงุ นาไปใช้ กับการเรียนการ
สอน

1. ครูอธิบายกติกาของการเลน่ “เกมบิงโก” ในการที่จะเป็นผู้ชนะ ว่าต้องวางเบีย้ ในตาแหนง่ ใดบ้าง
จึงจะเปน็ ผ้ชู นะ คนทีช่ นะหรือวางเบี้ยครบตามกตกิ า ให้พดู คาวา่ “BINGO”

2. ครูแจกการด์ “เกมบิงโก” ให้กบั นกั เรียนคนละแผน่
3. ครูถือสลากบิงโกไปหานักเรียนท่ีโต๊ะนักเรียนแล้ว ให้จับสลากของ “เกมบิงโก” จากน้ันให้

นักเรียนคนท่ีจับสลาก พูดข้อความท่ีอยู่ในสลากบิงโกให้เพ่ือนฟัง ครูทาแบบน้ีไปเร่ือยๆ จนมี
นักเรียนในห้อง บงิ โก ตามกติกาท่ีวางไว้
4. เม่ือมนี ักเรยี นชนะตามกตกิ าท่ีวางไวเ้ ม่อื ต้นชวั่ โมงแลว้ ใหน้ กั เรียนที่ชนะ พูดคาว่า “BINGO” ครู
เขา้ ไปตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
5. ในการเลน่ เกมบิงโก ในแตล่ ะครั้งจะเลน่ 2 - 3 รอบ
6. เมือ่ เล่นเกมบิงโกเสรจ็ ครผู สู้ อนสรปุ เน้อื หาของการเลน่ เกมบงิ โก
7. วิธีการสรุปเน้ือหา ครูผู้สอนให้นักเรียนจดบันทึกลงในสมุด โดยให้ใช้การวาดภาพภาษาท่า ท่ี
นักเรียนจดจาได้วาดภาพและเขียนว่าภาพนั้นคือท่าอะไรและเขียนอธิบายลักษณะท่าทางลงใน
สมดุ อยา่ งน้อย 5 ภาพ แล้วนาส่งครใู นวนั ร่งุ ขึน้

ข้อสรปุ การใช้นวตั กรรมสื่อที่ปรบั ปรงุ แล้ว โดยการนานวตั กรรมสอื่ ไปใชใ้ นชว่ั โมงนกั เรยี นชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/2 , 1/3 , 1/4 , 1/5 และ 1/6 โดยการนานวัตกรรมสอ่ื ไปใช้ครั้งนี้ มีสมาชกิ ภายในกล่มุ PLC
รว่ มสงั เกตการเรยี นการสอนด้วย สรปุ ไดด้ ังนี้

1. รูปแบบการใช้นวัตกรรม “เกมบิงโก” น้ันทาให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนมากข้ึน เนื่องจาก
ไม่ได้เป็นการเรียนภายในหนังสือเรียนเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการใช้เกมในการสร้างนวัตกรรม
สือ่ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระทนี่ กั เรียนตอ้ งศึกษา

2. นอกจากจะใช้เกมในการแกไ้ ขปัญหานักเรยี นไม่มีสมาธิในการเรียนแลว้ ยงั เปน็ การทาให้นกั เรียน
เกิดท้ังทักษะการเรียนรู้ กระบวนการคิด ตลอดจนนักเรียนสามารถแยกแยะลักษณะของภาษา
ท่า ได้อย่างถูกตอ้ ง

3. ระยะเวลา ขั้นตอนการใช้นวัตกรรมสื่อและกระบวนการเรียนรู้ เหมาะสม ใช้เวลาไม่มาก
จนเกินไป และได้ครบทุกกระบวนการ ตั้งแต่ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ขน้ั เนอื้ หา หรือขัน้ สอน และขั้น
สรปุ

ข้อเสนอแนะ ของสมาชกิ ในกล่มุ PLC ร่วมกันเสนอแนะในเรอ่ื งของนวตั กรรมสือ่ เกมบิงโก เพอ่ื ให้เปน็
ประโยชน์ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาในกิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป

1. เม่อื นานวัตกรรมสือ่ เกมบิงโก มาใช้กับนกั เรยี นเพ่ือใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หานกั เรยี นไม่มีสมาธใิ นการ
เรียน อาจจะมีการหาเกมท่ีมคี วามหลากหลายและสมารถบูรณาการไดท้ ง้ั 3 รายวชิ า เพอ่ื เปน็
การเสรมิ สร้างทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ของนกั เรยี นควบคกู่ นั ทงั้ 3 รายวชิ า

2. ถา้ สามารถสรา้ งนวตั กรรมสอื่ ใหเ้ ปน็ ในรูปแบบนวัตกรรมสอ่ื และเทคโนโลยี ดว้ ย นา่ จะทาให้
นักเรยี นเกิดความสนในมากย่ิงข้นึ

ข้นั ท่ี 8 สรปุ ผลการใชน้ วตั กรรมส่อื สมาชิกในกลุม่ ร่วมกันสรปุ ผลของการนานวัตกรรมสอื่ การสอน เกม
บงิ โก ไปใช้จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ข้อสรปุ ผลการใชน้ วัตกรรมสอื่ “เกมบิงโก”
1. เมื่อนานวตั กรรมสื่อ “เกมบงิ โก” ในการแก้ไขปญั หาพฤตกิ รรมนักเรียนไมม่ สี มาธใิ นการเรยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทาใหน้ ักเรียนสว่ นใหญ่ มีสมาธใิ นการ
เรยี นมากขึ้น และส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี น ดีขึน้
2. เม่อื นักเรียนไดใ้ ช้นวัตกรรมสื่อ “เกมบิงโก” นักเรียนสามารถอธิบายเน้ือหาของแต่ละรายวิชาได้
อย่างถกู ต้อง
3. นักเรียนมีความสนใจในการร่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอนดีขึ้นหลังจากที่นกั เรยี นได้ใชน้ วตั กรรม
“เกมบิงโก”

ผลทีไ่ ดร้ บั จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการจดั กจิ กรรม PLC ของกลุม่ สาระศิลปะ ครั้งน้ี
ทาให้เกดิ การแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นเรื่องการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของครูแตล่ ะทา่ นว่าพบปัญหาเร่อื งการ
เรยี นการสอนอะไรบา้ ง ตลอดจนไดร้ ว่ มกันแลกเปล่ยี นเรื่องของการจัดสรา้ งนวัตกรรมส่อื ทจ่ี ะใชใ้ นการสอน เพ่ือให้
เกดิ ความเหมาะสมกบั ในการจดั กิจกรรมและรว่ มกนั จัดสรา้ งนวตั กรรมส่อื ทม่ี ีความเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ท่ีจะ
ใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

แนวทางการนาความรูไ้ ปใช้ นาความรเู้ รือ่ งในเรอ่ื งทนี่ ักเรียนไดใ้ ชเ้ กมบงิ โก ในแต่ละรายวชิ า เพอื่ ใช้ใน
กระบวนการเรียนรู้ และทักษะการปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเปน็ การสรา้ งพ้นื ฐานความรู้ความเข้าใจเรื่อง
ของกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โดยการร่วมกันคดิ รูปแบบวธิ กี ารแก้ไขพฤตกิ รรมท่นี กั เรยี น ไมม่ สี มาธิในการเรยี น
ของกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ของสมาชิกในกลมุ่ PLC ทาให้เกดิ “เกมบิงโก” เพื่อใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี น
การสอนเพ่อื เปน็ การกระตุ้นความสนใจและกระตนุ้ การมีสว่ นร่วมในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนกั เรยี น ได้เปน็ อยา่ งดี
ซ่ึงตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ ชว่ ยพฒั นาศกั ยภาพของผ้เู รียน และแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเรยี นรไู้ ด้
นอกจากนี้

ลงช่ือ............................................................ผู้บันทึกข้อมูล
(นายวสะ ภูวงศ์)
ตาแหนง่ ครู คศ.1

วนั ที่ 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2562

ความคดิ เห็นหวั หนา้ งานวชิ าการระดับมธั ยมศึกษา

.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ............................................................
(นางอรสา พัชรจรรณยา)

หวั หนา้ งานวิชาการระดับมัธยมศึกษา

ความคดิ เหน็ ผ้ชู ว่ ยผู้อานวยการระดับมัธยมศกึ ษา

.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................................
(นางวีรยาพร โพธารส)

ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการระดับมัธยมศกึ ษา

ความคดิ เหน็ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธ์ิ รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธ์ิ