จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง

       

                         �ç���ҧ�����¹�����

           

         
      �����¹���������������ء���� �е�ͧ���ç���ҧ�Ǻ�����ѡ 3 Ẻ�ѧ���

      1. �ç���ҧẺ�ӴѺ (Sequential Structure) ���¶֧ �ç���ҧ����ʴ���鹵͹��÷ӧҹ��仵���ӴѺ��͹��ѧ
      2. �ç���ҧẺ�շҧ���͡ (Selection Structure) ���¶֧ �ç���ҧ��������͹� ��鹵͹��÷ӧҹ�ҧ��鹵͹ ��ͧ�ա�õѴ�Թ�
      3. �ç���ҧẺ�ӫ�� (Repetition Structure) ���¶֧ �ç���ҧ����鹵͹��÷ӧҹ�ҧ��鹵͹���Ѻ��û����ż��ҡ���� 1 ����

�ç���ҧẺ�ӴѺ

�ç���ҧẺ�շҧ���͡

จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง

�ç���ҧẺ�ӫ��

�ç���ҧẺ�ӫ��

จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง

จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง

จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
การเขียนโปรแกรม หมายถึง กระบวนการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูลและกำหนดขั้นตอนวิธี เพื่อใช้แก้ปัญหาที่ได้ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่ละภาษา การเขียนโปรแกรมมี 3 แบบ ได้แก่ การเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structure Programming) การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-oriented Programming : OOP) และการเขียนโปรแกรมเชิงจินตภาพ (Virus Programming) ซึ่งการเขียนโปรแกรมแต่ละแบบมีแนวคิด และวิธีการเขียนโปรแกรมงานอย่างง่ายแตกต่างกันไป
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structure Programming) ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้ ในการเขียนโปรแกรมมีให้เลือกมากมายหลายภาษา เช่น ภาษาชี ภาษาจาวา ภาษาเดลไฟล์ ผู้เขียนโปรแกรมอาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมตามลักษณะของปัญหาความสามารถ และความถนัดของตนเอง ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบคำสั่งและหลักการในการเขียนโปรแกรมที่แตกต่างกัน สำหรับภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง ซึ่งเป็นวิธีการเขียนแบบดั้งเดิม เช่น ภาษาปาสกาล ภาษาชี จะมีโครงสร้างในการเขียนโปรแกรม 3 แบบ ได้แก่ โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential Strcture) โครงสร้างแบบมีทางเลือก (Selection Structure) และโครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repetition Structure) ถึงแม้ว่าปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเปลี่ยนไป แต่แนวคิดเกี่ยวกับวิธีการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างก็ยังเป็นความรู้พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมแบบสมัยใหม่อย่างการเขียนโปรแกรม มีรายละเอียดดังนี้
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
1. โครงสร้างแบบลำดับ (Sequential Structure) เป็นโครงสร้างที่แสดงขั้นตอนการทำงานที่เรียงเป็นลำดับก่อนหลัง จากคำสั่งที่ 1 ไปคำสั่งที่ 2 ต่อไปจนถึงคำสั่งสุดท้ายและแต่ลพคำสั่งจะมีการประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น การเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบลำดับ จึงเป็นการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุด
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก โครงสร้างแบบมีทางเลือก ( Selection Structure ) เป็นโครงสร้างที่มีการตรวจสอบเงื่อนไขในการตัดสินใจ แบ่งออกเป็นโครงสร้างแบบมีทางเลือก 2 ทางเลือก หรือโครงสร้างแบบ If…Then…Else และโครงสร้างแบบมีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือก หรือโครงสร้างแบบ Case
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
3. โครงสร้างแบบซ้ำ (Repetition structure) เป็นโครงสร้างที่มีการสั่งให้ทำงานชุดคำสั่งนั้น ในลักษณะวนซ้ำหลายๆรอบ โดยมีการตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจว่าจะทำซ้ำรอบต่อไปหรือเลิกทำซ้ำ โครงสร้างแบบทำซ้ำ มี 2 แบบ ได้แก่
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
3.1 การทำซ้ำตราบเท่าที่เงื่อนไขเป็นจริง หรือการทำซ้ำแบบ Do While การทำซ้ำแบบนี้ตะทำงานตามชุดคำสั่งที่ต้องการให้ทำซ้ำ แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะเลิกการทำซ้ำ โดยแต่ละรอบจะต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงานเสมอ
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง
3.2 การทำซ้ำจนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง หรือการทำซ้ำแบบ Do Unit การทำซ้ำแบบนี้จะทำงานตามชุดคำสั่งที่ต้องการใช้ซ้ำไปอย่างน้อย 1 รอบก่อน จึงจะมีการตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ จะทำงานตามชุดคำสั่งซ้ำอีก 1 รอบ แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะเลิกการทำซ้ำ ในการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบทำซ้ำ จะพบว่าเงื่อนไขที่ใช้ในการตัดสินใจของการทำซ้ำแบบ Do While และการทำซ้ำแบบ Do Unit จะมีเงื่อนไขที่ตรงข้ามกัน ส่วนการที่จะเลือกเขียนโปรแกรมโครงสร้างซ้ำ Do While หรือ Do Unit ก็ขึ้นอยู่กับว่างานนั้น ต้องการให้มีการตรวจสอบเงื่อนไขก่อน ทำงานในรอบแรก หรือว่าต้องการให้มีการทำงานอย่างน้อย 1 รอบก่อนจึงค่อยตรวจสอบเงื่อนไข

https://sites.google.com/site/31026nachaphon/hna-91

จง อธิบาย เกี่ยว กับ รูป แบบ การเขียนโปรแกรม ขั้น ต้น โดยใช้ เกณฑ์ การ แบ่ง ตาม โครงสร้าง