เนื้อหา หนังสือหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม 20000-1501

ศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญของสถาบันทางสังคม บรรทัดฐานทางสังคม วัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ปัญหาในสังคม สิทธิหน้าที่ของพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

โดยธรรมชาติมนษุ ย์จะอยูร่ ่วมกนั เป็นสงั คม เพอ่ื อาศยั ซง่ึ กนั และกนั ช่วยเหลอื เก้อื กูล ร่วมกันแกป้ ัญหา

ในการดาเนินชีวิต และสนองความต้องการของมนุษย์ จึงได้มีการกาหนดวิธีการปฏิบัติต่อกันในลักษณะท่ีจะ

กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม

สังคมมนุษย์ทุกสังคม จะมีโครงสร้างทางสังคม ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม ทาให้

สังคมมีระบบระเบียบในการอยู่ร่วมกัน และมีการตอบสนองติดต่อสัมพันธ์กันตามสถานภาพ บทบาทและ

หน้าที่ เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม และทาให้สังคมคงอยู่สืบต่อไป สถาบันทางสังคมท่ี

สาคัญประกอบด้วย สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบัน

การเมืองการปกครอง เม่ือสถาบันทางสังคมดังกล่าวทาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะทาให้สังคมมีความ

มน่ั คง และเจริญเตบิ โตอย่างยงั่ ยืน

ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั

๑. รู้และเข้าใจความหมายและองค์ประกอบของสังคมมนุษย์และสาเหตุท่ีมนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม

มที ัศนคติท่ดี ีตอ่ การอยูร่ ่วมกันเป็นสังคม

๒. รู้และเขา้ ใจความหมายและองคป์ ระกอบโครงสร้างทางสงั คมทจ่ี ะทาให้สังคมมคี วามสงบสุข

มน่ั คงและ เจรญิ รงุ่ เรือง

๓. รู้และเข้าใจความหมายสถาบันทางสังคมที่สาคัญ เห็นความสาคัญของการปฏิบัติตนตามแบบอย่าง

พฤติกรรมของสถาบนั ทางสังคม

๔. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้สู าเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง

๑. ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ ๒. ความมีวินยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ

๕. ความเชอ่ื มั่นในตนเอง ๖. การประหยดั

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนัน

๙. ความรักสามคั คี ๑๐. ความกตัญญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

ปฐมนเิ ทศ

จุดประสงค์การเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั และระเบยี บปฏบิ ตั ใิ นการเรียนหนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑

๑. สงั คมมนษุ ย์

๒. โครงสร้างทางสังคม

๓. สถาบันทางสงั คมทีส่ าคัญ

กจิ กรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ ๑

ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน

๑. ครูพดู คยุ กบั นักเรียน ถึง ลักษณะเนื้อหารายวิชา
ขั้นสอน

๒. นักเรยี นฟังคาชี้แจงสังเขปรายวชิ า หนา้ ทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม และการวัดประเมินผล
๓. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นได้ซกั ถามขอ้ ปญั หา รวมท้งั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับรายวชิ านี้
๔. นกั เรียนทาแบบทดสอบ

ขน้ั สรปุ และการประยุกต์
๕. นักเรยี นสลับกันตรวจแบบทดสอบ หรือใหต้ รวจแบบทดสอบด้วยตนเองเพอื่ ทดสอบความซ่ือสตั ย์

โดยดูเฉลยจากแผ่นใส เสร็จแลว้ ส่งครู
๖. ให้นักเรียนบันทึกความดี โดยครูช้ีแจงวิธกี ารบนั ทึกความดี ในแต่ละสัปดาห์ให้นักเรียนบันทึกความดี

ตามความจริงเมื่อบันทึกเสร็จแล้วให้รวมจานวนข้อที่นักเรียนปฏิบัติไปแสดงลงในกราฟ นักเรียนจะ

เหน็ พัฒนาการความดีของตนเอง
๗. ครูชี้แจงเม่ือนักเรียนจบวิชาแล้ว นักเรียนจะได้ประกาศนียบัตรท้ายเล่ม โดยครูจะเป็นผู้ลงนามด้วย

ตนเอง ประกาศนียบัตรน้ีจะเป็นเคร่ืองกระตุ้นให้นักเรียนตั้งใจทาความดี และให้นักเรียนเก็บ
ประกาศนียบัตรไวใ้ นแฟ้มสะสมผลงานตอ่ ไป

ชัว่ โมงที่ ๒

ข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรียน

๑. ครูพดู คยุ กบั นักเรียนเกย่ี วกับ คากลา่ วที่ว่า “มนุษย์เปน็ สตั วส์ ังคม” นักเรยี นและครรู ่วมกันอภปิ ราย
๒. ครสู รปุ ความหมายของคาวา่ สังคมมนุษย์ และองคป์ ระกอบของสงั คมมนุษย์
๓. ครูและนักเรียน สรปุ ถงึ สาเหตุ ทมี่ นษุ ย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
ขน้ั สอน
๔. ครอู ธิบายความหมายของโครงสร้างทางสงั คม และองคป์ ระกอบทางสังคม
๕. ครแู ละนักเรียนร่วมกัน แสดงความเห็นเกยี่ วกบั สถาบันทางสงั คมท่สี าคญั
ขน้ั สรปุ และประยกุ ต์
๖. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ เกย่ี วกับหน้าที่ของสถาบันทางสงั คม
๗. ใหน้ ักเรียนทาคาถามท้ายหน่วยการเรยี นรู้ และใบงาน

๘. ครเู ฉลยคาตอบที่ถูกตอ้ ง จากแผน่ ใส
๙. ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ความดี
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรยี น วิชาหน้าทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม ของบริษทั สานักพิมพเ์ อมพันธ์ จากดั

๒. สอื่ PowerPoint วิชาหนา้ ที่พลเมอื งและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม

๒. การเชค็ ช่อื เรียนในรายวชิ า
๓. บันทึกความดี

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล

๒. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
๓. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ

๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู/้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบันทกึ ความดี

เครอ่ื งมือวัดผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ (โดยครู)

๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรยี นวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม

๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

ร่วมกนั ประเมิน

๗. บนั ทึกความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรงุ
๒. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึน้ ไป)
๓. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)

๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรียนรูแ้ ละทาใบงานได้ทกุ ใบงานจึงจะถือว่าผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผา่ น คือ พอใช้ (๕๐ % ขนึ้ ไป)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมูลบนั ทึกความดีในแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็

พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อ่ี ยดู่ า้ นหลงั ของหนา้ ปกหนังสอื เรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นักเรยี นบนั ทกึ ความดีและนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 2-3

วิชา หน้าท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 ครูผู้สอน นายรัตนชัย ออมสนิ

หน่วยท่ี 2 ช่ือหนว่ ย การจัดระเบยี บทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม จานวน 4 ชว่ั โมง

จดุ ประสงค์รายวชิ า

๑. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั สถาบันครอบครวั และสถาบนั ทางสังคม สทิ ธิหนา้ ที่ของพลเมือง

ดีและหลักธรรมของศาสนา

๒. ปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

๓. ตระหนกั ถงึ การดารงชีวิตที่ถูกต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรู้เก่ียวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าที่พลเมืองดี และ
หลกั ธรรมของศาสนา

๒. วิเคราะห์หลักการของวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งเพื่อใชใ้ นการดารงชีวิต

๓. นาหลักศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ช้เพ่อื การเปน็ พลเมอื งดี

สาระสาคญั

สังคมมีกระบวนการที่ทาใหส้ มาชิกในสังคมมแี นวทางให้ถือปฏบิ ัติต่อกนั และกันและมีความประพฤติ

ไปตามกฎระเบียบแบบแผนความสัมพนั ธร์ ะหว่างกนั ไปตามทศิ ทางทส่ี ังคมกาหนดดว้ ยกระบวนการจัดระเบียบ

ทางสังคม ซึ่งประกอบด้วยบรรทัดฐานทางสังคม สถานภาพทางสังคม บทบาททางสังคมและการควบคุมทาง

สังคม รวมทั้งการใหส้ มาชกิ ในสงั คมได้รับการอบรมส่ังสอนตามกระบวนการขัดเกลาทางสังคม เพือ่ ให้บุคคลท่ี

เข้ามาอยู่ในสังคมได้เรียนรู้แบบแผนการประพฤติปฏิบัติและการมีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นซึ่ งจะช่วยให้

สมาชิกในสังคมสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีเกิดขึ้นอย่างต่อเนอ่ื งและเรยี นรทู้ ่ีจะอยู่

ร่วมกนั ในสังคมได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง

๑. รู้และเข้าใจความหมายและความสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคม มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติ

ตามกฎระเบียบแบบแผนของสังคม

๒. รู้และเข้าใจองค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม และปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม

ตามบรรทดั ฐานทางสังคม ที่สังคมกาหนดข้นึ

๓. ร้แู ละเขา้ ใจการขัดเกลาทางสังคม และความสาคญั ในการพัฒนาตนเอง ใหส้ ามารถอยู่รว่ มในสังคม

ทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๔. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทีค่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมีวนิ ยั

๓. ความรับผิดชอบ ๔. ความซื่อสัตย์สุจริต

๕. ความเชื่อมั่นในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ สิง่ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. ความหมายและความสาคัญของการจดั ระเบียบทางสงั คม

๒. องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสงั คม

๓. การขดั เกลาทางสังคม

กิจกรรมการเรยี นรู้

ชั่วโมงที่ ๑-๒

ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน
๑. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายถึงสภาพสังคมในปัจจบุ ันโดยรว่ มกนั อภิปรายวา่ หากสังคมไม่มี

การจัดระเบยี บ จะเกิดปัญหาอะไรบา้ ง
๒. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ข้นั สอน
๓. ครูอธิบายความหมาย ความสาคัญ และคุณลกั ษณะทีก่ ่อใหเ้ กิดการจัดระเบียบทางสังคม
ข้นั สรุปและการประยุกต์
๔. ครู และนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ความหมาย ความสาคัญ และคณุ ลกั ษณะท่ีก่อใหเ้ กิดการจัดระเบียบ

ทางสงั คม
๕. ครใู ห้นักเรียนทาใบงานและบันทึกความดี

ช่ัวโมงท่ี ๓-๔

ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น

๑. ครทู บทวนเรือ่ งการจัดระเบยี บทางสังคม โดยสุ่มเรียกนักเรยี นเป็นรายบคุ คล
ขน้ั สอน

๒. ครูอธิบายองค์ประกอบของการจดั ระเบียบทางสงั คม
๓. ครอู ธบิ ายถึง การขัดเกลาทางสังคม

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

๔. ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงาน ทาแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และบนั ทึกความดี
ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้

๑. หนงั สอื เรียน วิชาพลเมืองและศีลธรรม ของบริษทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. ส่อื PowerPoint วิชาหนา้ ท่พี ลเมอื งและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่ือเขา้ เรียนในรายวชิ า

๓. บนั ทึกความดี
การวัดผลและการประเมินผล

วิธวี ัดผล

๑. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล

๒. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบันทกึ ความดี

เครือ่ งมือวัดผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น)
๔. คาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนงั สอื เรยี นวชิ าหนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

ร่วมกันประเมิน
๗. บันทกึ ความดี
เกณฑ์การประเมนิ ผล
๑. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
๒. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึน้ ไป)
๓. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้และทาใบงานได้ทุกใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ข้ึนไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจรงิ
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมูลบันทึกความดีในแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดที อี่ ยดู่ า้ นหลังของหน้าปกหนงั สือเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรียนทาบนั ทึกความดแี ละนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง การจดั การเรียนรู้ที่ 4

วิชา หน้าท่พี ลเมืองและศลี ธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 ครูผสู้ อน นายรตั นชยั ออมสิน

หนว่ ยที่ 3 ชือ่ หนว่ ย ภูมปิ ญั ญาไทย จานวน 2 ชั่วโมง

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า

๔. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าที่ของพลเมืองดีและ
หลกั ธรรมของศาสนา

๕. ปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ

๔. ตระหนักถึงการดารงชีวติ ทถี่ กู ตอ้ งดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี
สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรู้เก่ียวกบั สถาบนั ครอบครัวและสถาบันทางสงั คม สทิ ธิหน้าทีพ่ ลเมอื งดี และหลักธรรม
ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลักธรรม และหลักกฎหมาย มาประยุกตใ์ ช้เพอ่ื การเป็นพลเมอื งดี

สาระสาคญั

สังคมไทยมีพื้นฐานมาจากสังคมเกษตร สงั คมพระพุทธศาสนา สังคมท่ีเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

สังคมท่ีเป็นสังคมชนช้ันที่มีโครงสร้างแบบหลวมๆ และยังยึดขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นหลักและไม่นิยม

ความเปล่ียนแปลง แต่ความเจริญทางเทคโนโลยีและการส่ือสารในปัจจุบันเป็นผลให้สังคมไทยมีการ

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม บรรพบุรุษไทยได้ส่งต่อความเจริญงอกงาม วิถีการปฏิบัติตนเป็น

วัฒนธรรมไทยเป็นมรดกของสงั คมสืบต่อมาจนถงึ ปัจจุบัน สงั คมไทยไดม้ กี ารปรบั เปลีย่ นตามสภาพสิง่ แวดล้อม

ทาให้เกิดค่านิยมไทยซึ่งเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศ ซึ่งมีทั้งส่ิงดีงามที่คนไทย

ควรปฏบิ ัติ และค่านยิ มทางประเพณี คนไทยควรปรับเปลยี่ นแก้ไขและร่วมกันสรา้ งค่านยิ มท่ีสาคัญ เพ่ือร่วมกัน

สรา้ งความเจริญใหแ้ ก่ประเทศชาติตอ่ ไป

อย่างไรกต็ าม สังคมไทยได้ส่ังสมความรู้ ความสามารถและสติปัญญาในการแก้ไขปญั หาวิกฤตในการ

ดารงชวี ติ และการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของทอ้ งถน่ิ และชาติ เกดิ เปน็ ภมู ปิ ัญญาไทยในปจั จุบันนี้

ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวัง

๑ รูแ้ ละเขา้ ใจความหมาย และลักษณะของสังคมไทย มีทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกับผู้อนื่ ในสังคม

๒. รู้และเข้าใจความหมาย ความสาคัญ ประเภทและองค์ประกอบของวัฒนธรรมไทย มีแนวทางการ

ประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม

๓. รู้และเข้าใจความหมายและความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และภูมิปัญญาไทย ได้แนวทาง

ในการพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ

๔. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง

๑. ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรบั ผิดชอบ ๔. ความซ่อื สตั ย์สุจริต

๕. ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง ๖. การประหยัด
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที
สาระการเรียนรู้

๑. สงั คมไทย
๒. วฒั นธรรมไทย
๓. คุณธรรม จริยธรรม

๔. คา่ นิยม
๕. ภูมิปัญญาไทย

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น (การสร้างศรัทธา)
๑. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายถึง ลักษณะของสังคมไทย วัฒนธรรมไทย คุณธรรม จริยธรรม

คา่ นยิ ม และภูมปิ ญั ญาไทย
ข้นั สอน
๒. แบ่งผเู้ รยี นเป็น ๔ กลุ่ม แต่ละกลุ่มเลอื กสืบคน้ เนอ้ื หาดังนี้

กลมุ่ ท่ี ๑ สังคมไทย

กลุ่มท่ี ๒ วฒั นธรรมไทย

กลมุ่ ท่ี ๓ คา่ นิยม

กลมุ่ ที่ ๔ ภมู ปิ ัญญาไทย

๓. แต่ละกลมุ่ ไดร้ ับมอบหมายใหถ้ อดรหัสเรอ่ื งทีต่ นเองได้ศกึ ษาเขา้ กับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

๔. ให้แตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรียนตามหวั ข้อโดยใชเ้ วลากลุ่มละ ๑๕ นาที
ขัน้ สรปุ และการประยกุ ต์

๖. ตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอเน้อื หา โดยเปิดโอกาสใหก้ ลมุ่ อื่นซักถาม

๗. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความสาคัญ

๘. ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงาน และ แบบประเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละบนั ทกึ ความดี
สื่อและแหล่งการเรยี นรู้

๑. หนังสอื เรยี น วิชาหนา้ ที่พลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สานกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ จากัด

๒. ใบงาน
๓. บนั ทึกความดี

๔. สื่อ PowerPoint วชิ า หน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม

หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม

๒. การเชค็ ช่อื เข้าเรียนในวิชา
๓. บันทกึ ความดี

๔. บนั ทกึ พฒั นาการความดี

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
๓. สงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
๔. ตรวจคาถามท้ายหน่วยการเรียนรู/้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครอ่ื งมือวัดผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน)
๔. คาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรยี นวิชาหน้าท่พี ลเมอื งและศีลธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

รว่ มกันประเมิน
๗. บันทึกความดี

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไม่มชี ่องปรับปรุง
๒. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้และทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถอื วา่ ผ่านการประเมิน
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คอื พอใช้ (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจริง
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมลู บนั ทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพัฒนาความดีที่อย่ดู ้านหลงั ของหนา้ ปกหนังสือเรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนทาบนั ทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 5

วชิ า หน้าทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม รหัสวิชา 20000-1501 ครูผสู้ อน นายรตั นชัย ออมสิน

หนว่ ยที่ 4 ชอ่ื หนว่ ย การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 2 ช่ัวโมง

จดุ ประสงค์รายวชิ า

๒. ปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

๓. ปฏิบัติตนเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ีตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถอื

๔. ตระหนักถงึ การดารงชวี ติ ท่ถี กู ต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรู้เกย่ี วกบั สถาบันครอบครัวและสถาบนั ทางสงั คม สทิ ธหิ น้าทพ่ี ลเมอื งดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๒. วิเคราะห์หลักการของวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงเพื่อใช้ในการดารงชวี ติ

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยุกตใ์ ช้เพอื่ การเปน็ พลเมอื งดี

สาระสาคัญ

ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขมาต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕

เปน็ การปกครองโดยประชาชน เพอื่ ประชาชน อานาจอธิปไตยจึงเปน็ ของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตรยิ ์ทรง

ใช้อานาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี และศาลตามทบี่ ัญญัติไวใ้ นรัฐธรรมนญู สถาบพั ระมหากษัตริย์

มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อสังคมไทย ทรงมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ แก้ปัญหาความทุกข์และเสริมสร้าง

ความสุขให้แก่ประชาชนในทุกด้าน คนไทยทุกคนจะต้องร่วมกันธารงรักษาไว้ซ่ึงระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ให้มคี วามม่นั คงถาวรตลอดไป

ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง

๑. อธิบายหลักการสาคญั ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ได้

๒. เปรียบเทยี บรปู แบบของรฐั ได้

๓. สรุปฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ได้

๔. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง

๑. ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ ๒. ความมวี ินยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต

๕. ความเชื่อมั่นในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

๑. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

๒. รูปแบบของรัฐ

๓. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๔. ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเขา้ ส่บู ทเรียน

๑. ครูใช้ประเด็นคาถามว่า “นักเรียนมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ” เพ่ือให้นักเรียน
อภิปรายและแสดงความคดิ เห็นร่วมกัน ครเู ชือ่ มโยงกับหลักการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

ขั้นสอน

๒. ครูอธิบายเร่ืองรูปแบบของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ๓ แบบ ได้แก่ แบบรัฐสภา
แบบประธานาธิบดี และแบบก่งึ รัฐสภากึ่งประธานาธิบดี โดยใชส้ อื่ การสอนประเภทต่าง ๆ

๓. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอธบิ ายสรุปรูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทย
๔. ครูฉายวีดิทัศน์เรื่องพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทุกคนร่วมอภิปรายถึง

คณุ ธรรมความดีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว

ขนั สรปุ และการประยุกต์
๕. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรกั และความเสยี สละของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวที่ทรงมตี ่อ

ประชาชน
๖. ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน ทุกคนช่วยกันเฉลย นักเรียนตรวจคาตอบของตนเอง บันทึกไว้

เพอื่ วเิ คราะห์และเปรียบเทียบกบั ผลคะแนนของแบบทดสอบกอ่ นเรียน

๗. ให้นกั เรียนทาใบงาน และแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้
สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้

๑. หนงั สือเรียน วิชาหนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม ของบริษัท สานกั พิมพ์เอมพนั ธ์ จากดั
๒ ใบงาน
๓. บันทึกความดี

๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. ส่ือ PowerPoint วชิ าหน้าทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม

หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเช็คชอ่ื เขา้ เรียน

๓. บันทกึ ความดี
๔. บนั ทึกพฒั นาการความดี

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวดั ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

๒. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่
๓. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่

๔. ตรวจคาถามท้ายหนว่ ยการเรียนร/ู้ ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์

๗. ตรวจบนั ทึกความดี
เคร่อื งมือวดั ผล

๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ (โดยคร)ู

๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน)
๔. คาถามท้ายหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรยี นวชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันประเมิน

๗. บนั ทึกความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง

๒. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)

๔. ตอบคาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้และทาใบงานไดท้ กุ ใบงานจึงจะถอื ว่าผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจริง
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมลู บนั ทึกความดีในแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ่ีอยดู่ ้านหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรียน
กจิ กรรมเสนอแนะ

ให้นกั เรยี นทาบันทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 6

วชิ า หน้าทีพ่ ลเมอื งและศลี ธรรม รหัสวิชา 20000-1501 ครผู ูส้ อน นายรตั นชยั ออมสนิ

หน่วยที่ 5 ช่ือหน่วย สทิ ธิและหนา้ ท่ขี องพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย จานวน 2 ชว่ั โมง

จุดประสงค์รายวิชา

๑. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับสถาบันครอบครวั และสถาบนั ทางสังคม สิทธิหนา้ ท่ีของพลเมืองดีและ

หลักธรรมของศาสนา

๒. ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

๓. ปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนิกชนทดี่ ีตามหลกั ธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถือ

๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ที่ถกู ต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบันทางสงั คม สิทธิหนา้ ทพ่ี ลเมอื งดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ต์ใชเ้ พ่ือการเป็นพลเมืองดี

สาระสาคัญ

การประพฤติปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ประกอบด้วยการปฏบิ ัติตนตามสถานภาพ

บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนา้ ที่ โดยยดึ หลกั กฎหมาย ไม่ละเมิดสทิ ธิเสรีภาพของบุคคลอื่น เป็นการปฏิบัตติ น

อย่างถูกต้องในฐานะของพลเมืองดี อีกทั้งต้องสนับสนุน ส่งเสริมให้บุคคลอ่ืนมีค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ท่ี

ถกู ตอ้ งดีงามซึง่ ถอื ปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดีด้วย จงึ จะนาสันตสิ ุขมาสสู่ งั คมได้

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั

๑. รู้และเขา้ ใจสิทธิของพลเมอื ง

๒. อธบิ ายแนวทางการค้มุ ครองสิทธขิ องพลเมอื ง

๓. บอกบทบาทหน้าทข่ี องเยาวชนในฐานะพลเมอื งของประเทศ

๔. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ครสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรือ่ ง

๑. ความมมี นุษยสัมพันธ์ ๒. ความมีวินยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสตั ย์สจุ รติ

๕. ความเชือ่ ม่ันในตนเอง ๖. การประหยดั

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน

๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. สิทธขิ องพลเมือง

๒. เสรภี าพของพลเมือง

๓. บทบาท หนา้ ทขี่ องเยาวชนในฐานะพลเมอื งของประเทศ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. ให้นักเรยี นดภู าพ บคุ คลสาคญั และให้นกั เรียนชว่ ยกันบอกสิทธิ และสถานภาพตา่ งๆ ของบุคคล

ดงั กล่าว
ขั้นสอน (วธิ ีสอนแบบ Jigsaw)

๒. ให้นักเรียนทาใบงาน จากน้ันครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยใบงาน นักเรียนแลกเปลี่ยนกันตรวจ
คาตอบครอู ธิบายเรื่อง สิทธขิ องพลเมือง และเสรภี าพของพลเมือง โดยใช้ส่ือการสอนประเภทต่าง

๓. ครูจัดการเรียนรู้เรื่อง สถานภาพและบทบาท โดยการศึกษาจากกรณีตัวอย่าง ตามข้ันตอน
ต่อไปนี้
 แบง่ นกั เรียนเปน็ กลุ่มยอ่ ย กล่มุ ละ ๕-๖ คน คละความสามารถ เกง่ ปานกลาง อ่อน เลือกหวั หนา้

และเลขานกุ ารกลมุ่
 ครใู หน้ กั เรยี นทกุ กล่มุ ทากจิ กรรมดงั น้ี

▪ ให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มศึกษาค้นคว้าตัวอย่างของบุคคลท่ีมีบทบาทสอดคล้องกับ

สถานภาพมากรณีละ ๑ ตัวอย่าง อาจเป็นบุคคลใกล้ชิดหรือบุคคลในข่าว และสรุปไว้เป็น
ข้อมูลเพอื่ นามาอภปิ รายในกล่มุ
▪ สมาชิกแต่ละคนนาข้อสรุปของตนเองมาร่วมกันอภิปรายและวิเคราะห์ตามประเด็น
ดังต่อไปนี้

- การท่บี ุคคลมบี ทบาทสอดคล้องกบั สถานภาพส่งผลต่อสังคมอยา่ งไร
- ผลกระทบทางสังคมต่อกรณที บี่ ุคคลมบี ทบาทขัดแย้งกับสถานภาพเป็นอย่างไร
▪ หลังจากน้นั ใหบ้ นั ทกึ ไว้เปน็ ข้อสรุปของกลมุ่
 ทุกกลุ่มนาข้อสรุปของกลุ่มตนเองมาอภิปรายร่วมกันในที่ประชุมใหญ่ของช้ันเรียน เพื่อ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นและหาข้อสรปุ รว่ มกัน
 ระดมสมองเพ่ือหาแนวทางในการส่งเสริมให้นกั เรียนทุกคนปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามสถานภาพ

และบทบาทของตนเอง แลว้ ทาเป็นใบปลวิ เพื่อเผยแพร่ไปยงั นักเรยี นคนอ่นื ๆ ในโรงเรยี น

ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต์
๔. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุปสาระสาคญั และแนวคดิ ท่ไี ด้จากการทากิจกรรม

๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เกิดการตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทและ
สถานภาพของตนเองให้ถูกตอ้ ง

๖. นัดหมายนักเรยี นไปศึกษาค้นควา้ ท่แี หลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ แลว้ สรปุ ในชัว่ โมงถดั ไป
สื่อและแหล่งการเรยี นรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากัด

๒ ใบงาน
๓. บันทึกความดี

๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. สื่อ PowerPoint วิชาหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่ือเข้าเรยี น

๓. บันทกึ ความดี
๔. บนั ทกึ พัฒนาการความดี
การวัดผลและการประเมนิ ผล

วธิ วี ดั ผล
๑. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

๒. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่
๔. ตรวจคาถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน

๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบันทกึ ความดี
เครื่องมอื วดั ผล

๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ (โดยครู)

๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น)
๔. คาถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวชิ าหนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมนิ

๗. บันทกึ ความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรุง

๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)

๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้และทาใบงานได้ทุกใบงานจึงจะถือว่าผา่ นการประเมนิ

๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ข้ึนไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ

ประเมนิ ตามสภาพจริง
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมูลบนั ทึกความดใี นแต่ละครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็

พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพัฒนาความดีท่อี ยดู่ า้ นหลงั ของหน้าปกหนงั สอื เรียน
กิจกรรมเสนอแนะ

ให้นกั เรยี นทาบนั ทกึ ความดีและนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7

วิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 ครผู ้สู อน นายรัตนชัย ออมสนิ

หน่วยที่ 6 ชื่อหนว่ ย พลเมืองดตี ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน 2 ชวั่ โมง

จุดประสงค์รายวชิ า

๑. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธหิ นา้ ทีข่ องพลเมืองดแี ละ

หลักธรรมของศาสนา

๒. ปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

๓. ปฏิบัตติ นเป็นศาสนกิ ชนท่ีดตี ามหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื

๔. ตระหนักถงึ การดารงชวี ติ ท่ถี ูกต้องดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความร้เู ก่ียวกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบันทางสงั คม สิทธหิ น้าทีพ่ ลเมืองดี และหลกั ธรรม

ของศาสนา

๒. วิเคราะห์หลักการของวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงเพือ่ ใชใ้ นการดารงชวี ติ

๓. นาหลกั ศาสนา หลักธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ช้เพอ่ื การเปน็ พลเมอื งดี

สาระสาคัญ

พลเมอื งดี คือ พลเมอื งที่มีคณุ ภาพ มคี วามรู้ ความสามารถ มสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งความเจรญิ ก้าวหน้า

ใหก้ ับบา้ นเมอื ง มคี วามรับผดิ ชอบ การปฏิบัตติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงคอื วธิ ีหนึง่ ของการปฏิบัติตน

เพ่อื ใหเ้ ป็นพลเมอื งดี

ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวงั

๑. บอกหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

๒. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีพลเมอื งดตี ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

๓. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ท่คี รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง

๑. ความมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ ๒. ความมีวินัย

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอ่ื สตั ย์สุจรติ

๕. ความเชือ่ ม่ันในตนเอง ๖. การประหยดั

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนัน

๙. ความรักสามคั คี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

๑. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๒. พลเมอื งดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น

๑. ครูและนักเรียนสนทนาเก่ียวกบั ปรัชญาหรอื แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นแนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ท่ีพระราชทานแก่พสกนิกรมาต้ังแต่
พุทธศักราช ๒๕๑๗ โดยทรงเน้นถึงแนวทางสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง ความตอนหนึ่งว่า “...

การพัฒนาประเทศ จาเปน็ ต้องทาตามลาดับขน้ั ต้องสร้างพื้นฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใช้ ของ
ประชาชนส่วนใหญเ่ ปน็ เบ้อื งต้นกอ่ น...” และทรงยา้ อกี ครงั้ หนงึ่ ซ่ึงเป็นคร้งั สาคญั ต่อจติ สานึกของ

คนทงั้ ประเทศ
๒. นักเรียนยกตัวอย่างคาวา่ “พอเพยี ง” ตามความเขา้ ใจของตนเอง
๓. ครูอภิปราย “(คาว่าพอเพียง) ...ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัว

จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างน้ันมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียง
พอสมควร บางสง่ิ บางอยา่ งผลติ มากกว่าความตอ้ งการ (ทจ่ี ะเอาไว้บรโิ ภคเอง) กข็ ายได้ แตข่ ายใน

ท่ีไม่ห่างไกลนักไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...” “...ปัจจุบันน้ีจะปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐๐
เปอร์เซ็นต์คงทาไม่ได้ ปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงครอบครัวละเศษหน่ึงส่วนส่ีก็น่าจะพอ
...” (ทาให้ได้หนึง่ สว่ นแลว้ ค่อยขยายเทา่ ท่ีกาลงั สามารถจะทาได้) การปฏิบัตเิ ศรษฐกจิ พอเพียงวิธี

หนึ่ง คือ ผลิตไว้ใช้ “...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็
เบียดเบยี นคนอน่ื นอ้ ย...”

๔. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนประมาณ ๑๐ นาที แล้วสลบั กนั ตรวจ
ขัน้ สอน
๕. ครอู ธิบายหลกั แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเปิดวีดีทัศน์ให้นักเรยี นดู

๖. ครูบอกแนวการปฏิบัตทิ ี่เห็นเป็นรูปธรรม เกิดมาจากการยึดมั่นในระบบพอเพียงกอ่ น เม่ือยึดมั่น
หรือมีฐานที่ม่ันคงแล้ว การจะลงมือปฏิบัติก็ต้องให้สอดคล้องกับความตั้งใจ หรืออุดมการณ์นั้น

จากแนวพระราชดาริ สามารถแยกออกเป็นแนวปฏบิ ัติได้ ดงั นี้
๑) ผลิตไว้ใช้ เม่ือจะผลิตบางส่ิงบางอย่างควรเร่ิมต้นจากการผลิตสาหรับครอบครัวก่อน ให้

พอเพยี งตอ่ การดารงชพี ของคนในครอบครวั ตนเอง

๒) ผลิตไว้ขาย เม่ือผลิตเพียงพอต่อความต้องการในครอบครัวแล้ว หากผลผลิตท่ีได้เหลือหรือ
เกนิ ความจาเป็นสามารถจัดสรรหรอื แปรให้เปน็ รายได้ โดยการนาออกจาหนา่ ย ขายออก แต่

ควรเร่ิมต้นจากการขายในบริเวณชุมชนของตนเอง ซ่ึงไม่ต้องใช้ต้นทุนเพิ่ม เช่น ค่าขนส่ง ค่า
เสยี เวลา
๓) ไม่โลภมากจนเบียดเบียนผู้อ่ืน ผู้ดารงชีวิตแบบพอเพียง จะตั้งอยู่ในความไม่เบียดเบียนแม้มี

ความปรารถนาต้องการก็ไม่เกินประมาณมากนัก คือไม่โลภจนกลายเป็นลุ่มหลง ไม่จงใจทา
ให้ผอู้ น่ื เดือดรอ้ นเพยี งเพราะเหน็ ว่าตนจะได้กาไร

๗. ครูใช้เทคนิคการอภิปรายเป็นคณะ (Conference) เป็นการชุมนุมอภิปรายระหว่างนักเรียนเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นและประสบการณ์ โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเป็นวิทยากรผู้ดาเนินการ
อภิปรายเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงให้นกั เรยี นฟัง

๘. นักเรียนแบ่งกลุม่ จัดทาแผน่ พับและออกแบบประชาสมั พนั ธ์ให้ความรูเ้ รื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับ
แนวทางการดาเนินชีวิตตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ให้ชุมชนเห็นความสาคัญและเกิด

ความรว่ มมือปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมเศรษฐกจิ พอเพียง
๙. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นแสดงข้อคิดเหน็ ซกั ถามปญั หาต่าง ๆ เมื่อจบการอภปิ ราย อาจจะมปี ระเด็น

สาคญั เพื่อนาเสนอครู และเพ่ือนรว่ มช้นั เรียนซงึ่ อาจมีการแกป้ ญั หาต่อไป (ถา้ มี)
๑๐.นักเรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมดงั น้ี

๑) แบง่ กลุม่ กลุ่มละ ๕-๖ คน

๒) นักเรียนพิจารณาถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลที่ดีต่อนักเรียนและบุคคลใน
ครอบครวั

๑๑.นกั เรียนทาใบงาน
ขัน้ สรุปและการประยกุ ต์
๑๒.ครูและนกั เรียนสรปุ จากการพิจารณาแนวคดิ หรือปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มหี ลกั การสาคัญ

๒ ประการ ที่ทาให้เกิดผลเชิงประจักษ์ ได้แก่ (๑) ความพอประมาณ (๒) ความมีเหตุผล ซึ่งเป็น
หลักอาศัยกนั และกันทาใหเ้ กดิ ภาวะ “พอเพียง” ขึ้น

๑๓.นกั เรยี นทาคาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้
สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้

๑. หนงั สือเรียน วิชาหน้าทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สานกั พมิ พเ์ อมพันธ์ จากดั

๒ ใบงาน
๓. บันทึกความดี

๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. สอื่ PowerPoint วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื งและศลี ธรรม
หลักฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่ือเขา้ เรยี น

๓. บันทึกความดี
๔. บนั ทึกพัฒนาการความดี
การวดั ผลและการประเมนิ ผล

วิธีวดั ผล
๑. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

๒. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
๓. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามท้ายหน่วยการเรยี นร/ู้ ใบงาน

๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบันทกึ ความดี
เครอ่ื งมือวดั ผล

๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ (โดยครู)
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรยี น)

๔. คาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนงั สือเรยี นวิชาหน้าท่พี ลเมืองและศีลธรรม
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมิน

๗. บันทกึ ความดี

เกณฑ์การประเมินผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง

๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรูแ้ ละทาใบงานไดท้ ุกใบงานจึงจะถือวา่ ผ่านการประเมนิ

๕. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ขึ้นไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจรงิ
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมูลบนั ทึกความดใี นแต่ละครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็

พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ีอ่ ย่ดู า้ นหลังของหน้าปกหนงั สือเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรยี นทาบันทึกความดแี ละนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8

วชิ า หน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม รหัสวชิ า 20000-1501 ครผู ู้สอน นายรตั นชยั ออมสนิ

หนว่ ยที่ 7 ช่ือหน่วย พลเมอื งดีตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน 2 ชวั่ โมง

จุดประสงคร์ ายวชิ า

๑. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าท่ีของพลเมืองดี

และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนิกชนท่ีดีตามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถือ

๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ติ ท่ีถูกต้องดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั สถาบนั ครอบครัวและสถาบนั ทางสงั คม สิทธิหน้าท่พี ลเมอื งดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลกั ธรรม และหลักกฎหมาย มาประยกุ ต์ใช้เพ่อื การเป็นพลเมืองดี

สาระสาคัญ

ศาสนาเป็นส่ิงจาเป็นแก่ชีวิต ศาสนาทาให้มนุษย์สามารถอยู่ได้ตามลาพังโดยปราศจากความกลัว

คาสอนในศาสนาต่าง ๆ มีความสาคัญอย่างย่ิงในการพัฒนาบุคคลให้มีทัศนคติท่ีดีงาม มีคุณธรรมประจาตน

และแนวทางปฏิบัติอันถูกต้อง ศาสนาจะช่วยพัฒนาปรับปรุงความคิดและการกระทาต่าง ๆ ของบุคคลให้มี

คุณภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการแก้ปัญหาและข้อบกพร่องของตนเองได้ จนสามารถบรรลุความสาเร็จในชีวิต

และพ้นจากความทุกข์ ผู้ที่พัฒนาตนเองแล้วย่อมมีศักยภาพและคุณภาพมีหลักปฏิบัติอันถูกต้องและมีความ

พร้อมในการสร้างประโยชน์สุขแก่สังคมส่วนรวม คาสอนของศาสนาจึงมีเป้าหมายให้ผู้ศึกษาและปฏิบัติตาม

สามารถพัฒนาตนเองและสังคมได้

ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั

๑. อธิบายความหมาย จุดกาเนดิ ความสาคัญของศาสนากับการดาเนินชีวิต และลักษณะของศาสนาได้

๒. บอกศาสนาสาคัญของโลกได้

๓. อธบิ ายประเภทของศาสนาได้

๔. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ที่ครสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

๑. ความมีมนุษยสัมพันธ์ ๒. ความมวี ินยั

๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซอื่ สตั ย์สจุ ริต

๕. ความเช่อื ม่ันในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นสงิ่ เสพติดและการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. ความหมายของศาสนา

๒. จุดกาเนิดของศาสนา

๓. ความสาคัญของศาสนากบั การดาเนนิ ชีวิต
๔. ลักษณะของศาสนา
๕. ศาสนาสาคัญของโลก
๖. ประเภทของศาสนา
กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน (การสรา้ งศรทั ธา)
๑. ครูพูดคุยกับนกั เรียนเก่ยี วกบั เรอื่ งศาสนาเพอื่ เปน็ การสรา้ งศรัทธาให้เกิดข้นึ แก่ผเู้ รยี นว่าโดยทว่ั ไป

มนุษยไ์ มว่ ่าชาตใิ ดภาษาใด ล้วนเป็นคนมศี าสนาแทบท้ังสิ้น และศาสนาท่ีตนนบั ถือย่อมกาหนดไว้
แล้วต้ังแต่เกิดมา พ่อแม่ และปู่ย่า ตายาย เคยนับถือศาสนาอะไร ลูกท่ีเกิดมาในครอบครัวก็นับถือ
ศาสนาน้ันด้วย แม้ว่าคนจานวนหนึ่งอาจไม่มีศาสนา หรือนับถือศาสนาหน่ึงมาต้ังแต่เกิด อาจ
เปลี่ยนไปนับถืออีกศาสนาหนึ่งก็ได้ แต่มีน้อย คนจานวนมากเกิดในศาสนาใดก็อยู่ในศาสนาน้ัน
และตามปกตกิ ต็ ายอยู่ในศาสนาน้ัน

๒. นักเรยี นแขง่ ขันกันทายปญั หา โดยแบง่ กลมุ่ ๓-๔ กลุม่ (ตามความเหมาะสม) ใหต้ วั แทนเขยี นตอบ
ในกระดาษ หรือออกมาเขยี นตอบบนกระดานหนา้ ชัน้ เรยี น โดยครอู ่านคาถามจากบตั รคาถาม ให้
แต่ละกลุ่มสลับกันภายในกลุ่มออกมาเขียนตอบคนละหน่ึงขอ้ ครูกล่าวคายกยอ่ งชมเชยกลุ่มท่ี
ตอบได้คะแนนมากที่สุดเม่ือเฉลยแต่ละข้อใหเ้ ขียนคะแนนแต่ละกลมุ่ บนกระดาน

ขนั้ สอน
๓. นกั เรยี นทาแบบประเมินผลการเรียนรู้
๔. ครูกลา่ วความนาเก่ียวกับพระพุทธศาสนา ซงึ่ ศาสนาเป็นเรื่องของความเชอ่ื ไม่ว่าจะเป็นศาสนาใด

ล้วนมีวัตถุประสงค์ส่งเสริมความเข้าใจดี มีสันติต่อกัน มุ่งขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ
ต้องการให้มีสันติสุขเกิดขึ้นในโลก ทุกศาสนาจึงมีพิธี ศิลปะและประเพณีเก่ียวกับศาสนาที่เป็น
การแสดงออกแห่งความเช่ือตามแต่ศาสนาของตน จากน้ันครูอธิบายความหมายของศาสนา
ความสาคัญของศาสนา ลักษณะของศาสนา ประเภทของศาสนาและศาสนากับการดาเนินชีวิต
โดยนารูปภาพพระพทุ ธศาสนามาแสดงให้นักเรียนดูประกอบ การดาเนินชีวิตของประชาชนควร
จะต้องยึดหลกั ธรรมะ ไมว่ ่าจะอยู่ในฐานะและบทบาทใด เพราะธรรมะจะทาใหง้ านท่ีทาอยสู่ าเร็จ
ตามความมุง่ หวัง ท้งั ยงั ชว่ ยแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ได้ การปฏบิ ัติตามหลักธรรมะน้ันมิได้
มีเพียงหลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนาเท่าน้ัน ทุกศาสนาต่างก็มีคาสอนทต่ี ้องการให้ประชาชน
ทกุ คนเป็นคนดี อย่ดู ้วยกันอยา่ งมคี วามสุข และมนุษยท์ ุกคนต้องมีทีพ่ ง่ึ ทางใจ เพ่อื สร้างความมั่นใจ
ให้กับชวี ติ
๕. นักเรียนตอบคาถามเก่ียวกับความหมายของศาสนา ความสาคัญของศาสนา และศาสนามี
ความสาคัญตอ่ ชีวิตอย่างไรบ้าง

ขน้ั สรุปและการประยุกต์
๖. นักเรียนสลับกันตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ หรือให้ตรวจด้วยตนเองเพื่อทดสอบความ
ซ่ือสัตย์โดยดูเฉลยจากแผ่นใส เสร็จแลว้ ส่งครู
๗. ใหน้ กั เรยี นทาใบงาน

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสอื เรยี น วิชาหนา้ ทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สานักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จากัด
๒. บตั รคาถาม
๓. ส่ือ PowerPoint วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื งและศลี ธรรม

หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเช็คชอ่ื เข้าเรยี นในวิชา
๓. บนั ทึกความดี

การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
๑. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ
๓. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้/ใบงาน
๕. ตรวจบัตรคาถาม/แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
๗. ตรวจบันทกึ ความดี

เคร่อื งมือวัดผล
๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยนกั เรียน)
๔. คาถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู/้ ใบงาน จากหนงั สอื เรยี นวชิ าหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
๕. บตั รคาถาม/แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

รว่ มกนั ประเมนิ
๗. บันทกึ ความดี
เกณฑ์การประเมนิ ผล
๑. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรงุ
๒. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๓. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้และทาใบงานได้ทุกใบงานจงึ จะถอื ว่าผ่านการประเมิน
๕. ตอบคาถามจากบตั รคาถามได้ ๕ คาถาม/แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คอื พอใช้

(๕๐ % ข้นึ ไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจรงิ
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมลู บนั ทึกความดใี นแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดีที่อยดู่ า้ นหลงั ของหน้าปกหนังสือเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ

ใหน้ กั เรียนทาบนั ทึกความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9

วิชา หน้าที่พลเมอื งและศีลธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 ครูผสู้ อน นายรตั นชัย ออมสิน

หน่วยที่ 8 พุทธประวตั ิ วันสาคญั องค์ประกอบทางพระพุทธศาสนา และเร่ืองนา่ รจู้ ากพระไตรปฎิ ก 2 ช่วั โมง

จุดประสงค์รายวิชา

๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าท่ีของพลเมืองดี

และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนิกชนทีด่ ตี ามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื

๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชวี ิตท่ีถกู ตอ้ งดงี ามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสงั คม สทิ ธหิ นา้ ที่พลเมืองดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลกั ธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ต์ใช้เพื่อการเป็นพลเมืองดี

สาระสาคญั

พระพุทธประวัติในหน่วยน้ีเป็นการแสดงให้เห็นถึงพระประวัติของพระพุทธเจ้าต้ังแต่ประสูติ จนถึง

ปรินิพพาน แสดงให้เห็นว่าตลอดพระชนมช์ ีพ พระพุทธเจ้าได้ทรงสรา้ งคุณูปการต่าง ๆ ให้กับมนุษยชาติ และ

หลักธรรมที่ทรงแสดงไว้เป็นเวลานานกว่า ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว ยังคงทันสมัยมาจนทุกวันนี้ วันสาคัญทาง

พระพุทธศาสนาคอื วันสาคญั ในพุทธประวัติองค์ประกอบของพระพุทธศาสนามี ๓ ประการ คือ พระพทุ ธคุณ ๙

พระธรรมคณุ ๖ และพระสังฆคณุ ๙ เร่อื งนา่ รจู้ ากพระไตรปิฎกในท่ีน้ีคือ พทุ ธพยากรณ์ ๑๘ ประการ

ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง

๑. อธิบายพุทธประวัติได้

๒. อธิบายวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาได้

๓. บอกองค์ประกอบของพระพุทธศาสนาได้

๔. บอกคมั ภีร์สาคัญและเรื่องนา่ รู้จากพระไตรปิฎกได้

๕. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครูสามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

๑. ความมมี นษุ ยสมั พันธ์ ๒. ความมีวนิ ยั

๓. ความรบั ผิดชอบ ๔. ความซ่ือสตั ย์สุจรติ

๕. ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นส่ิงเสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. พระพุทธประวัติโดยสงั เขป

๒. ศกึ ษาพทุ ธประวัตจิ ากพระพทุ ธรูปปางตา่ ง ๆ

๓. วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา

๔. องค์ประกอบของพระพทุ ธศาสนา
๕. คัมภรี ์สาคัญทางพระพุทธศาสนา

๖. เร่ืองนา่ รจู้ ากพระไตรปิฎก
กจิ กรรมการเรยี นรู้

ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น (การสร้างศรทั ธา)
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกย่ี วกบั พุทธประวัติ
๒. ครูถามนกั เรียนถึงศาสนาที่นักเรยี นนับถือโดยการสมุ่

๓. ครเู นน้ ใหน้ กั เรยี นให้ความสาคญั กับคาสอนซ่ึงเป็นหวั ใจของพระพทุ ธศาสนา คอื การไม่ทาชั่วทัง้ ปวง
ทาแตค่ วามดี และทาจติ ให้บริสุทธิ์ การจะเป็นคนดไี ด้นัน้ ก็จะต้องปฏิบัตติ ามหลักคาสงั่ สอน และ

หลักธรรมสาคัญของพระพุทธศาสนาซึ่งปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก เช่น ความเช่ือเร่ืองกรรม
อริยสจั ๔ ไตรลักษณ์ เป็นตน้
ขั้นสอน

๔. ครูอธิบายเก่ียวกับการตรัสรู้และการก่อตัวพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป หลักธรรมสาคัญของ
พระพทุ ธศาสนา วนั สาคัญ ใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นร้เู พื่อประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน

๕. นักเรยี นทาใบงาน
๖. ครูสมุ่ ถามนักเรียนเก่ยี วกับพระพทุ ธรูปประจาวันเกดิ ของตน
๗. ครูอธิบายถึงคัมภีรส์ าคัญทางพระพุทธศาสนา

๘. ให้นกั เรยี นศกึ ษาเรือ่ งน่ารจู้ ากพระไตรปฎิ ก
๙. ครูสุ่มถามนักเรียนเก่ียวกับความเห็นจากการศึกษาเร่ืองน่ารู้จากพระไตรปิฎก ว่าสัมพันธ์กับ

เหตุการณใ์ นสงั คมปัจจบุ นั หรือไมอ่ ย่างไร
ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
๑๐. นักเรยี นบันทกึ ความดี และนาผลการบันทึกความดไี ปพลอ็ ตกราฟ เพอื่ ดูพัฒนาการความดีตอ่ ไป

สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรียน วิชาหนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม ของบรษิ ัท สานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จากดั

๒. กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้
๓. แบบประเมินผล
๔. ใบงาน

๕. บันทึกความดี
๖. แบบประเมนิ ตนเอง

๗. สอื่ PowerPoint วิชาหน้าทพี่ ลเมอื งและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม

๒. การเชค็ ช่อื เขา้ เรยี น
๓. บนั ทกึ ความดี

๔. บันทกึ พฒั นาการความดี
การวดั ผลและการประเมินผล

วิธวี ัดผล

๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

๒. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
๓. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่

๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้

๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

๗. ตรวจบันทกึ ความดี

เคร่อื งมอื วดั ผล
๑. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล

๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยนกั เรียน)
๔. คาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรยี นวชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม

๕. แบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

รว่ มกันประเมิน
๗. บันทึกความดี
เกณฑ์การประเมินผล

๑. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)

๓. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ กุ ใบงานจึงจะถอื ว่าผ่านการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คอื พอใช้ (๕๐ % ขึ้นไป)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมูลบันทึกความดีในแตล่ ะครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดีที่อยู่ดา้ นหลังของหนา้ ปกหนังสือเรียน

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรยี นทาบันทึกความดแี ละนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 10

วชิ า หน้าทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม รหัสวชิ า 20000-1501 ครผู ้สู อน นายรัตนชยั ออมสนิ

หน่วยท่ี 8 ช่อื หน่วย สอบกลางภาค จานวน 2 ชว่ั โมง

สาระสาคญั
การสอบกลางภาคเปน็ การวัดความรูแ้ ละความเข้าใจในหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1-8

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11

วชิ า หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม รหสั วิชา 20000-1501 ครูผู้สอน นายรตั นชยั ออมสนิ

หนว่ ยที่ 9 ชอ่ื หน่วย หลักธรรมและหลักปฏิบัตทิ างพระพทุ ธศาสนา จานวน 2 ชั่วโมง

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า

๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าท่ีของพลเมืองดี

และหลักธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนิกชนทดี่ ีตามหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื

๔. ตระหนกั ถึงการดารงชีวติ ที่ถกู ตอ้ งดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหนา้ ท่ีพลเมอื งดี และหลกั ธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลักธรรม และหลักกฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ชเ้ พื่อการเป็นพลเมืองดี

สาระสาคญั

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา หรือคาสอนทางพระพุทธศาสนาปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกมีอยู่

เปน็ จานวนมาก แต่หลกั ธรรมทม่ี ีความสาคัญมากทสี่ ดุ ทางพระพทุ ธศาสนา คอื อรยิ สจั ๔

ส่วนหลักปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา คือไม่ทาความชั่วทั้งปวง ทาแต่ความดี ทาจิตของตนให้ผ่องใส

ทั้งหมดเรมิ่ ต้นทกี่ ารสวดมนต์ และทาสมาธิ

ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั

๑. อธิบายหลกั ธรรมสาคัญทางพระพทุ ธศาสนาได้

๒. สามารถสวดมนตภ์ าษาบาลีแลว้ แปลเปน็ ภาษาไทยได้

๓. สามารถกล่าวคาแผเ่ มตตาใหท้ ้ังตนเองและผู้อืน่ ได้

๔. ปฏิบัติวธิ กี ารบริหารจติ ตามหลกั พระพุทธศาสนาได้

๕. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง

๑. ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ ๒. ความมีวนิ ยั

๓. ความรบั ผิดชอบ ๔. ความซื่อสัตย์สุจริต

๕. ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง ๖. การประหยดั

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนัน

๙. ความรักสามคั คี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา

๒. ทกุ ข์(ธรรมทคี่ วรรู้เท่าทนั )

๓. สมทุ ัย (ธรรมทค่ี วรละ)

๔. นโิ รธ (ธรรมทค่ี วรบรรล)ุ

๕. มรรค (ธรรมทค่ี วรเจรญิ )
๖. หลกั ปฏบิ ตั ิทางพระพทุ ธศาสนา
กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่วั โมงท่ี ๑

๑. ครแู ละนักเรยี นช่วยกนั ยกตัวอย่างหลกั ธรรมสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่สามารถนาไปปรบั ใช้ใน
ชีวิตจริง
ขัน้ สอน
๒. นักเรียนจดั กลุม่ อภปิ รายยอ่ ย ๔ กลุ่ม ตามหัวขอ้ ดงั นี้

๑) กลุม่ ที่ ๑ ศึกษาเรอื่ งทุกข์
๒) กลุม่ ท่ี ๒ ศึกษาเรื่องสมุทัย
๓) กลุ่มท่ี ๓ ศกึ ษาเร่อื งนโิ รธ
๔) กลมุ่ ท่ี ๔ ศกึ ษาเรอ่ื งมรรค
๓. แต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียนและอภิปรายวิเคราะห์คุณธรรมที่ควรประยุกต์ใช้เป็น
แบบอยา่ ง
๔. นกั เรียนออกมาเสนอผลงานกล่มุ ครสู งั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต์
๕. นกั เรียนอภิปรายเพ่อื หาขอ้ สรุปรว่ มกนั
๖. นกั เรยี นทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรยี นรแู้ ละใบงาน ตรวจแบบทดสอบและตรวจใบงานด้วย
ตนเองเพ่อื ทดสอบความซอ่ื สัตย์
๗. ใหน้ ักเรียนบนั ทกึ ความดี และนาผลการบันทึกความดไี ปพล็อตกราฟ เพอ่ื ดพู ัฒนาการความดีของ
ตนตอ่ ไป

ช่ัวโมงท่ี ๒

ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
๑. ครูและนักเรียนเล่าถึงการเข้าไปฝึกจิตในวัดหรือสถานธรรมต่าง ๆ ซ่ึงการฝึกจิตให้มีสมาธิไม่
วอกแวกหว่ันไหว เป็นภาวะที่จิตแนบแน่นอยู่กับส่ิงใดส่ิงหนึ่งนาน ๆ เป็นภาวะที่จิตมีคุณภาพและ
สมรรถภาพ ซง่ึ มลี กั ษณะสาคัญ คอื แขง็ แรง มพี ลงั ราบเรียบ สงบ สดใส เบิกบาน ออ่ นโยนไม่กระดา้ ง ไม่
เครยี ด ไมห่ ว่ัน ไม่ขนุ่ มัวไมส่ ับสน ไม่เร่าร้อนกระวนกระวาย จติ ทมี่ ีภาวะเชน่ น้ี ทางพระพุทธศาสนา ถอื
ว่า “เปน็ จิตที่เหมาะแกก่ ารใช้งาน” จะทาการส่ิงใดยอ่ มสาเร็จหรอื บรรลวุ ัตถุประสงค์
๒. นักเรียนยกตวั อย่างการบรหิ ารจติ โดยการตัง้ สมาธิ โดยทั่วไปมี ๒ ประเภท ไดแ้ ก่

(๑) สมาธิที่มีโดยธรรมชาติ เช่น เมื่ออ่านหนังสือ ใจจะจดจ่ออยู่กับเร่ืองท่ีอ่าน มีความสุขเพลิดเพลิน
สมาธิชนิดน้ีเป็นสมาธิท่ีมีโดยธรรมชาติ แต่จะมีหรือเกิดขึ้นก็เม่ือต้ังใจเอาใจจดจ่อ เมื่อเลิกต้ังใจ
สมาธกิ จ็ ะไมม่ ี
(๒) สมาธิที่ต้องพัฒนา คือ สมาธิท่ีเกิดจากการปฏิบัติตามวิธที ี่ได้รับจากการฝึก สมาธิชนิดนี้เมือ่
ฝึกฝนแล้ว จะมีพลังมากกว่าเดิมสามารถนาไปใช้ในกิจการต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ข้ันสอน (วิธสี อนแบบ Jigsaw)
๓. ครอู ธิบายเนือ้ หาการบริหารจิตโดยใชส้ ่ือวีดีทัศนเ์ ปิดประกอบการเรียน เพือ่ สอ่ื ความหมายง่ายขึ้นโดย

วิธีบริหารจิตตามหลักพระพทุ ธศาสนา วิธีบริหารจิตมีหลายวิธี ข้ึนอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะเลือกใชว้ ิธี
ใด เช่นเดียวกับการบรหิ ารร่างกาย บางคนอาจจะเลือกวธิ ีออกกาลังกายอยา่ งช้า ๆ เช่น เดิน ราตะบอง

โยคะ แตบ่ างคนอาจเหมาะกับวธิ อี อกกาลงั อย่างเรว็ ๆ เช่น วง่ิ แอโรบิก
๔ ครูอธบิ ายและสาธิตการสวดมนต์ และการสวดมนต์แปล
๕. แบ่งกลุม่ นักเรียนตามความเหมาะสม ปฏิบตั ิการสวดมนต์แปลตามท่ีไดเ้ รียนมา

๖. นักเรียนจัดกลุ่มเป็นกลุ่มย่อย ๆ กลุ่มละ ๔ คน แต่ละกลุ่มศึกษาการบริหารจิต การสวดมนต์ และ
การสวดมนต์แปล

ข้นั สรุปและการประยุกต์
๗. ครูชีแ้ นะใหน้ กั เรียนเห็นคุณค่า และความสาคัญของการการแผ่เมตตา คือ การตั้งความปรารถนา

ดีหรือแผ่ความรู้สึกเป็นมิตรไปยังเพ่อื นมนษุ ย์และอมนษุ ย์ท้ังหลาย ได้แก่ เทวดา และสรรพสัตว์

ให้มีความร่มเย็นเป็นสุข การแผ่เมตตานิยมทาหลังจากสวดมนต์หรือเจริญสมาธิเสร็จ การแผ่
เมตตาท่จี ะใหเ้ กิดผลตอ่ การพัฒนาจติ ควรแผ่เมตตาให้ตนเองกอ่ น แลว้ จงึ แผ่เมตตาให้ผู้อ่นื

๗. ทดลองฝกึ ให้นกั เรียนแผ่เมตตาใหต้ นเอง และแผ่เมตตาใหค้ นอื่น
สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้

๑. หนงั สอื เรยี น วชิ าหน้าทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สานกั พิมพ์เอมพนั ธ์ จากัด

๒. ใบงาน
๓. บนั ทกึ ความดี

๔. แบบประเมินตนเอง
๕. สอื่ PowerPoint วชิ าหนา้ ท่พี ลเมอื งและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่ือเข้าเรยี น

๓. บันทกึ ความดี
๔. บนั ทึกพฒั นาการความดี
การวดั ผลและการประเมนิ ผล

วธิ ีวดั ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

๒. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู/้ ใบงาน

๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทึกความดี
เครือ่ งมอื วดั ผล

๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยนักเรยี น)

๔. คาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหนา้ ที่พลเมอื งและศีลธรรม
๕. แบบประเมินผลการเรียนรู้

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน
ร่วมกันประเมิน

๗. บนั ทึกความดี

เกณฑ์การประเมินผล
๑. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรงุ

๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)
๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๔. ตอบคาถามท้ายหน่วยการเรียนรู้และทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถือว่าผา่ นการประเมิน

๕. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน คอื พอใช้ (๕๐ % ขึ้นไป)
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจริง
๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมูลบนั ทึกความดใี นแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเห็น

พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดีที่อยู่ดา้ นหลังของหนา้ ปกหนังสือเรยี น
กจิ กรรมเสนอแนะ

ใหน้ ักเรยี นทาบันทกึ ความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12

วิชา หน้าทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม รหัสวิชา 20000-1501 ครผู ู้สอน นายรัตนชยั ออมสนิ

หน่วยท่ี 10 ชื่อหนว่ ย หนา้ ที่ชาวพทุ ธและศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง จานวน 2 ชัว่ โมง

จุดประสงคร์ ายวิชา

๑. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าท่ีของพลเมืองดี

และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏิบตั ติ นเป็นศาสนิกชนทด่ี ีตามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื

๔. ตระหนกั ถงึ การดารงชีวติ ท่ถี กู ต้องดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาบนั ครอบครวั และสถาบันทางสงั คม สิทธหิ น้าทพี่ ลเมืองดี และหลกั ธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลักธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยุกต์ใชเ้ พอื่ การเป็นพลเมืองดีสาระสาคญั

สาระสาคญั

หน้าท่ีชาวพุทธเป็นคุณสมบัติท่ีดีของชาวพุทธท่ีจะต้องสร้างศรัทธาให้เกิดมีในตน เรียนรู้ระเบียบท่ี

ถกู ตอ้ งในการไปวัด ตลอดจนการประกอบพิธีกรรมและปฏบิ ตั ิตนท่ีเหมาะสมตอ่ พระสงฆ์

ศาสนกิ ชนตวั อยา่ งในท่นี ป้ี ระกอบด้วยพระภิกษุ และอบุ าสก ทีท่ าคณุ ประโยชนใ์ ห้แกพ่ ระพทุ ธศาสนา

และประเทศชาติ

ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั

๑. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ศาสนิกชนที่ดี

๒. วิเคราะหข์ ้อคิดและแบบอยา่ งการดาเนินชีวิตจากประวตั สิ าวก ศาสนิกชนตวั อย่าง

๓. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง

๑. ความมมี นุษยสัมพันธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรับผิดชอบ ๔. ความซอ่ื สัตย์สุจรติ

๕. ความเชือ่ ม่ันในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นสง่ิ เสพติดและการพนัน

๙. ความรกั สามคั คี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

๑. คณุ สมบัติทดี่ ีของชาวพุทธ

๒. การสร้างศรทั ธาให้เกดิ มีในตน

๓. การเรียนรรู้ ะเบยี บปฏิบตั ใิ นการไปวดั

๔. วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการประกอบพิธีกรรมทีว่ ดั ในโอกาสต่าง ๆ

๕. วิธีปฏิบัตติ นที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์

๖. ศาสนิกชนตัวอยา่ ง

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. ครูกล่าวถึงหน้าที่ชาวพุทธ คือ ส่ิงที่ชาวพุทธทั่วไปต้องเรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบและปฏิบัติตนได้
ถูกต้อง
๒. นักเรียนยกตัวอย่างชาวพุทธท่ียกย่องนับถือในสังคมมาเป็นตัวอย่าง เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่เนื้อหา
การเรียนการสอนตอ่ ไป
ขั้นสอน (วิธีสอนแบบ Jigsaw)
๓. ครูอภิปรายหน้าท่ีชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ โดยเปิดวีดีทัศน์งานอุปสมบท และการทาบุญตัก
บาตรของชาวพุทธโดยทว่ั ไป

๔. ครูให้นกั เรียนจดั กลมุ่ เปน็ กลุม่ ย่อย กลุ่มละ ๓-๔ คน เรยี กว่า กลุ่มบ้าน ไปจนครบชั้นเรยี น
๕. สมาชิกในกลมุ่ จะได้รับใบงานคนละ ๑ ใบ แลว้ ให้

• สมาชิก แยกจบั กล่มุ เป็นกล่มุ ผ้เู ชยี่ วชาญ ศึกษาคน้ ควา้ เรอื่ งวธิ ีปฏบิ ตั ิตนตอ่ พระสงฆ์
• สมาชิก แยกจบั กลุ่มเป็นกลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญ ศกึ ษาค้นควา้ เร่ืองศาสนิกชนตวั อย่าง วธิ ปี ฏิบัติตน
ในการประกอบพธิ กี รรมทีว่ ัดในโอกาสตา่ ง ๆ
๖. สมาชิกกลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มต้งั ประธานกลมุ่ และเลขานุการกลมุ่ ศกึ ษาค้นคว้า แลว้ บนั ทึกลงใน
ใบงานทไ่ี ด้รับแจก ประธานกลุ่มสงั เกตพฤติกรรม
ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
๗. นกั เรยี นแต่ละคนในกล่มุ ผู้เชย่ี วชาญ กลับมายงั กลุ่มบา้ นเดมิ ท่ตี นอยู่ แลว้ ผลดั กันอภปิ รายขอ้ ท่ีตน
สรปุ มาแลว้ ใหเ้ พ่อื นในกล่มุ บ้านฟงั ผลดั เปลย่ี นกันพูดตามลาดบั
๘. นักเรียน และครูช่วยกันสรุปอีกคร้ังหนึ่ง และเลือกศาสนิกชนตัวอย่างท่ีคนศรัทธา พร้อมสรุป
เหตผุ ล
๙. นักเรียนทาใบงานและทาแบบประเมินผล ครูเฉลยให้นักเรียนตรวจเอง และประเมินตนเองจาก
แบบสรปุ ผลการประเมินผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวังและประเมนิ ตนเองจากแบบประเมนิ ตนเอง เพอ่ื
ทดสอบความซื่อสตั ย์
๑๐.ให้นกั เรยี นบันทกึ ความดี
สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี น วิชาหนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม ของบรษิ ัท สานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จากดั
๒. ใบงาน
๓. บันทึกความดี
๔. แบบประเมนิ ตนเอง
๕. ส่ือ PowerPoint วชิ า หนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศลี ธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเช็คชือ่ เขา้ เรยี นในวิชา

๓. บนั ทกึ ความดี
๔. บันทึกพัฒนาการความดี

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
๑. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล

๒. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่

๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรียนรู้/ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์
๗. ตรวจบนั ทึกความดี

เครอ่ื งมือวดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ (โดยคร)ู

๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรยี น)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้/ใบงาน จากหนงั สอื เรยี นวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม

๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

รว่ มกนั ประเมนิ

๗. บันทึกความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ
๒. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)

๔. ตอบคาถามท้ายหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือว่าผ่านการประเมนิ
๕. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน คือ พอใช้ (๕๐ % ขึ้นไป)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนาข้อมลู บันทึกความดใี นแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดีท่ีอยดู่ ้านหลงั ของหนา้ ปกหนังสือเรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรียนทาบนั ทึกความดแี ละนาผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13

วชิ า หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม รหสั วิชา 20000-1501 ครผู สู้ อน นายรัตนชัย ออมสนิ

หน่วยที่ 11 ชอื่ หน่วย มารยาทชาวพทุ ธ จานวน 2 ช่ัวโมง

จุดประสงค์รายวชิ า

๑. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวสถาบนั กบั ครอบครัวและสถาบันทางสังคม สทิ ธหิ น้าท่ีของพลเมืองดีและ

หลักธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ัติตนเปน็ ศาสนิกชนทดี่ ตี ามหลกั ธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถอื

๔. ตระหนกั ถึงการดารงชีวติ ทีถ่ ูกต้องดงี ามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความร้เู กี่ยวกับสถาบนั ครอบครวั และสถาบนั ทางสังคม สทิ ธิหน้าที่พลเมืองดี และหลกั ธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลักศาสนา หลักธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยุกตใ์ ชเ้ พื่อการเปน็ พลเมืองดี

สาระสาคัญ

มารยาทชาวพทุ ธ และมารยาทชาวไทยเป็นของคู่กัน ดังน้ัน มารยาทชาวพุทธก็คือมารยาทชาวไทยที่

ควรปฏิบัตนิ น่ั เอง

ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั

๑. ปฏบิ ัตติ ามแบบอย่างมารยาทไทยได้

๒. ปฏิบัตกิ ารนัง่ การยืน่ การเดนิ การไหว้ และการกราบได้ถูกต้อง

๓. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง

๑. ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ ๒. ความมีวินยั

๓. ความรบั ผิดชอบ ๔. ความซอื่ สัตย์สุจริต

๕. ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง ๖. การประหยดั

๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนนั

๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรยี นรู้

๑. มารยาทชาวพุทธ ๒. การนงั่

๓. การยนื ๔. การเดนิ

๕. การไหว้ ๖. การกราบ

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น

๑. ครแู ละนักเรียนกล่าวถึงความสาคญั ของมารยาทในสงั คมไทย

ขนั้ สอน (วธิ สี อนแบบปฏิบตั ิกลุ่มยอ่ ย)
๒. นักเรียนจัดกลุ่มแต่ละกลุ่มเลือกประธาน และเลขานุการกลุ่มแบ่งกลุ่มปฏิบัติเก่ียวกับมารยาททาง

พุทธ
๓. ประธานกล่มุ สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่มของสมาชกิ ในกลุ่มพร้อมทง้ั บันทึกผลการ

ปฏิบตั ิตามใบงานสง่ ครู
ขั้นสรปุ และการประยุกต์
๔. สรุปผลการปฏบิ ตั ติ ามสภาพจริง

๕. นกั เรียนทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และประเมินตนเองเพอื่ ทดสอบความซื่อสตั ย์
๖. นกั เรียนบันทกึ ความดี

สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
๑. หนังสอื เรียน วิชาหน้าที่พลเมอื งและศีลธรรม ของบรษิ ัท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด
๒. ใบงาน

๓. บนั ทึกความดี
๔. แบบประเมินตนเอง

๕. ส่ือ PowerPoint วิชาหน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม
หลักฐาน

๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม

๒. การเช็คชือ่ เขา้ เรียนในวิชา
๓. บันทึกความดี

๔. พฒั นาการความดี
การวดั ผลและการประเมินผล

วธิ ีวัดผล

๑. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม

๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้/ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

๗. ตรวจบันทกึ ความดี
เคร่ืองมอื วัดผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล

๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยนักเรยี น)

๔. คาถามท้ายหน่วยการเรยี นรู้/ใบงาน จากหนงั สือเรยี นวิชาหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

ร่วมกนั ประเมนิ

๗. บันทกึ ความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง
๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)

๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้และทาใบงานได้ทกุ ใบงานจึงจะถอื ว่าผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คอื พอใช้ (๒๖-๓๕ คะแนน)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมลู บนั ทึกความดใี นแต่ละครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดที อี่ ย่ดู า้ นหลังของหนา้ ปกหนงั สือเรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรียนทาบันทึกความดีและนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14

วชิ า หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม รหัสวชิ า 20000-1501 ครผู ู้สอน นายรัตนชยั ออมสนิ

หนว่ ยที่ 12 ช่ือหน่วย ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู จานวน 2 ชั่วโมง

จดุ ประสงค์รายวิชา

๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าที่ของพลเมืองดี

และหลกั ธรรมของศาสนา

๓. ปฏิบัติตนเป็นศาสนกิ ชนท่ีดตี ามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถอื

๔. ตระหนักถึงการดารงชวี ติ ที่ถกู ต้องดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมอื งดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ ก่ียวกับสถาบนั ครอบครัวและสถาบันทางสงั คม สิทธหิ นา้ ทพ่ี ลเมืองดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม และหลักกฎหมาย มาประยุกต์ใช้เพื่อการเปน็ พลเมอื งดี

สาระสาคัญ

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาท่ีไมม่ ีศาสดา มรี ากฐานจากคติศรัทธา ความเชอื่ ทห่ี ลากหลายและ

พัฒนาการที่ยาวนานหลายพันปี มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม ความเชื่อ พิธีกรรมต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมท้ัง

ประเทศตา่ ง ๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ปรากฏหลักฐานทางอารยธรรมในประเทศกลุ่มอาเซยี น

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง

๑. อธิบายถึงหลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ-์ ฮินดไู ด้

๒. วิเคราะหถ์ ึงอารยธรรมอนิ เดียในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตไ้ ด้

๓. วเิ คราะหถ์ งึ อทิ ธิพลของวัฒนธรรมอนิ เดียทีม่ ีตอ่ วฒั นธรรมไทยได้

๔. บอกความสาคญั ของบคุ คลสาคญั ของศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู

๕. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง

๑. ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ๒. ความมวี นิ ยั

๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสัตยส์ ุจรติ

๕. ความเช่ือมนั่ ในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนัน

๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

๑. หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

๒. อารยธรรมอนิ เดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

๓. อิทธพิ ลของวฒั นธรรมอินเดียท่ีมตี อ่ วฒั นธรรมไทย

๔. บคุ คลสาคญั

กิจกรรมการเรียนรู้

ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน
๑. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายถึงวฒั นธรรมอินเดยี ในประเทศไทย

๒. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปถงึ วฒั นธรรมอนิ เดีย
ขนั้ สอน

๓. แบง่ กลุ่มผเู้ รียนออกเปน็ ๔ กลมุ่ ตามความเหมาะสม
กลมุ่ ท่ี ๑ อภิปรายถงึ หลักธรรมสาคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
กลมุ่ ที่ ๒ อภปิ รายถึงอารยธรรมอนิ เดยี ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้

กลุ่มท่ี ๓ อภปิ รายถงึ อารยธรรมอนิ เดียทมี่ ีต่อวัฒนธรรมไทย
กลุ่มท่ี ๔ อภิปรายถึงบคุ คลสาคัญในประเทศไทย

ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
๕. แตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน
๖. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปผลการอภิปราย

๗. นักเรียนทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ และประเมินตนเองเพ่อื ทดสอบความซ่อื สตั ย์
๘. นกั เรยี นบันทกึ ความดี และสรปุ เร่อื งทีป่ ระทับใจ

สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน วชิ าหน้าทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จากัด
๒. ใบงาน

๓. บันทกึ ความดี
๔. แบบประเมินตนเอง

๕. สื่อ PowerPoint วชิ าหนา้ ที่พลเมอื งและศลี ธรรม
หลักฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม

๒. การเช็คชือ่ เข้าเรียน
๓. บนั ทกึ ความดี

๔. บนั ทึกพฒั นาการความดี
การวัดผลและการประเมินผล

วิธวี ัดผล

๑. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ

๓. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
๔. ตรวจคาถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร้/ู ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

๗. ตรวจบันทกึ ความดี
เคร่ืองมือวัดผล
๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)

๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยนักเรยี น)
๔. คาถามท้ายหนว่ ยการเรยี นร/ู้ ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม

๕. แบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

รว่ มกนั ประเมนิ
๗. บนั ทกึ ความดี
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๑. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
๒. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)

๓. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๔. ตอบคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คอื พอใช้ (๕๐ % ขน้ึ ไป)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมูลบันทึกความดีในแตล่ ะครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที ีอ่ ยู่ดา้ นหลงั ของหน้าปกหนังสอื เรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนทาบนั ทกึ ความดีและนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 15

วิชา หนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 ครูผสู้ อน นายรัตนชัย ออมสิน

หน่วยท่ี 13 ช่ือหนว่ ย ศาสนาคริสต์ จานวน 2 ชั่วโมง

จุดประสงค์รายวิชา

๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าที่ของพลเมืองดี

และหลักธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นศาสนิกชนทดี่ ีตามหลกั ธรรมของศาสนาท่ตี นนบั ถือ

๔. ตระหนักถึงการดารงชีวิตทีถ่ ูกต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวชิ า

๑. แสดงความรเู้ กย่ี วกับสถาบนั ครอบครัวและสถาบันทางสงั คม สทิ ธิหนา้ ท่พี ลเมืองดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลักธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ตใ์ ช้เพ่อื การเป็นพลเมอื งดี

สาระสาคญั

ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาท่ีนับถือพระเจ้าองค์เดียว มีหลักคาสอนที่สาคัญ ความรักและวิธีปฏิบัติตาม

บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ มจี ดุ หมายปลายทางคอื การไดก้ ลบั ไปอย่กู ับพระผู้เป็นเจ้านิรนั ดร์

การศึกษาศาสนาคริสต์ จึงเป็นศาสนาสาคัญในกลุ่มอาเซียน จาเป็นในการเตรียมความพร้อม

เข้าสู่ประชาคมอาเซียนอกี ดว้ ย

ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั

๑. อธิบายประวตั ศิ าสดาของศาสนาคริสตโ์ ดยสังเขป

๒. อธิบายหลักคาสอนของศาสนาและวธิ ปี ฏบิ ัติในศาสนาครสิ ต์

๓. ตระหนกั ถงึ หลกั คาสอนของศาสนา อทิ ธพิ ลของศาสนาครสิ ต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

๔. อธิบายถึงการเผยแผ่คริสต์ศาสนาและการรบั วทิ ยาการตะวันตกในประเทศไทย

๕. อธบิ ายถงึ อทิ ธพิ ลของศาสนาคริสตต์ ่อสังคมไทย

๖. บอกความสาคัญของบคุ คลสาคญั ของศาสนาคริสต์ได้

๗. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

๑. ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ๒. ความมีวินยั

๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต

๕. ความเชื่อมน่ั ในตนเอง ๖. การประหยัด

๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ สง่ิ เสพติดและการพนนั

๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตัญญูกตเวที

สาระการเรียนรู้

๑. ประวัตศิ าสนา

๒. ประวัติศาสดา

๓. ประเภทของศาสนาคริสต์
๔. นิกายของศาสนาครสิ ต์

๕. หลักคาสอนของศาสนา
๖. วธิ ปี ฏิบัตใิ นศาสนา

๖. คมั ภีรท์ างศาสนา
๗. พิธกี รรมทางศาสนา
๘. ศาสนาคริสต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

๙. การเผยแผค่ รสิ ต์ศาสนาและการรบั วทิ ยาการตะวนั ตกในประเทศไทย
๑๐.บุคคลสาคัญ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น
๑. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายถงึ ศาสนาครสิ ต์ในประเทศไทย

๒. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรปุ ความสาคัญของศาสนาคริสต์
ขน้ั สอน

๓. แบ่งกลมุ่ ผู้เรยี นออกเปน็ ๔ กล่มุ ตามความเหมาะสม
กลมุ่ ท่ี ๑ อภปิ รายถงึ หลักคาสอนของศาสนาคริสต์
กลุม่ ที่ ๒ อภิปรายถงึ คมั ภรี ์สาคัญและพิธีกรรมของศาสนาครสิ ต์

กล่มุ ท่ี ๓ อภิปรายถึงวทิ ยาการตะวนั ตกในประเทศไทย
กลมุ่ ท่ี ๔ อภิปรายถึงบคุ คลสาคญั ในประเทศไทย

ขน้ั สรุปและการประยุกต์
๕. แต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลงาน
๖. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปผลการอภิปราย

๗. นกั เรยี นทาแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และประเมินตนเองเพอ่ื ทดสอบความซ่ือสัตย์
๘. นกั เรียนบนั ทึกความดี และสรุปเรือ่ งท่ปี ระทบั ใจ

ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
๑. หนงั สอื เรียน วชิ าหนา้ ท่พี ลเมอื งและศลี ธรรม ของบริษทั สานักพมิ พเ์ อมพันธ์ จากัด
๒. ใบงาน

๓. บันทกึ ความดี
๔. แบบประเมนิ ตนเอง

๕. สือ่ PowerPoint วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมอื งและศีลธรรม
หลกั ฐาน

๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม

๒. การเช็คชื่อเข้าเรียน
๓. บันทกึ ความดี

๔. บันทกึ พฒั นาการความดี
การวัดผลและการประเมนิ ผล

วิธีวัดผล

๑. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

๒. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
๓. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่

๔. ตรวจคาถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนร้/ู ใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้

๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์

๗. ตรวจบันทึกความดี

เครอื่ งมือวัดผล
๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล

๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยนักเรียน)
๔. คาถามทา้ ยหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสอื เรยี นวิชาหน้าที่พลเมอื งและศีลธรรม

๕. แบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรียน

ร่วมกันประเมิน
๗. บันทกึ ความดี
เกณฑก์ ารประเมินผล

๑. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรงุ
๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)

๓. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
๔. ตอบคาถามท้ายหน่วยการเรยี นรแู้ ละทาใบงานได้ทุกใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผ่าน คือ พอใช้ (๕๐ % ขึ้นไป)

๖. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

๗. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดดี ้วยการนาข้อมลู บนั ทึกความดใี นแต่ละครัง้ มาเขียนกราฟแสดงจะเหน็
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดที ีอ่ ยดู่ ้านหลงั ของหนา้ ปกหนังสอื เรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นทาบันทกึ ความดีและนาผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 16 ครผู ู้สอน นายรัตนชัย ออมสนิ
วชิ า หน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม รหสั วชิ า 20000-1501 จานวน 2 ชัว่ โมง
หนว่ ยที่ 14 ช่อื หน่วย ศาสนาอสิ ลาม

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหน้าที่ของพลเมืองดี

และหลักธรรมของศาสนา

๓. ปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนิกชนทดี่ ีตามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถือ

๔. ตระหนักถึงการดารงชีวติ ทถ่ี กู ต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

๑. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั สถาบันครอบครัวและสถาบนั ทางสังคม สทิ ธิหนา้ ท่ีพลเมอื งดี และหลักธรรม

ของศาสนา

๓. นาหลกั ศาสนา หลักธรรม และหลกั กฎหมาย มาประยกุ ต์ใชเ้ พ่อื การเปน็ พลเมอื งดี

สาระสาคญั

ศาสนาอิสลาม เปน็ ศาสนาท่ีเช่อื ในพระเจ้าองค์เดยี ว เชอ่ื ในคัมภีรอ์ ัลกรุ อาน เชื่อในการทาความดี ไม่

ใฝท่ ารา้ ยผู้อน่ื ยดึ หลกั สันติภาพ ใฝ่ความสงบ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับศาสนาอ่นื ในโลกอยา่ งสันติ