การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

สวัสดีค่ะน้องๆ ม.4 ทุกคน การสอบปลายภาคใกล้เข้ามาแล้ว เป็นยังไงบ้างคะ เตรียมตัวพร้อมแล้วหรือยัง วันนี้พี่บิวมีฟิตเพิ่มเกรดฟิสิกส์ ม.ปลาย เรื่อง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ มาฝากน้องๆ ซึ่งพี่บิวจะมีสรุปสูตร และมีโจทย์สำหรับการเคลื่อนที่แต่ละแบบให้น้องๆ ด้วย ว่าแล้วมาดูกันเลยค่ะ ว่ามีการเคลื่อนที่แบบไหนบ้าง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ หรือการเคลื่อนที่วิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ของแนวราบ และแนวระดับไปพร้อมๆ กัน โดยที่แกน x จะมีความเร็วคงที่ เช่น การขว้างลูกบอลออกไปข้างหน้า (แกน x) แต่เนื่องจากมีแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้ลูกบอลตกลงมา (แกน y) จึงทำให้วิถีของลูกบอลพุ่งออกไปตรงๆ และโค้งลงมาด้วยพร้อมๆ กัน

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

ภาพการขว้างลูกบอล จากคอร์สเก่งฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1

การคำนวณการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ คือการคำนวณ แกน x , แกน y แยกกัน จากสูตร

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

ตัวอย่างโจทย์

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

การเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบอัตราเร็วคงตัว หรือ แบบวงกลมสม่ำเสมอ การที่วัตถุจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมได้นั้น คือ วัตถุมีแรงสู่ศูนย์กลาง ทำให้วัตุมีการเปลี่ยนทิศของความเร็ว ตัวอย่างที่พบได้ในชีวิตประจำวัน เช่น การเลี้ยวโค้งของรถ รถไฟเหาะ เป็นต้น

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

ภาพการหมุนของลูกตุ้ม จากคอร์สเก่งฟิสิกส์ ม.4 เทอม 1

โดยการคำนวณจะใช้สูตรดังนี้

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

ตัวอย่างโจทย์

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก คือ การเคลื่อนที่แบบกลับไปกลับมาซ้ำที่จุดเดิม โดยผ่านจุดสมดุล เช่น การแกว่งลูกต้ม การสั่นของสปริง 

การเคลื่อนที่แบบวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เกิดขึ้นเนื่องจากวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะนั้นมีแรงดึงวัตถุเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม เรียกว่า แรงเข้าสู่ศูนย์กลางการเคลื่อนที่ จึงทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เช่น การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เป็นวงกลม จะต้องมีแรงกระทำต่อวัตถุในทิศเข้าหาศูนย์กลางของวงกลม เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง(centripetal force) แรงนี้จะทำให้วัตถุเปลี่ยนทิศของความเร็วซึ่งอยู่ในแนวเส้นสัมผัสของวงกลมทำให้วัตถุวิ่งเป็นวงกลมอยู่ได้ หากไม่มีแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อวัตถุ วัตถุจะไม่เคลื่อนที่เป็นวงกลมแต่จะวิ่งไปในแนวเส้นสัมผัสแรงที่ทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลางอาจเป็นแรงเสียดทานที่กระทำต่อวัตถุเมื่อวัตถุสัมผัสกับพื้น หรือเป็นแรงที่พื้นกระทำต่อวัตถุซึ่งแยกแรงมาอยู่ในแนวเข้าสู่ศูนย์กลางได้ กรณีผูกด้วยเชือกแล้วแกว่งเป็นวงกลมในแนวระดับ แรงดึงของเชือกก็จะทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง เป็นต้น

การเคลื่อนที่แบบวงกลมมีลักษณะเฉพาะ โดยมีการเคลื่อนที่เป็นรอบ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา เรียกว่า ความถี่ (frequency) ใช้สัญลักษณ์ f มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาทีหรือ เฮิรตซ์ (Hz) และถ้าวัตถุกำลังเคลื่อนที่เป็นวงกลมที่มีรัศมี r ด้วยอัตราสม่ำเสมอ อัตราเร็วของวัตถุ v จะหาได้จากสมการ

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

ขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่เป็นวงกลม แรงที่ทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง (Fc) จะต้องมีขนาดเท่าใดนั้น จะสัมพันธ์กับมวลของวัตถุ (m) อัตราเร็วของวัตถุ (v) และรัศมีการเคลื่อนที่ (r) ตามสมการ

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

 

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

เครื่องเล่น Tagada Disco ของสยามพาร์คซิตี้ ใช้การหมุนของจานหมุนขนาดใหญ่ให้ผู้เล่นที่นั่งอยู่ขอบจานเคลื่อนที่เป็นวงกลม ระนาบของการหมุนเอียงเล็กน้อยและมีการเขย่าด้วยลูกสูบลมเพื่อให้รู้สึกตื่นเต้น จานหมุนจะมีราวเหล็กและพนักพิงอยู่โดยรอบ ขณะผู้เล่นเคลื่อนที่เป็นวงกลมไปพร้อมจานหมุน ก็จะถูกเหวี่ยงให้อัดตัวเข้ากับพนักพิง เกิดแรงที่พนักพิงดันผู้เล่นในทิศเข้าหาศูนย์กลาง และแรงเสียดทานที่เบาะที่นั่งกระทำต่อผู้เล่นก็มีทิศเข้าหาศูนย์กลางเช่นกัน แรงทั้งสองจึงทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง

1 การเคลื่อนที่แบบวงกลม หมายถึง การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เกิดขึ้นเนื่องจากวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเดินทางเป็นเส้นตรงเสมอ แต่ขณะนั้นมีแรงดึงวัตถุเข้าสู่ศูนย์กลางของวงกลม เรียกว่า แรงเข้าสู่ศูนย์กลางการเคลื่อนที่ จึงทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมรอบศูนย์กลาง เช่น การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก

2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุขนานกับพื้นโลก เช่น รถยนต์ที่กำลังแล่นอยู่บนถนน

3 การเคลื่อนที่แนววิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งและในแนวราบ

การเคลื่อนที่ แบบ วงกลม ในชีวิต ประ จํา วัน

http://vichakarn.triamudom.ac.th/comtech/studentproject/final54/824/Infinite%20Stratos/PHY/Newton.html