ใบงาน งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

ใบงาน งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

narong.1234 Download PDF

  • Publications : 5
  • Followers : 0

ใบงานวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

ใบงานวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

View Text Version Category : All

  • Follow

  • 0

  • Embed

  • Share

  • Upload

แผนการจดั การเรยี นรู้

มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ช่อื วิชา งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์เบอื้ งตน้
รหัสวิชา 20100-1005 ท-ป-น 1-3-2

หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562
ประเภทวิชา อุตสาหกรรม
สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์

จัดทำโดย

จณิ ทวฒั น์ จนั ทร์แดง
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ รหสั วชิ า 20100-1005

ควรอนุญาตให้ใช้การสอนได้
ควรปรบั ปรุงเกยี่ วกบั ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................
(.......................................................)
หัวหน้าหมวด / แผนกวิชา
............../......................../....................

เห็นควรอนญุ าตให้ใชก้ ารสอนได้
ควรปรบั ปรุงดังเสนอ
อน่ื ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .....................................................
(.......................................................)
รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
............../......................../....................

อนุญาตให้ใชก้ ารสอนได้
อ่ืน ๆ ..........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .....................................................
(.......................................................)
ผู้อำนวยการ
............../......................../....................

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วชิ า งาน
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น รหัสวิชา 20100-1005 เล่มน้ีได้จัดทำข้ึนเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน
หรือเป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พทุ ธศักราช 2562 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

การจัดทำได้มีการพัฒนาเพ่ือให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 16 หน่วย การจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรม
จริยธรรม ไว้ในหน่วยการเรียนรู้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อหา มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรียน พร้อมเฉลย มใี บงาน กิจกรรมปฏิบัติ และส่ือการเรียนการสอนต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน
มากยง่ิ ขน้ึ

ผู้จัดทำหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อครู -อาจารย์และ
นักเรียน หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผูจ้ ัดทำยนิ ดีนอ้ มรบั ไว้เพ่ือปรบั ปรุงแกไ้ ขในครง้ั ตอ่ ไป

ลงช่ือ จณิ ทวฒั น์ จันทรแ์ ดง

สารบญั หนา้

คำนำ ............................................................................................................................................. ง
สารบญั ......................................................................................................................................... จ
หลกั สูตรรายวชิ า ........................................................................................................................... ฉ
หน่วยการเรยี นรู้ ............................................................................................................................ ช
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่สี อดคลอ้ งกบั สมรรถนะรายวิชา....................................................................... ซ
โครงการจัดการเรยี นรู้ .................................................................................................................. ญ
สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ ..................................................................................... ห
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวิชา ................................................................................................... 1
แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส.์ ................................ 6
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า.................................................. 12
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 กฎของโอห์มและวงจรไฟฟา้ เบือ้ งต้น................................................. 18
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 วงจรไฟฟา้ แสงสว่าง........................................................................... 23
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 5 อุปกรณ์ปอ้ งกันไฟฟ้าและการต่อสายดนิ ............................................. 29
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 การควบคมุ มอเตอรเ์ บ้อื งตน้ ................................................................ 35
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 ตวั ต้านทาน........................................................................................ 42
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 8 ตัวเกบ็ ประจุ........................................................................................ 48
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ตัวเหนยี่ วนำ........................................................................................ 55
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 10 ไดโอด............................................................................................... 60
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 ทรานซสิ เตอร์.................................................................................. 66
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 เอสซอี าร์และไทรแอก...................................................................... 72
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เทคนคิ การบดั กรี............................................................................. 78
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบ้อื งต้นและแผ่นวงจรพิมพ.์ ....... 84
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 15 การทำโครงงาน............................................................................... 89
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16 การใชง้ านออสซลิ โลสโคปและเครอื่ งกำเนิดสญั ญาณ....................

หลักสตู รรายวิชา

ช่ือวชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบอ้ื งต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั
ปวช.

จุดประสงคร์ ายวิชา

1. มีความเข้าใจ และนำไปใช้งานเกี่ยวกับหลักการทำงาน ระบบความปลอดภัย ในงานไฟฟ้าและ
อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น

2. มีทักษะเกี่ยวกับการใช้เคร่ืองมือวัดทดสอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การเตรียมอุปกรณ์
ประกอบ ทดสอบวงจรไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เลอื กเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์

3. มีเจตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการทำงานด้วยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เป็นระเบียบ สะอาด
ตรงต่อเวลา มีความซอ่ื สตั ย์ รับผดิ ชอบ และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงหลกั การวดั ทดสอบ ประกอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้ และความปลอดภยั
2. ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟ้าเบอื้ งตน้
3. ต่อวงจรและอปุ กรณ์ควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้าเบอื้ งตน้
4. ต่อวงจรและตรวจสอบอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์เบอ้ื งต้น

คำอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักการทำงาน ระบบความปลอดภัย ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กฎของโอห์ม พลงั งานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง การควบคุมมอเตอร์
เบื้องต้น อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าและการต่อสายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์
ไมโครโฟน ลำโพง อุปกรณ์สารก่ึงตัวนำ เทคนิคการบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ เคร่ืองกำเนิดสัญญาณ
ออสซลิ โลสโคป การประกอบวงจรไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์เบ้อื งต้น

หนว่ ยการเรยี นรู้

ชือ่ วิชา งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบอ้ื งต้น รหัสวิชา 20100-1005

ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั

ปวช.

หน่วยท่ี ชอื่ หนว่ ย จำนวน ท่ีมา
คาบ A B C D E F G
1
ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และ 4
2
3 อิเลก็ ทรอนกิ ส์
4
5 แหล่งกำเนิดไฟฟา้ และพลังงานไฟฟา้ 4
6
7 กฎของโอห์มและวงจรไฟฟา้ เบือ้ งต้น 4
8
9 วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง 4
10
11 อุปกรณ์ปอ้ งกนั ไฟฟ้าและการตอ่ สายดิน 4
12
13 การควบคุมมอเตอรเ์ บอ้ื งตน้ 4
14
ตวั ตา้ นทาน 4
15
16 ตัวเกบ็ ประจุ 4

ตวั เหน่ยี วนำตัวเหนยี่ วนำ 4

ไดโอด 4

ทรานซสิ เตอร์ 4

เอสซอี ารแ์ ละไทรแอก 4

เทคนคิ การบดั กรี 4

การประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองต้น 4

และแผน่ วงจรพิมพ์

การทำโครงงาน 4

การใช้งานออสซิลโลสโคปและเคร่ือง 4

กำเนดิ สัญญาณ

รวม 72

หมายเหตุ A = หลักสตู รรายวิชา B = หนงั สอื งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น

C = หนงั สอื ทฤษฎีอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์และ D = หนังสืออปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สแ์ ละ

วงจร 2 ศูนย์สง่ เสริมวชิ าการ วงจร 2 ศูนยส์ ่งเสริมอาชีวะ

E = ทฤษฎีและการใชง้ านอิเล็กทรอนิกส์เลม่ 1 F = งานไฟฟ้าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (เอกสารอดั สำเนา)

ซีเอ็ดยเู คชน่ั

G = หนังสือ Electronic Principle McGraw – Hill

หนว่ ยการเรียนรู้ทีส่ อดคล้องกบั สมรรถนะรายวิชา

ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้นั
ปวช.

ความสอดคล้องกบั สมรรถนะรายวิชา

หน่วย ชื่อหน่วย จำนวน แสดงห ัลกการวัด ทดสอบ ประกอบ
ที่ คาบ วงจรไฟฟ้าและอิเ ็ลกทรอนิก ์สเ ื้บองต้น
และความปลอดภัย
ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟ้า
เ ื้บอง ้ตน
ต่อวงจรและอุปกร ์ณควบ ุคมมอเตอร์
ไฟ ้ฟาเ ื้บองต้น
่ตอวงจรและตรวจสอบอุปกร ์ณ
อิเ ็ลกทรอนิก ์สเ ้ืบองต้น

1 ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และ 4
อเิ ล็กทรอนกิ ส์
4
2 แหลง่ กำเนิดไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า 4
3 กฎของโอห์มและวงจรไฟฟา้ เบ้ืองต้น 4
4 วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง 4
5 อปุ กรณ์ปอ้ งกันไฟฟ้าและการตอ่ สายดิน 4
6 การควบคมุ มอเตอร์เบื้องต้น 4
7 ตวั ตา้ นทาน 4
8 ตัวเก็บประจุ 4
9 ตวั เหน่ียวนำตัวเหนีย่ วนำ 4
10 ไดโอด 4
11 ทรานซิสเตอร์ 4
12 เอสซอี ารแ์ ละไทรแอก 4
13 เทคนิคการบดั กรี 4
14 การประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์
4
เบอ้ื งตน้ และแผ่นวงจรพมิ พ์ 4
15 การทำโครงงาน
16 การใช้งานออสซลิ โลสโคปและเครอื่ ง

กำเนิดสญั ญาณ

โครงการจดั การเรยี นรู้

ช่อื วิชา งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบ้อื งตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้
ปวช.

สปั ดาห์ หนว่ ย ช่ือหนว่ ย/รายการสอน ปฏบิ ัติ จำนวน
ที่ ที่ คาบ

1 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และ ใบงานท่ี 1 การนวดหวั ใจใหผ้ ู้ประสบภยั 4

อิเล็กทรอนกิ ส์ จากไฟดดู

2 2 แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟา้ ใบงานท่ี 2 แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ และ 4

กำลงั ไฟฟา้

3 3 กฎของโอหม์ และวงจรไฟฟา้ เบือ้ งตน้ ใบงานที่ 3 กฎของโอห์มและวงจรไฟฟ้า 4

เบอื้ งตน้

4 4 วงจรไฟฟา้ แสงสว่าง ใบงานท่ี 4 วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง 4

5 5 อุปกรณป์ ้องกันไฟฟ้าและการตอ่ สาย ใบงานที่ 5 อุปกรณ์ปอ้ งกันไฟฟา้ 4

ดนิ และการตอ่ สายดิน

6 6 การควบคมุ มอเตอร์เบื้องตน้ ใบงานท่ี 6.1 การเรม่ิ เดนิ สปติ เฟส 4

มอเตอร์

ใบงานท่ี 6.2 วงจรสตาร์ทมอเตอร์ 3 เฟส

โดยตรง

7 7 ตัวต้านทาน ใบงานท่ี 7.1 แบบของตัวต้านทาน 4

ใบงานที่ 7.2 อา่ นคา่ สีตวั ต้านทาน

ใบงานที่ 7.3 วัดค่าต้านทาน

8 8 ตัวเก็บประจุ ใบงานที่ 8.1 ลักษณะและรปู รา่ งของตวั 4

เกบ็ ประจุ

ใบงานที่ 8.2 อา่ นค่าตัวเกบ็ ประจุ

ใบงานท่ี 8.3 อวัดและทดสอบตัวเก็บ

ประจุ

9 วัดผลและประเมินผลกลางภาคเรยี น 4

10 9 ตวั เหน่ียวนำตัวเหนย่ี วนำ ใบงานท่ี 9.1 ตวั เหน่ยี วนำ 4

ใบงานที่ 9.2 การวัดค่าของตัวเหน่ยี วนำ

11 10 ไดโอด ใบงานที่ 10 ไดโอด 4

12 11 ทรานซสิ เตอร์ ใบงานที่ 11 ทรานซิสเตอร์ 4

13 12 เอสซอี าร์และไทรแอก ใบงานที่ 12 เอสซีอาร์และไทรแอก 4

สัปดาห์ หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ย/รายการสอน ปฏิบตั ิ จำนวน

ท่ี ท่ี คาบ

14 13 เทคนคิ การบดั กรี ใบงานท่ี 13 เทคนคิ การบดั กรี 4

15 14 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ใบงานที่ 14.1 การประกอบวงจรเลก็ ทรอ 4

เบอ้ื งต้นและแผน่ วงจรพมิ พ์ นิกส์เบ้ืองต้น

ใบงานที่ 14.2 การประกอบวงจรเลก็ ทรอ

นิกส์เบือ้ งตน้ บนแผน่ วงจรพมิ พ์

16 15 การทำโครงงาน ใบงานที่ 15 การทำโครงงานขนาดเล็ก 4

17 16 การใชง้ านออสซลิ โลสโคปและเครอ่ื ง ใบงานท่ี 16.1 การใช้งานออสซิลโลสโคป 4

กำเนดิ สญั ญาณ ใบงานที่ 16.2 การใช้งานเคร่อื งกำเนดิ

สัญญาณ

18 วดั ผลและประเมนิ ผลปลายภาคเรียน 4

รวม 72

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั
ปวช.

ชื่อเรอื่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ

หน่วยที่ 1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

อิเล็กทรอนกิ ส์ แสดงความรูเ้ กยี่ วกับแหลง่ กำเนิดไฟฟ้าและ

1.1 ไฟฟ้าดดู พลงั งานไฟฟา้

1.2 การปฏิบัตเิ พ่ือไม่ใหเ้ กดิ ไฟฟา้ ดูด

1.3 การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นผู้ถกู ไฟฟ้า จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance

ดดู Objectives)

ดา้ นความรู้

1. บอกถงึ อนั ตรายของไฟฟา้ ได้

2. อธิบายวิธีการป้องกันอันตรายที่เกิดจาก

ไฟฟ้าได้

3. ปฐมพยาบาลผ้ถู กู กระแสไฟฟา้ ดดู ได้

4. สามารถปฏิบัติงานทางด้านไฟฟ้าและ

อิเลก็ ทรอนิกส์ได้อยา่ งปลอดภัย

ใบงานท่ี 1 การนวดหวั ใจให้ผปู้ ระสบภยั จาก ดา้ นทกั ษะ

ไฟฟา้ ดูด 1. ฝกึ นวดหัวใจให้ผปู้ ระสบภยั จากไฟฟ้าดูดได้

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต
ความมีน้ำใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมีมารยาท
ไมห่ ยดุ นิง่ ทจ่ี ะแก้ปญั หา
ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ชอื่ วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบื้องตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั
ปวช.

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
หน่วยที่ 2 แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

2.1 อะตอม แสดงความรเู้ ก่ียวกบั แหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ และ
2.2 การเคลอ่ื นท่ขี องอิเล็กตรอน พลงั งานไฟฟ้า
2.3 แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้
2.4 ชนดิ ของไฟฟ้า จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance
2.5 พลังงานไฟฟ้า Objectives)

ใบงานที่ 2 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและไฟฟ้า ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายโครงสร้างของอะตอมได้
2. อธบิ ายการไหลของอเิ ลก็ ตรอนได้
3. บอกทมี่ าของแหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ ได้
4. อธบิ ายโครงสร้างของถ่านไฟฉายได้
5. อธิบายหลักการทำงานของเครื่องกำเนิด
ไฟฟ้ากระแสตรงได้
6. อธิบายหลักการทำงานของเครื่องกำเนิด
ไฟฟ้ากระแสสลับหน่ึงเฟสและสามเฟสได้
7. บอกคุณสมบัติการต่อเซลล์ไฟฟ้าอนุกรม
และขนานได้ถกู ตอ้ ง
ดา้ นทักษะ
1. ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้น
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้
ความซอ่ื สัตย์ สุจริต
ความมีนำ้ ใจและแบ่งบัน
ความร่วมมือ

ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ นง่ิ ทจี่ ะแกป้ ญั หา
ใช้อุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บ้อื งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชนั้
ปวช.

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

หน่วยที่ 3 กฎของโอหม์ และวงจรไฟฟ้าเบื้องตน้ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

3.1 กฎของโอห์ม แสดงความรเู้ กย่ี วกับกฎของโอหม์ และ

3.2 วงจรไฟฟา้ เบ้ืองต้น วงจรไฟฟา้ เบื้องตน้

3.3 วงจรอนกุ รม

3.4 วงจรขนาน จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance

3.5 วงจรผสม Objectives)

ด้านความรู้

1. อธิบายกฎของโอหม์ ได้ถกู ตอ้ ง

2. คำนวณหาค่า แรงดัน กระแสและความ

ต้านทานจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง

3. บอกส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าได้ถกู ตอ้ ง

4. บอกลกั ษณะและคณุ สมบตั ิของวงจรอนกุ รม

วงจรขนานและวงจรผสมได้ถกู ต้อง

5. คำนวณหาค่าความต้านทาน กระแส และ

แรงดันจากวงจรอนกุ รม ขนาน ผสมได้ถกู ตอ้ ง

ใบงานที่ 3 กฎของโอหม์ และวงจรไฟฟา้ เบื้องตน้ ด้านทักษะ

1. ประกอบและวดั ทดสอบวงจรไฟฟา้ เบื้องตน้

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้

ความซ่อื สัตย์ สจุ ริต

ความมีน้ำใจและแบ่งบัน

ความรว่ มมือ

ความมีมารยาท

ไม่หยดุ น่ิงทจี่ ะแก้ปญั หา
ใช้อปุ กรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชื่อวิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ สเ์ บ้อื งตน้ รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั
ปวช.

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

หน่วยท่ี 4 วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

4.1 หลอดไส้ แสดงความรู้เกี่ยวกับวงจรไฟฟา้ แสงสวา่ ง

4.2 หลอดฟลูออเรสเซนต์

4.3 หลอดแสงจันทร์ จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance

4.4 หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ Objectives)

4.5 หลอดคอมแพคบัลลาสต์ภายในชนิด ดา้ นความรู้

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1. บอกขอ้ ดขี ้อเสยี ของหลอดแต่ละชนิดได้
4.6 หลอดคอมแพคบลั ลาสตภ์ ายนอก 2. อธบิ ายการตอ่ วงจรหลอดไส้ได้
3. อธิบายการทำงานวงจรหลอดฟลูออเรส

เซนตไ์ ด้

4. คำน วณ ห าค่าก ำลังงาน ท่ี เกิ ด ข้ึน กั บ

หลอดไฟได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

ใบงานที่ 4 วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง ด้านทกั ษะ

1. ตอ่ และตรวจสอบวงจรไฟฟ้าแสงสว่าง

เบ้ืองต้น

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้

ความซอื่ สตั ย์ สจุ รติ

ความมีน้ำใจและแบง่ บัน

ความรว่ มมือ

ความมมี ารยาท

ไม่หยดุ นิง่ ทจี่ ะแกป้ ัญหา

ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชื่อวิชา งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บือ้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น
ปวช.

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยท่ี 5 อปุ กรณป์ ้องกันไฟฟ้าและการต่อสาย สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
ดนิ
แสดงความรู้เกีย่ วกบั อุปกรณ์ปอ้ งกนั ไฟฟา้ และ
5.1 ฟิวส์ การต่อสายดิน
5.2 ปลั๊กฟวิ ส์
5.3 สวติ ช์ตดั วงจรอัตโนมัติ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance
5.4 สวิตช์ทิชโิ น่ Objectives)
5.5 โหลดเซ็นเตอร์
5.6 เซฟต้สี วิตช์ ด้านความรู้
5.7 การต่อสายดิน 1. บอกประโยชนข์ องอุปกรณ์ปอ้ งกันไฟฟ้าได้
2. อธบิ ายโครงสรา้ งของฟวิ ส์แตล่ ะชนิดได้
ใบงานที่ 5 อปุ กรณป์ อ้ งกันไฟฟ้าและการตอ่ 3. อธิบายหลักการทำงานของสวิตช์ตัดวงจร
สายดนิ อัตโนมัตไิ ด้
4. สามารถติดตั้งเคร่ืองตัดกระแสไฟฟ้า
อัตโนมตั ิเข้ากบั ระบบไฟฟ้าได้อยา่ งถูกตอ้ ง
5. บอกวิธีการปรับความไวของเคร่ืองตัด
กระแสไฟฟา้ อตั โนมัติไดอ้ ย่างถกู ต้อง
6. เลอื กขนาดของสายดินและการต่อลงดินได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
ดา้ นทกั ษะ
1. ประกอบและตรวจสอบอุปกรณป์ อ้ งกัน
ไฟฟา้ และการตอ่ สายดนิ เบ้ืองตน้

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ น่งิ ทีจ่ ะแก้ปญั หา
ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ช่ือวชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้อื งต้น รหสั วิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชัน้
ปวช.

ช่อื เร่ือง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

หนว่ ยท่ี 6 การควบคุมมอเตอร์เบือ้ งต้น สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 ความหมายและจุดประสงค์ของการ แสดงความรเู้ ก่ียวกบั การควบคมุ มอเตอร์

ควบคุมมอเตอร์ เบอื้ งตน้

6.2 อุปกรณ์ ท่ี ใช้สำหรับการควบคุม

มอเตอร์ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance

6.3 มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั Objectives)

6.4 วิธกี ารควบคมุ มอเตอร์ ดา้ นความรู้

1. บอกความหมายและจุดประสงค์ของการ

ควบคมุ มอเตอรไ์ ด้

2. บอกอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการควบคมุ มอเตอร์ได้

3. อธิบายหลกั การทำงานของมอเตอรไ์ ฟฟ้า 1

เฟส และ 3 เฟส ได้

4. อธิบายวิธีการควบคุมมอเตอร์ 1 เฟส และ

3 เฟส ได้

ใบงานที่ 6.1 การเร่ิมเดนิ สปิตเฟสมอเตอร์ ด้านทกั ษะ

ใบงานที่ 6.2 วงจรสตาร์ทมอเตอร์ 3 เฟสโดยตรง 1. ต่อวงจรและอุปกรณค์ วบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้

เบอ้ื งต้น

2. ต่อวงจรและอปุ กรณค์ วบคมุ มอเตอร์ 3 เฟส

เบ้อื งตน้

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝร่ ู้

ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ

ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บนั

ความร่วมมือ

ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ นง่ิ ทจี่ ะแกป้ ญั หา
ใช้อุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชอ่ื วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บือ้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชนั้
ปวช.

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

หนว่ ยท่ี 7 ตัวต้านทาน สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

7.1 แบบของตวั ต้านทานไฟฟา้ แสดงความรเู้ กีย่ วกบั ตวั ตา้ นทาน

7.2 ตวั ตา้ นทานแบบเลอื กคา่ ได้

7.3 ตวั ต้านทานแบบเปลีย่ นค่าได้ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance

7.4 ตวั ต้านทานชนิดพเิ ศษ Objectives)

7.5 หนว่ ยของความตา้ นทาน ด้านความรู้

7.6 การอ่านคา่ ความต้านทานโดยตรง 1. บอกลักษณะโครงสร้างของตัวต้านทานแต่

7.7 การอ่านค่าความต้านทานจากรหัส ละแบบไดถ้ กู ตอ้ ง

ตวั เลข 2. เลือกใช้งานตัวต้านท านแต่ละชนิดได้

7.8 การอา่ นคา่ ความตา้ นทานจากรหัสสี เหมาะสมและถูกต้อง

7.9 มลั ตมิ ิเตอร์แบบแอนะลอก 3. อ่านค่าความตา้ นทานจากรหสั สีได้ถกู ตอ้ ง

7.10 มลั ตมิ ิเตอร์แบบดจิ ิตอล 4. วัดและทดสอบค่าความต้านโดยใช้โอห์ม

7.11 การวดั ความตา้ นทาน มิเตอร์ได้

ใบงานที่ 7.1 แบบของตัวตา้ นทาน ดา้ นทักษะ

ใบงานท่ี 7.2 อ่านคา่ สตี ัวต้านทาน 1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั รูปแบบของตัวต้านทาน

ใบงานท่ี 7.3 วัดค่าต้านทาน 2. อ่านคา่ สตี วั ตา้ นทานตามกำหนด

3. วัดและอ่านค่าความตา้ นทานด้วยแอนะลอก

และดจิ ิตอลมเิ ตอร์

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ น่งิ ทีจ่ ะแก้ปญั หา
ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ

ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ รหสั วิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชน้ั
ปวช.

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ

หน่วยท่ี 8 ตัวเก็บประจุ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

8.1 โครงสรา้ งภายในของตัวเก็บประจุ แสดงความรู้เกย่ี วกบั ตัวเก็บประจุ

8.2 ชนิดของตัวเกบ็ ประจุ

8.3 หนว่ ยของตัวเกบ็ ประจุ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ป ฏิ บั ติ ( Performance

8.4 คุณสมบตั ิท่วั ไปเก่ียวกับตัวเก็บประจุ Objectives)

8.5 วธิ ีอ่านค่าตัวเก็บประจุ ด้านความรู้

8.6 การตรวจสอบคุณสมบัติของตัวเก็บ 1. บอกลักษณะโครงสร้างของตวั เกบ็ ประจุได้

ประจุ 2. บอกรปู ร่างและสัญลักษณข์ องตัวเก็บประจุ

8.7 การตรวจสอบคุณสมบัติของตัวเก็บ ชนิดต่าง ๆ ได้

ประจโุ ดยใช้โอมหม์ ิเตอร์ 3. บอกคุณสมบัติและหน้าท่ีของตัวเก็บประจุ

8.8 การวัดค่าความจขุ องตวั เก็บประจโุ ดย แต่ละชนิดได้

ใชด้ จิ ติ อลมลั ติมเิ ตอร์ 4. อ่านค่าความจุจากตัวเลขตัวอักษร รหัส

ตวั เลขและรหัสสีบนตัวเกบ็ ประจุได้

5. แปลงหน่วยคา่ ความจุของตวั เกบ็ ประจไุ ด้

6. บ อ ก ก ารใช้ โอ ห์ ม มิ เต อ ร์ต รว จ ส อ บ

คณุ สมบัตขิ องตวั เก็บประจุได้

7. บอกการวัดคา่ ความจุของตวั เก็บประจุได้

ใบงานที่ 8.1 ลักษณะและรปู รา่ งของตวั เกบ็ ประจุ ดา้ นทกั ษะ

ใบงานที่ 8.2 อ่านคา่ ตัวเก็บประจุ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั ลกั ษณะและรูปรา่ งของ

ใบงานที่ 8.3 วดั และทดสอบตวั เกบ็ ประจุ ตวั เก็บประจุ

2. อ่านค่าตวั เกบ็ ประจจุ ากตวั เลขตัวอกั ษรและ

รหสั สี

3. วดั และทดสอบตัวเกบ็ ประจุดว้ ยมิเตอร์

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ น่งิ ทีจ่ ะแก้ปญั หา
ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ชอ่ื วิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์เบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้ัน
ปวช.

ชือ่ เรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 9 ตัวเหนยี่ วนำ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

9.1 หลกั การเบื้องต้นเกยี่ วกับตัว แสดงความรู้เกย่ี วกับตัวเหน่ยี วนำ
เหนยี่ วนำ
จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance
9.2 หนว่ ยของตวั เหน่ียวนำ Objectives)
9.3 ชนิดของตวั เหนยี่ วนำ
9.4 ตวั เหนี่ยวนำทใ่ี ช้ในงานไฟฟ้า ด้านความรู้
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1. อธบิ ายการเกดิ สนามแม่เหลก็ จากตัว
9.5 หลักการทำงานของหมอ้ แปลง เหนีย่ วนำได้
9.6 ประเภทหม้อแปลงไฟฟา้ 2. บอกลักษณะโครงสร้างของหม้อแปลง
9.7 รเี ลย์ ไฟฟา้ ได้
9.8 ลำโพง 3. บอกชนดิ ของหม้อแปลงไฟฟ้า
9.9 ไมโครโฟน 4. อธิบายรปู รา่ งสญั ลักษณ์ของตัวเหน่ียวนำ
9.10 การวดั ตัวเหนีย่ วนำโดยใช้โอห์ม ชนิดตา่ ง ๆ
มเิ ตอร์ 5. บอกคุณสมบตั ิและหนา้ ท่ขี องตวั เหนย่ี วนำ
9.11 การวดั ตัวเหนยี่ วนำโดยใชอ้ าร์แอลซี แต่ละชนิดได้
ดิจิตอลมเิ ตอร์ 6. อธบิ ายการวัดค่าความตา้ นทานของขดลวด
เหน่ียวนำโดยใช้โอหม์ มิเตอร์ได้
7. อธิบายการวัดคา่ ความเหนย่ี วนำโดยใช้แอล
ซมี ิเตอรไ์ ด้
8. วิเคราะหอ์ าการเสียของตัวเหนยี่ วนำโดยใช้
มิเตอร์ได้

ใบงานท่ี 9.1 ตวั เหนี่ยวนำ ดา้ นทักษะ
ใบงานท่ี 9.2 การวดั คา่ ของตัวเหนี่ยวนำ 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับชนดิ รูปร่างและ
สญั ลกั ษณ์ของตวั เหนย่ี วนำ

2. วดั และทดสอบตวั เหน่ียวนำดว้ ยมเิ ตอร์
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้
ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ
ความมีนำ้ ใจและแบง่ บัน
ความร่วมมือ
ความมีมารยาท
ไม่หยุดน่ิงทจี่ ะแก้ปญั หา
ใชอ้ ปุ กรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบื้องตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชัน้
ปวช.

ช่ือเร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

หน่วยที่ 10 ไดโอด สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

10.1 โครงสร้างและคุณสมบัติของไดโอด แสดงความรู้เก่ยี วกบั ไดโอด

10.2 การวัดตรวจสอบไดโอด

10.3 ชนิดของไดโอดกำลงั และคณุ สมบตั ิที่ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance

สำคัญของไดโอด Objectives)

10.4 ไดโอดปลอ่ ยแสง ดา้ นความรู้

1. อธิบายโครงสร้างของไดโอดได้

2. บอกวิธีการจ่ายไฟไบแอสให้ไดโอดได้

ถูกต้อง

3. บอกการวัดคา่ ความต้านทานของไดโอดแต่

ละชนิดได้

4. บอกการตรวจสอบหาชนิดของสารท่ี

นำมาใชท้ ำไดโอดได้

5. บอกการตรวจสอบสภาพดีหรือเสียของ

ไดโอดได้

ใบงานที่ 10 ไดโอด ดา้ นทกั ษะ

1. วดั และตรวจสอบไดโอดดว้ ยมลั ติมิเตอร์

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝร่ ู้

ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ

ความมีนำ้ ใจและแบ่งบนั

ความร่วมมอื

ความมีมารยาท

ไม่หยุดน่ิงท่ีจะแกป้ ัญหา
ใช้อุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ

ชื่อวชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้ รหสั วชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั
ปวช.

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

หนว่ ยที่ 11 ทรานซสิ เตอร์ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

11.1 โครงสรา้ งของทรานซิสเตอร์ แสดงความรูเ้ กี่ยวกับทรานซิสเตอร์

11.2 ความหมายของอักษรและตัวเลขบน

ตวั ถังทรานซิสเตอร์ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance

11.3 การจัดแรงไฟให้ทรานซิสเตอร์ Objectives)

ทำงาน ด้านความรู้

11.4 การตรวจสอบขาทรานซสิ เตอร์ 1. เขียนโครงสร้างของทรานซิสเตอร์ได้
11.5 การหาค่าอัตราขยายของ ถูกตอ้ ง
ทรานซสิ เตอร์
2. บอกความหมายของตัวอักษรและตัวเลข
บนทรานซิสเตอรไ์ ด้ถกู ต้อง

3. อธบิ ายการจดั แรงไฟไบอัสให้ทรานซสิ เตอร์
ไดถ้ ูกต้อง

4. สามาถวัดค่าความต้านทานระหวา่ งขา ตา่ ง
ๆ ของทรานซิสเตอรไ์ ด้ถกู ต้อง

5. สามารถตรวจสอบหาขาและชนิดของ
ทรานซิสเตอรไ์ ด้

6. สามารถตรวจสอบอัตราการขยายกระแส

ของทรานซิสเตอร์ได้
7. บอกได้ว่าทรานซิสเตอรท์ ่ีตรวจสอบดีหรือ

ชำรุด

ใบงานที่ 11 ทรานซสิ เตอร์ ด้านทกั ษะ

1. วดั และทดสอบทรานซิสเตอร์ดว้ ยมัลติ

มิเตอร์

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซอ่ื สัตย์ สุจริต
ความมีนำ้ ใจและแบ่งบนั
ความรว่ มมอื
ความมีมารยาท
ไมห่ ยดุ น่ิงที่จะแก้ปัญหา
ใชอ้ ุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ชอ่ื วชิ า งานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบอื้ งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น
ปวช.

ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

หนว่ ยท่ี 12 เอสซีอารแ์ ละไทรแอก สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

12.1 โครงสรา้ งและการทำงานของ เอส แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั เอสซีอาร์และไทรแอก
ซอี าร์

12.2 โครงสร้างและการทำงานของ ไทร จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance
แอก Objectives)
ดา้ นความรู้
12.3 การตรวจสอบคณุ สมบัติของ
เอสซอี าร์และไทรแอกโดยใชโ้ อหม์ มเิ ตอร์ 1. อธิบายการวัดค่าความตา้ นทานระหว่างขา
ต่าง ๆ ของเอสซีอารแ์ ละไทรแอกได้

2. บอกวิธีการตรวจสอบหาขาของเอสซีอาร์

และไทรแอกได้

3. บอกวธิ ีการจุดชนวนและกระแสยึดของเอส

ซอี ารแ์ ละไทรแอกได้

ใบงานที่ 12 เอสซีอาร์และไทรแอก 4. สามารถตรวจสอบเอสซีอาร์และไทรแอกที่
ดีหรอื ชำรุดได้

ด้านทักษะ
1. วัดและทดสอบเอสซีอารแ์ ละไทรแอก
ดว้ ยมลั ติมเิ ตอร์

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝ่รู้

ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต
ความมนี ำ้ ใจและแบ่งบัน
ความร่วมมือ
ความมีมารยาท
ไมห่ ยุดนิ่งทจ่ี ะแก้ปญั หา
ใชอ้ ปุ กรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บ้อื งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น
ปวช.

ชอ่ื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หนว่ ยที่ 13 เทคนคิ การบดั กรี สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

13.1 แผน่ วงจรพิมพ์ แสดงความรเู้ กย่ี วกบั เทคนิคการบัดกรี
13.2 ตะกวั่ บัดกรี
13.3 หัวแร้ง จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance
13.4 การปอกสายไฟ Objectives)
13.5 การบดั กรอี ปุ กรณบ์ น
แผ่นวงจรพมิ พ์ ด้านความรู้
13.6 การตัดขาอุปกรณ์ 1. อธิบายความหมายของการบัดกรีได้
13.7 การถอนจุดบัดกรี 2. บอกคุณสมบตั ขิ องตะกว่ั บัดกรีได้
3. บอกข้นั ตอนการบัดกรไี ดถ้ กู ตอ้ ง
ใบงานที่ 13 เทคนิคการบัดกรี 4. อธบิ ายข้นั ตอนการปลอกสายไฟได้ถูกตอ้ ง
5. บอกการบัดกรีสายไฟชนิดต่าง ๆ เข้ากับ
อุปกรณแ์ ละแผ่นวงจรพมิ พ์ได้
6. บ อ ก ก า ร จั ด ว า ง อุ ป ก ร ณ์ ล ง บ น
แผ่นวงจรพิมพ์ บัดกรีและตัดขาอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
อยา่ งถูกวธิ ี
7. อธิบายวิธีการการถอดอุปกรณ์ออกจาก
แผน่ วงจรพมิ พไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง
ด้านทักษะ
1. บัดกรีอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สบ์ น
แผ่นวงจรพมิ พ์

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไม่หยดุ น่งิ ทีจ่ ะแก้ปญั หา
ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ช่อื วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ รหัสวิชา 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชั้น
ปวช.

ชือ่ เร่ือง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

หนว่ ยที่ 14 การประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

เบ้ืองตน้ และแผ่นวงจรพิมพ์ 1. แสดงความรู้เก่ียวกับการประกอบวงจร

14.1 วงจรเรยี งกระแส อเิ ลก็ ทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ และแผ่นวงจรพมิ พ์

14.2 วงจรเรียงกระแสแบบครงึ่ คลน่ื 2. ป ระ ก อ บ วงจ รอิ เล็ ก ท รอ นิ ก ส์ ล งบ น

14.3 วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลนื่ แผน่ วงจรพมิ พ์

14.4 วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จ์

14.5 หลักการเบ้ืองต้นในการคัดลอก จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ (Performance

แผน่ วงจรพมิ พ์ Objectives)

14.6 การร่างแบบสำหรับการเตรียมการ ดา้ นความรู้

เพื่อตอ่ วงจร 1. บอกชนดิ วงจรเรียงกระแส

14.7 การคัดลอกวงจรจากลายวงจรพิมพ์ 2. อธบิ ายการทำงานของวงจรเรยี งกระแสได้

สำเร็จรปู 3. บอกสูตรการคำนวณหาแรงดันไฟฟ้า

กระแสตรงได้

4. ประกอบวงจรโดยการบดั กรไี ดถ้ กู ตอ้ ง

5. ทดสอบการทำงานของวงจรได้ถกู ต้อง

6. สามารถทดลองวงจรจ่ายไฟกระแสตรง

แบบตา่ ง ๆ โดยใชว้ ิธกี ารบดั กรไี ด้

ใบงานที่ 14.1 การประกอบวงจรเลก็ ทรอนกิ ส์ 7. สามารถคัดลอกวงจรจากลายวงจรพิมพ์
เบื้องต้น สำเร็จรูปได้
ใบงานท่ี 14.2 การประกอบวงจรเล็กทรอนกิ ส์
เบื้องตน้ บนแผน่ วงจรพิมพ์ 8. ประกอบวงจรบนแผน่ วงจรพมิ พไ์ ด้
ดา้ นทักษะ
1. ประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์เบือ้ งต้น
2. ประกอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ บน
แผน่ วงจรพมิ พ์
ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สัตย์ สุจริต
ความมีน้ำใจและแบ่งบัน
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยุดน่งิ ทจ่ี ะแกป้ ัญหา
ใช้อปุ กรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ชอื่ วชิ า งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ช้นั
ปวช.

ช่ือเรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 15 การทำโครงงาน สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency)

15.1 ความสำคัญในการสร้างโครงงาน 1. สรา้ งโครงงานขนาดเลก็ จากชุดคิต
15.2 ข้นั ตอนการทำโครงงาน 2. แสดงความรู้เก่ียวกับการทำโครงงานขนาด
เลก็ (Mini Projects)

จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance
Objectives)

ดา้ นความรู้
1. ส ร้ า ง โค ร ง ง า น ท่ี เป็ น พื้ น ฐ า น ท า ง
อิเลก็ ทรอนิกส์ และประกอบชดุ คิตทไ่ี มซ่ บั ซอ้ นมากได้
2. นำโครงงานทีจ่ ัดสร้างข้ึนมาใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวันได้
3. วัดและตรวจสอบการทำงานของวงจรท่ี

ใบงานท่ี 15 การทำโครงงาน ศ

จัดสรา้ งโครงงานได้
4. แก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นจากวงจรที่

จัดสรา้ งโครงงานได้
ดา้ นทักษะ
1. วดั ทดสอบและประกอบวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์

เบอ้ื งตน้ ตามโครงงาน
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซื่อสตั ย์ สุจริต
ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั
ความรว่ มมือ
ความมีมารยาท
ไม่หยดุ นงิ่ ทจี่ ะแกป้ ญั หา
ใช้อุปกรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ชื่อวชิ า งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สเ์ บือ้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชั้น
ปวช.

ช่ือเรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

หน่วยท่ี 16 การใช้งานออสซิลโลสโคปและ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

เครอื่ งกำเนดิ สัญญาณ 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการใช้ออสซิลโลสโคป

16.1 ออสซลิ โลสโคป และเครื่องกำเนดิ สัญญาณ

16.2 การอ่านค่าทหี่ นา้ จอออสซิลโลสโคป 2. ใช้งาน ออสซิลโลสโคปและเครื่องกำเนิด

16.3 การอ่านคาบเวลาและความถ่ี สญั ญาณตามการทดลอง

16.4 การอ่านค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับ

16.5 ช่ือและหน้าที่การทำงานของปุ่ม จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance

ปรับ Objectives)

16.6 สายโพรบวัดสญั ญาณ ด้านความรู้

16.7 ชนดิ ของเครอื่ งกำเนิดสัญญาณ 1. บ อ ก ต ำ แ ห น่ ง ปุ่ ม ป รั บ ต่ า ง ๆ ข อ ง

16.8 คุณสมบัติทางเทคนิคและปุ่มปรับ ออสซลิ โลสโคปได้

ต่าง ๆ ของเครือ่ งกำเนิดสญั ญาณ 2. บอกหน้าท่ี และการทำงานของปุ่มปรบั ต่าง

ๆ ของออสซลิ โลสโคปไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

3. สามารถใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณได้

ถกู ต้อง

4. อธิบายการทำงานของปุ่มปรบั เคร่อื งกำเนิด

สญั ญาณความถไ่ี ด้

5. สามารถใชเ้ คร่ืองกำเนิดสัญญาณไดถ้ ูกตอ้ ง

ใบงานท่ี 16.1 การใชง้ านออสซิลโลสโคป ด้านทักษะ

ใบงานท่ี 16.2 การใชง้ านเครื่องกำเนดิ สัญญาณ 1. ใชง้ านออสซลิ โลสโคปตามการทดลอง

2. ใช้เคร่ืองกำเนดิ สัญญาณความถ่ีตามการ

ทดลอง

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา

ความสนใจใฝ่รู้

ความซื่อสัตย์ สุจริต

ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั

ความร่วมมือ

ความมมี ารยาท

ไม่หยดุ น่งิ ท่จี ะแกป้ ญั หา

ใช้อปุ กรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

ตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวิชา

ช่อื วิชา งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บอื้ งต้น รหัสวชิ า 20100-1005
ท–ป–น 1–3–2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั
ปวช.

พทุ ธพิ สิ ัย

พฤตกิ รรม ความ ู้รความจำ
ความเข้าใจ
ประยุก ์ต-นำไปใ ้ช
วิเคราะห์
ูสงกว่า
ทักษะพิ ัสย
จิต ิพ ัสย
รวม
ลำ ัดบความสำคัญ
ช่ือหน่วย
บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า 1 2 3 5 5 16 2
และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4 4 13 5
บทที่ 2 แหลง่ กำเนิดไฟฟ้าและพลงั งาน 1 1 3 3 5 14 4
ไฟฟ้า
บทท่ี 3 กฎของโอห์มและวงจรไฟฟา้ 2 2 2

เบอื้ งต้น 132 ฬ
บทที่ 4 วงจรไฟฟา้ แสงสว่าง
5 5 16 2
บทที่ 5 อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าและ การ 2 3 3 5 3 16 2

ต่อสายดนิ 5 3 15 3
5 3 15 3
บทที่ 6 การควบคุมมอเตอรเ์ บอื้ งตน้ 2 2 3 5 3 15 3
5 3 15 3
บทท่ี 7 ตวั ต้านทาน 223 5 3 15 3
5 3 15 3
บทที่ 8 ตวั เกบ็ ประจุ 223 5 3 15 3
5 3 13 5
บทท่ี 9 ตัวเหน่ียวนำตวั เหนี่ยวนำ 223 5 3 14 4

บทที่ 10 ไดโอด 223 5 4 15 3
5 5 17 1
บทท่ี 11 ทรานซสิ เตอร์ 223
77 58
บทท่ี 12 เอสซีอาร์และไทรแอก 223

บทท่ี 13 เทคนิคการบดั กรี 212

บทที่ 14 การประกอบวงจร 222

อเิ ล็กทรอนิกสเ์ บื้องตน้ และ

แผ่นวงจรพมิ พ์

บทท่ี 15 การทำโครงงาน 123

บทท่ี 16 การใช้งานออสซิลโลสโคป 2 2 3

และเคร่ืองกำเนดิ สญั ญาณ

รวม 28 32 44

ลำดบั ความสำคัญ 321

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 1

ชอื่ วิชา งานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ หน่วยท่ี 1
รหสั วชิ า 20100-1005
เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
ชื่อหนว่ ย ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 1/18
ชอ่ื เร่อื ง ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ จำนวน 4 คาบ

หัวข้อเรือ่ ง ใบงานท่ี 1 การนวดหวั ใจให้ผู้ประสบภยั จาก
1.1 ไฟฟ้าดูด ไฟฟ้าดดู
1.2 การปฏิบัตเิ พ่ือไม่ใหเ้ กิดไฟฟ้าดดู
1.3 การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นผถู้ ูกไฟฟา้ ดดู

แนวคดิ สำคญั
ไฟฟ้าเป็นพลังงานชนิดหน่ึง มีทั้งโทษและประโยชน์ในเวลาเดียวกัน หากใช้ถูกวิธีจะเกิดประโยชน์

มหาศาล หากใชผ้ ิดวิธีจะมีโทษมหาศาลเช่นเดียวกัน การเกดิ ไฟฟ้าดูดเกิดจากกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านรา่ งกาย ซึ่ง
อันตรายมากนอ้ ยทีเ่ กดิ ตอ่ ร่างกายจะแตกตา่ งกัน ตามปริมาณกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านและระยะเวลาที่กระแสไหล
ผ่าน

การปฏิบตั งิ านทางด้านไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสท์ ี่ปลอดภัย ผู้ใชไ้ ฟฟ้าจะตอ้ งทราบและเข้าใจคณุ สมบัติ
ทางไฟฟ้า ต้องระมัดระวัง ไม่ประมาท ทำงานอย่างเป็นระบบและรอบคอบ คำนึงถึงกฎแห่งความปลอดภัย
ขณะทำงาน

การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุจากไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง ต้องกระทำอย่างถูกวิธี
รวดเร็ว รอบคอบ ระมัดระวัง และมีสติ ทำให้ผู้ประสบอุบัติเหตุมีอันตรายน้อยและมีโอกาสรอดพ้นจาก
อันตรายสูงสดุ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรเู้ กย่ี วกบั แหล่งกำเนิดไฟฟา้ และพลังงานไฟฟ้า

จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ ด้านทักษะ
ด้านความรู้ 1. ฝึกนวดหัวใจให้ผู้ประสบภัยจากไฟฟา้ ดดู ได้

1. บอกถึงอันตรายของไฟฟ้าได้
2. อธบิ ายวิธกี ารป้องกนั อนั ตรายท่เี กดิ จาก

ไฟฟ้าได้
3. ปฐมพยาบาลผถู้ กู กระแสไฟฟา้ ดูดได้

2

4. สามารถปฏบิ ัติงานทางด้านไฟฟา้ และ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ได้อยา่ งปลอดภยั

ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ
ร่วมมอื ความมมี ารยาท ไม่หยดุ น่งิ ท่จี ะแกป้ ัญหา ใชอ้ ุปกรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

เนือ้ หาสาระ
1.1 ไฟฟ้าดดู
ไฟฟ้าดูด เป็นอาการท่ีเกิดจากกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายโดยรา่ งกายของมนุษย์จะเป็นตัวนำ

ไฟฟ้า อาการที่ถูกไฟฟ้าดูดจะขึ้นอยู่กับปริมาณของกระแสที่ไหลผ่านร่างกายและระยะเวลาที่ถูกดูด
ดังน้นั จงึ ควรระมดั ระวงั ไม่ใหร้ ่างกายไปสัมผัสตัวนำไฟฟ้าท่ีมกี ระแสไฟฟ้า โดยทสี่ ่วนหนึ่งของรา่ งกายสัมผสั กับ
พื้ น ดิน หรือสัมผัสกั บ ตัวน ำไฟ ฟ้ าท่ี ติ ดตั้งอยู่บ น พ้ื น ดิน ซึ่งจะท ำให้ มี กระแ สไหลผ่าน ร่างกาย
ลงดินไดง้ า่ ย

1.2 การปฏบิ ตั ิเพ่อื ไมใ่ ห้เกิดไฟฟ้าดูด
ในชีวิตประจำวนั นับตั้งแต่ในบา้ นพกั อาศัยในสถานที่ทำงาน ตลอดจนถนน จะประกอบด้วยไฟฟ้า

อปุ กรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ จึงควรดูแลและระมดั ระวงั ตัวเองเพอื่ ความปลอดภยั และปอ้ งกันอันตรายท่ีเกดิ จากไฟฟ้า
ดังนี้

1. ระมดั ระวังไมใ่ ห้มอื หรือส่วนใดของรา่ งกายไปสมั ผัสกบั อุปกรณไ์ ฟฟ้าทีช่ ำรุดตามถนน
2. ควรสงั เกตหมั่นตรวจสอบและไม่ควรต้งั เสาอากาศโทรทัศน์ บริเวณท่มี ีสายไฟฟา้ แรงสงู
3. ถา้ รา่ งกายเปียกไมค่ วรแตะต้องอปุ กรณไ์ ฟฟา้ เพราะอาจจะถกู กระแสไฟฟ้าดดู และอาจเสียชวี ิตได้
4. อยา่ วางสายไฟฟา้ สอดไวใ้ ต้พ้ืนพรมหรือวางของหนักกดทบั
5. ควรต่อสายดินจากโครงโลหะผ่านหลักดินลงดินโดยเฉพาะตู้เย็นหรือตู้แช่ท่ีต้ังไว้กับ

พน้ื ซเี มนตห์ รือพน้ื ท่ชี ื้นแฉะ
6. อย่าใช้ไฟฟ้าชอ็ ตปลา เพราะอาจจะทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
7. ถ้าพบอุปกรณ์ไฟฟา้ ชำรดุ ตอ้ งรบี แก้ไขซ่อมแซมทันที
8. สายไฟแตกฉนวนหลุดตอ้ งใชเ้ ทปฉนวนไฟฟา้ พันหุม้ ลวดตัวนำใหม้ ิดชิดและแนน่ หนา
9. เต้ารับชนิดท่ีต่อแยกไดห้ ลายทางไม่ควรใชใ้ นเวลาเดียวกันเพราะจะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลใน

เต้ารับสูงมากเกินไปซ่ึงจะทำให้โหลดเกินเป็นเหตุให้เกิดความร้อน ทำให้ฉนวนเสียหาย
กระแสไฟฟ้าลดั วงจรเกดิ ไฟลุกไหมไ้ ด้
1.3 การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ผู้ถูกไฟฟ้าดูด

3

การช่วยเหลือผู้ถกู ไฟฟ้าดูดท่ีหยุดหายใจสามารถทำได้หลายวธิ ีแต่วิธีการผายปอดพร้อมกับนวด
หวั ใจจะเป็นวธิ ีทม่ี ีประสทิ ธิภาพและได้ผลดีที่สุดในการที่จะช่วยเหลือผู้ทีห่ ยุดหายใจใหก้ ลับมาหายใจได้อีกคร้ัง
หนึง่

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 1/18, คาบที่ 1-4/56)
1. ครชู ้ีแจงรายละเอยี ดเก่ียวกับคำอธิบายรายวชิ า จุดประสงคร์ ายวชิ า การวดั ผลและประเมินผลการ

เรยี น คณุ ลักษณะนสิ ยั ทีต่ ้องการให้เกิดข้ึน และข้อตกลงในการเรียน
2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยที่ 1 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
3. ครใู หน้ ักเรียนดูเนอื้ หาหนว่ ยที่ 1
4. ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน
4.1 ครอู ธบิ ายความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์
4.2 ครตู ้ังคำถามใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบ แล้วรว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนกิ ส์
4.3 ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียน
5. ขัน้ สอน
5.1 นักเรยี นศกึ ษาจากเนอ้ื หาในหน่วยท่ี 1 เรอื่ งความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์
5.2 ครูเชิญวทิ ยากรผู้มีความรมู้ าบรรยายและสาธติ วธิ กี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ผูถ้ ูกไฟฟา้ ดดู
5.3 ครูใหค้ วามรู้เพ่มิ เตมิ และอธบิ ายเก่ียวกบั การปฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี 1
5.4 นักเรียนปฏบิ ัติตามใบงานที่ 1 การนวดหวั ใจให้ผ้ปู ระสบภัยจากไฟฟ้าดูด
5.5 ขณะนักเรยี นปฏบิ ตั ิตามใบงานครูจะสังเกตการทำงานของนกั เรยี น
5.6 นกั เรยี นทำแบบฝึกหัด
6. ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและรว่ มกันอภิปรายสรปุ บทเรยี น
7. ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้
1. ส่ือการเรียนรู้
1.1 หนงั สือเรยี น หน่วยที่ 1 เรือ่ งความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์
1.2 แบบฝกึ หดั
1.3 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

2. แหลง่ การเรียนรู้
2.1 หนังสอื เกย่ี วกับงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น ของสำนกั พมิ พต์ ่าง ๆ

4

2.2 อนิ เทอร์เน็ต

การวัดผลและประเมินผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี ินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ

70 ผ่านเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
1.3 สงั เกตการปฏบิ ัติตามใบงานโดยใชแ้ บบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน
1.4 ตรวจแบบฝึกหัด

2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ

70 ผ่านเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิตามใบงานตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.4 แบบฝึกหัดต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี นไมม่ ี

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรยี น
1. ผลการปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 1
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 1
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 1

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สือเรยี นวิชางานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบอ้ื งตน้ รหัสวิชา 20100-1005
บรษิ ัทศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย จำกดั
2. เว็บไซต์และส่ือสิ่งพิมพท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกับเนือ้ หาบทเรยี นตามบรรณานกุ รม

บันทึกหลงั การสอน

1. ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้

5

..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ
......................................................................................................................................................... .....................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแกป้ ัญหา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................... ลงช่ือ...............................................
(...............................................) (.............................................)
ตวั แทนนกั เรียน ครผู ู้สอน

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 6

ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้ หน่วยท่ี 2
รหัสวชิ า 20100-1005
เวลาเรียนรวม 72 คาบ
ชอื่ หน่วย แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า สอนคร้งั ท่ี 2/18
ช่ือเรื่อง แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า จำนวน 4 คาบ

หัวขอ้ เรอื่ ง ใบงานที่ 2 แหลง่ กำเนิดไฟฟ้าและไฟฟา้
2.1 อะตอม
2.2 การเคล่ือนทขี่ องอเิ ลก็ ตรอน
2.3 แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า
2.4 ชนิดของไฟฟ้า
2.5 พลังงานไฟฟา้

แนวคิดสำคญั
อะตอมจะประกอบไปด้วยอนุภาคไฟฟ้าเล็ก ๆ 3 ชนิด คืออิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอน

โดยท่ีอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ โปรตอนมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก และในนิวตรอนมีประจุไฟฟ้า
เป็นกลางในสภาวะปกติอะตอมจะมีสภาพเสถียร ถ้าอิเล็กตรอนท่ีอยู่วงนอกสุดได้รับพลังงานก็จะทำให้
อเิ ล็กตรอน เคลอ่ื นทไ่ี ปอยใู่ นอะตอมที่อยถู่ ดั ไปทำใหเ้ กิดการไหลของอเิ ล็กตรอนพลงั งานท่ีจะทำให้อิเล็กตรอน
ในวัตถุตัวนำไหลได้ คือแหล่งกำเนิดไฟฟ้าเช่นถ่านไฟฉาย การกำเนิดไฟฟ้าสามารถกำเนิดได้จากหลายแหล่ง
เช่น การเสียดสี การกด จากแสงอาทติ ย์ ความรอ้ น ปฏกิ ิริยาเคมี และสนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า แหลง่ กำเนิดไฟฟ้า
จ า ก แ ส ง เช่ น โซ ล่ า เซ ล ล์ ป ฏิ กิ ริ ย า เค มี เช่ น ถ่ า น ไฟ ฉ า ย จ า ก ส น า ม แ ม่ เห ล็ ก ไฟ ฟ้ า เช่ น
จากเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้าจะแบ่งเป็นไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส แต่ท่ีนิยมใช้งานคือไฟฟ้ากระแส
ซ่งึ จะมไี ฟฟ้ากระแสสลบั และไฟฟา้ กระแสตรง

สมรรถนะยอ่ ย
แสดงความรูเ้ กี่ยวกับแหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ

ดา้ นความรู้ 7
1. อธบิ ายโครงสร้างของอะตอมได้
2. อธบิ ายการไหลของอิเล็กตรอนได้ ดา้ นทักษะ
3. บอกทม่ี าของแหล่งกำเนิดไฟฟา้ ได้ 1. ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟา้ เบอ้ื งตน้
4. อธบิ ายโครงสร้างของถา่ นไฟฉายได้
5. อธิบายหลกั การทำงานของเครอื่ งกำเนิดไฟฟา้

กระแสตรงได้
6. อธิบายหลักการทำงานของเครอื่ งกำเนิดไฟฟ้า

กระแสสลับหน่งึ เฟสและสามเฟสได้
7. บอกคณุ สมบตั ิการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ อนกุ รมและ

ขนานได้ถกู ตอ้ ง

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั ความ
รว่ มมือ ความมมี ารยาท ไม่หยุดน่ิงทีจ่ ะแกป้ ญั หา ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

เนื้อหาสาระ
2.1 อะตอม
สสารท่ีมีในโลกนี้ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ซ่ึงเรียกวา่ อะตอม (Atoms) หรือ ปรมาณู ภายใน

อะตอมจะประกอบไปด้วยอนภุ าคไฟฟ้าเลก็ ๆ 3 ชนิด คอื อเิ ล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอน โดยท่ีอิเลก็ ตรอน
จะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ โปรตอนมปี ระจุไฟฟ้าเปน็ บวก และในนิวตรอนมีประจุไฟฟ้าเปน็ กลาง การอยู่ร่วมกัน
ของอนภุ าคท้ังสามในอะตอมเป็นลกั ษณะทโ่ี ปรตอนและนิวตรอนร่วมกันอยตู่ รงกลาง เรยี กวา่ นิวเคลียส และมี
อเิ ล็กตรอนโคจรอยรู่ อบ ๆ

2.2 การเคลอื่ นทขี่ องอเิ ล็กตรอน
ภายในอะตอมจะมีอิเล็กตรอนโคจรอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็นวง ๆ อิเล็กตรอนท่ีอยู่วงนอกสุด

เรียกว่า อิเล็กตรอนอิสระ ถ้าอิเล็กตรอนท่ีอยู่วงนอกน้ีได้รับพลังงานก็จะทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปอยู่ใน
อะตอมทอี่ ยู่ถดั ไปทำให้เกดิ การไหลของอเิ ล็กตรอน พลงั งานที่จะทำให้อิเลก็ ตรอนในวัตถตุ ัวนำไหลได้ คอื เครือ่ ง
กำเนิดไฟฟ้าเช่นถ่านไฟฉาย โดยจะทำหน้าท่ีท้ังการรับและจ่ายอิเล็กตรอน ซ่ึงเรียกว่า ข้ัวไฟฟ้า
โดยกำหนดไว้ว่าขั้วท่ีรบั อเิ ล็กตรอนเรียกว่า ขั้วบวก ขวั้ ที่จ่ายอเิ ล็กตรอนเรียกว่า ข้ัวลบ กระแสอิเล็กตรอนจะ
ไหลจากขัว้ ลบไปหาขั้วบวก

2.3 แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
แหลง่ กำเนิดไฟฟ้ามีหลายชนิดสามารถจำแนกไดด้ งั น้ี

8

1. แหลง่ กำเนิดไฟฟ้าที่เกิดข้ึนจากการเสียดสขี องวัตถุ
2. แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้าทเ่ี กดิ ขึน้ จากพลงั งานทางเคมี
3. แหล่งกำเนิดไฟฟ้าท่เี กิดขึ้นจากพลังงานแม่เหลก็ ไฟฟา้
4. แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากพลังงานแสง
5. แหล่งกำเนิดไฟฟา้ ที่เกิดข้ึนจากพลังงานความร้อน
6. แหลง่ กำเนิดไฟฟ้าที่เกดิ ขน้ึ จากแรงกด
2.4 ชนิดของไฟฟ้า
ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ดังน้ี
1. ไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้นจากการเสียดสี โดยการนำสารต่างชนิดมาถูกันอิเล็กตรอนที่อยู่ในวงจร
โคจรของสารทั้งสองอาจชนกันได้ทำให้สารช้ินหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไปให้กับสารหน่ึง แต่เนื่องจากว่าสาร
เหล่านไ้ี ม่ไดต้ ่อกับสารภายนอก อิเลก็ ตรอนไม่มโี อกาสถ่ายเทได้จงึ คงอยู่ท่ีสารนั้น จงึ เรียกไฟฟ้าแบบน้ีวา่ ไฟฟ้า
สถติ
2. ไฟฟ้ากระแสคอื แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้าท่ีมนุษย์คดิ ค้นขนึ้ มา เกดิ จากการเคลื่อนที่ของอเิ ล็กตรอน
ไปตามสายตวั นำหรอื สายไฟฟ้าด้วยความเรว็ เท่าแสงคือ 186,000 ไมล์ ตอ่ วินาที หรือ 300 ล้านเมตรต่อวินาที
ไฟฟา้ กระแส เป็นไฟฟา้ ที่ใช้อย่ใู นบ้านพักอาศัย และในโรงงานอตุ สาหกรรมท่วั ไป
2.5 พลังงานไฟฟา้
พลังงานไฟฟา้ (Energy) หมายถึง ความสามารถของแรงดนั ไฟฟา้ ที่ทำให้ประจไุ ฟฟ้าเคลื่อนท่ี

กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 2/18, คาบท่ี 5-8/56)
1. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
2. ครใู หน้ ักเรยี นดูเนือ้ หาหน่วยที่ 2
3. ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน
3.1 ครอู ธิบายแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและพลังงานไฟฟา้
3.2 ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและ
พลงั งานไฟฟ้า
3.3 ครแู จ้งจุดประสงค์การเรียน
4. ขนั้ สอน
4.1 นักเรียนศึกษาจากเนอ้ื หาในหนว่ ยที่ 2 เรือ่ งแหล่งกำเนิดไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟา้
4.2 ครูนำตัวอย่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกัน
อภิปราย
4.3 ครใู ห้ความร้เู พมิ่ เติมและอธบิ ายเก่ียวกบั การปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ 2
4.4 นกั เรียนปฏิบัติตามใบงานท่ี 2 แหล่งกำเนดิ ไฟฟา้ และไฟฟา้
4.5 ขณะนักเรียนปฏบิ ัตติ ามใบงานครูจะสงั เกตการทำงานของนักเรยี น

9

4.6 นักเรยี นทำแบบฝกึ หัด
5. ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมและรว่ มกันอภปิ รายสรปุ บทเรียน
6. ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1. ส่ือการเรียนรู้
1.1 หนังสอื เรยี น หน่วยท่ี 2 เรอื่ งแหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟา้
1.2 ตัวอยา่ งแหลง่ กำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง
1.3 แบบฝึกหัด
1.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
2. แหล่งการเรยี นรู้
2.1 หนงั สือเกย่ี วกับงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ บ้ืองต้น ของสำนักพมิ พ์ตา่ ง ๆ
2.2 อนิ เทอรเ์ นต็

การวดั ผลและประเมนิ ผล
1. การวดั ผลและการประเมินผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมวี ินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ

70 ผา่ นเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น
1.3 สงั เกตการปฏิบตั ิตามใบงานโดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน
1.4 ตรวจแบบฝกึ หดั

2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ความมวี ินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ

70 ผา่ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏิบตั ิตามใบงานต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
2.4 แบบฝึกหดั ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเวลาเรยี น ใหท้ บทวนเนื้อหารวมท้ังความสมบรู ณ์ของแบบฝกึ หัดและใบงาน

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการปฏิบัติตามใบงานที่ 2

10

2. ผลการทำแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยท่ี 2

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรยี นวิชางานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบ้อื งต้น รหสั วิชา 20100-1005
บรษิ ัทศูนย์หนงั สอื เมืองไทย จำกัด
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสอื่ สิ่งพิมพท์ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับเน้อื หาบทเรียนตามบรรณานุกรม

บันทึกหลังการสอน

1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

11

..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาท่ีพบ
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................