พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด

พ่อขุนมังรายมหาราช (เป็นพระนามที่ถูกต้องของพระยาเม็งราย) คงจะได้ดัดแปลงตัวอักษรมอญมากใช้เขียนหนังสือไทยในเวลาใกล้เคียง ดังตัวอย่างอักษรในจารึกลานทองสุโขทัย พ.ศ. ๑๙๑๙ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ลายสือไทยหรือตัวหนังสือไทยขึ้นเมื่อมหาศักราช ๑๒๐๕ (พุทธศักราช ๑๘๒๖) นับมาถึงพุทธศักราช ๒๕๒๖ ได้ ๗๐๐ ปีพอดี ในระยะเวลาดังกล่าว ชาติไทยได้สะสมความรู้ทั้งทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ และได้ถ่ายทอดความรู้เหล่านั้นสืบต่อกันมา

พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด
พยัญชนะไทย 44 ตัว

 

ส่วนประกอบพยัญชนะ

ส่วนประกอบของพยัญชนะ

พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป 21 เสียง ที่เป็นเช่นนั้นเหตุเป็นเพราะมีพยัญชนะบางตัวที่รูปต่างกันแต่อ่านออกเสียงคล้ายกันหรือเหมือนกัน จึงนับเป็น 1 เสียง เช่น เสียง ซ จะมีรูปเสียงที่คล้ายกันกับพยัญชนะ ส ศ ษ หรือเสียง ห จะมีรูปเสียงที่คล้ายกันกับพยัญชนะ ฮ เป็นต้น ซึ่งในภาษาไทยได้มีการเรียบเรียงลำดับของพยัญชนะโดยเริ่มต้นจาก กอไก่ เป็นพยัญชนะตัวที่ 1 และ ฮอนกฮูก เป็น พยัญชนะ ตัวที่ 44 นั่นเอง

  • อักษรไทย คือ เครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงในภาษาไทย 
  • รูปพยัญชนะ คือ ใช้เขียนแทนเสียงพยัญชนะไทย 

พยัญชนะไทย มีกี่รูปกี่เสียง

พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป 21 เสียง เสียงพยัญชนะ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วถูกสกัดกั้นโดยอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งทำให้เสียงต่างกันออกไปตามอวัยวะที่มาสกัดกั้น

พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด

เสียงใน พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป 21 เสียง ดังนี้

44 รูปออกเสียง21 เสียงกออกเสียงกข ฃ ค ฅ ฆออกเสียงคล้ายรูปคงออกเสียงงจออกเสียงจช ฌ ฉออกเสียงชซ ศ ษ สออกเสียงคล้ายรูปซด ฎออกเสียงคล้ายรูปดต ฏออกเสียงคล้ายรูปตท ธ ฑ ฒ ถ ฐออกเสียงคล้ายรูปทน ณออกเสียงคล้ายรูปนบออกเสียงบปออกเสียงปพ ภ ผออกเสียงคล้ายรูปพฟ ฝออกเสียงคล้ายรูปฟมออกเสียงมรออกเสียงรย ญออกเสียงคล้ายรูปยล ฬออกเสียงคล้ายรูปลวออกเสียงวฮ หออกเสียงคล้ายรูปฮอออกเสียงอพญัชณะภาษาไทย วรรณยุกต์มีกี่รูปกี่เสียง

เสียงในภาษาไทย

เสียงในภาษา หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายระหว่างกัน ซึ่งการที่เสียงในภาษาจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็ต้องอาศัยอวัยวะต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดเสียง สำหรับอวัยวะที่ทำให้เกิดเสียง ได้แก่ ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ฟัน ลิ้น เพดานปาก ลิ้นไก่ กล่องเสียง หลอดลม และปอด

พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด
เสียงใน ภาษาไทย

 

สระในภาษาไทย

รูปสระ คือ ใช้เขียนแทนเสียงสระ มีทั้งหมด 21 รูป 32 เสียง

21 รูป ประกอบด้วย

พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด
สระภาษาไทย-ะวิสรรชนีย์_ัไม้หันอากาศ_็ไม้ไต่คู้_ิพินท์ุอิ_่ฝนทอง๐นิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง“ฟันหนู-ุตีนเหยียด-ูตีนคู้เ-ไม้หน้าใ-ไม้ม้วนไ-ไม้มลายโ-ไม้โออตัวออยตัวยอวตัววอฤตัวรึฤๅตัวรือฦตัวลึฦๅตัวลือาลากข้าง

32 เสียง ดังนี้

  • อะ
  • อา
  • อิ
  • อี
  • อึ
  • อือ
  • อุ
  • อู
  • เอะ
  • เอ
  • แอะ
  • แอ
  • โอะ
  • โอ
  • เอาะ
  • เออ

  • เออะ
  • เออ
  • อัว
  • เอีย
  • เอือ
  • อัวะ
  • เอียะ
  • เอือะ
  • อำ
  • ใอ
  • ไอ
  • เอา
  • ฤๅ
  • ฦๅ

รูปวรรณยุกต์

รูปวรรณยุกต์ คือ ใช้เขียนแทนเสียงวรรณยุกต์ มีทั้งหมด 4 รูป 5 เสียง ดังนี้

  • เสียงสามัญ ไม่มีรูป เช่นคำว่า ปา
  • เสียงเอก เรียกว่า ไม้เอก เช่นคำว่า ป่า
  • เสียงโท เรียกว่า ไม้โท เช่นคำว่า ป้า
  • เสียงตรี เรียกว่า ไม้ตรี เช่นคำว่า ป๊า
  • เสียงจัตวา เรียกว่า ไม้จัตวา เช่นคำว่า ป๋า
พยัญชนะที่มีเสียงเดียวกันทั้งหมด
รูปวรรณยุกต์

และการแบ่งพยัญชนะไทยทั้ง 44 ตัว สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน หรือที่เราเรียกอีกอย่างนึงว่า ‘อักษร 3 หมู่’ ประกอบไปด้วย อักษรสูง ,อักษรกลาง และอักษรต่ำ ซึ่งการแบ่งหมวดหมู่เช่นนี้เป็นการจำแนกกลุ่มตัวอักษรสำหรับการใช้เพื่อผันคำ เพราะอักษรในแต่ละหมวดหมู่มีวิธีการผันคำที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้

อักษรกลางมีกี่ตัวมี 9 ตัวอักษรสูงมีกี่ตัวมี 11 ตัวอักษรต่ํามีกี่ตัวมี 24 ตัว

อักษรสูง มีทั้งหมด 11 ตัว ประกอบด้วย ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห

  • วิธีท่องจำสำหรับอักษรสูง : ผี(ผ) ฝาก(ฝ) ถุง(ฐ ถ) ข้าว(ฃ ข) สาร(ศ ษ ส) ให้(ห) ฉัน(ฉ)
  • ยกตัวอย่างคำเช่น ไข่ ,ฃ(ขวด) ,ฉิ่ง ,ฐาน ,ถุง ,ผึ้ง ,ฝา ,เศรษฐี ,สาป ,หาย เป็นต้น

กลาง มีทั้งหมด 9 ตัว ประกอบด้วย  ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ

  • วิธีท่องจำสำหรับอักษรกลาง : ไก่(ก) จิก(จ) เด็ก(ฎ) ตาย(ฏ) เด็ก(ด) ตาย(ต) บน(บ) ปาก(ป) โอ่ง(อ)
  • ยกตัวอย่างคำเช่น ก่อ ,จำ ,ดุ ,ตาม ,บิน ,ไป ,อาบ เป็นต้น

อักษรต่ำ มีทั้งหมด 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ อักษรต่ำคู่และอักษรต่ำเดี่ยว

  • อักษรต่ำคู่ มีทั้งหมด 14 ตัว ประกอบด้วย ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ
  • วิธีท่องจำสำหรับอักษรต่ำคู่ : พ่อ(พ ภ) ค้า(ค ฅ) ฟัน(ฟ) ทอง(ฒ ฑ ท ธ) ซื้อ(ซ) ช้าง(ช) ฮ่อ(ฮ)
  • ยกตัวอย่างคำเช่น คัน ,ชัก ,พาน ,ภูมิ ,ธง เป็นต้น
  • อักษรต่ำเดี่ยว มีทั้งหมด 10 ตัว ประกอบด้วย ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ
  • วิธีท่องจำสำหรับอักษรต่ำเดี่ยว : งู(ง) ใหญ่(ญ) นอน(น) อยู่(ย) ณ(ณ) ริม(ร) วัด(ว) โม(ม) ฬี(ฬ) โลก(ล)
  • ยกตัวอย่างคำเช่น งมงาย ,นา ,มา ,รัก ,ยักษ์ ,ลาน ,วัน เป็นต้น

การจำแนกรูปและเสียงของ

พยัญชนะไทยที่มี 44 ตัว 21 เสียง

เสียงในภาษาไทยจะประกอบไปด้วย 3 ชนิด คือ เสียงสระหรือเสียงแท้ ,เสียงพยัญชนะหรือเสียงแปร และเสียงวรรณยุกต์หรือเสียงดนตรี ซึ่งเราจะเจาะลึกถึงเสียงพยัญชนะที่มี 44 ตัว แต่มี 21 เสียง

เสียงพยัญชนะหรือเสียงแปร เป็นเสียงที่เปล่งออกจากลำคอและกระทบส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก สาเหตุที่มีเพียง 21 เสียง เป็นเพราะมีพยัญชนะบางตัวที่อ่านออกเสียงเหมือนกันหรือคล้ายกัน ดังนี้

  • รูป ค ออกเสียงคล้ายรูป ข ฃ ค ฅ ฆ
  • รูป ช ออกเสียงคล้ายรูป ช ฌ ฉ
  • รูป ซ ออกเสียงคล้ายรูป ซ ศ ษ ส
  • รูป ด ออกเสียงคล้ายรูป ด ฎ
  • รูป ต ออกเสียงคล้ายรูป ต ฏ
  • รูป ท ออกเสียงคล้ายรูป ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ
  • รูป น ออกเสียงคล้ายรูป น ณ
  • รูป พ ออกเสียงคล้ายรูป พ ภ ผ
  • รูป ฟ ออกเสียงคล้ายรูป ฟ ฝ
  • รูป ย ออกเสียงคล้ายรูป ย ญ
  • รูป ล ออกเสียงคล้ายรูป ล ฬ
  • รูป ฮ ออกเสียงคล้ายรูป ฮ ห

เห็นได้ชัดว่าภาษาไทยของเรายิ่งศึกษายิ่งรู้สึกลึกซึ้ง และตระหนักว่ากว่าจะมาเป็นภาษาให้เราได้ใช้ในปัจจุบันล้วนมีการสร้าง แก้ไข กลั่นกรอง จนมาเป็นภาษาไทยที่สวยงามอย่างวันนี้ อยากให้ทุกคนหันกลับมาใช้ภาษาให้ถูกต้อง ละเว้นการใช้ภาษาวิบัติ เพื่ออนุรักษ์และส่งต่อความสวยงามของภาษาไทยนี้ให้กับคนรุ่นหลังต่อไป

ไตรยางค์ 3 หมู่ 

แบ่งออกเป็นอักษร 3 หมู่ หรือไตรยางค์ ได้แก่

  1. อักษรสูง มี 11 ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
  2. อักษรกลาง มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ
  3. อักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ

อ้างอิง :

  • ศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร  รวมบทความเรื่องภาษาและอักษรไทย กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร (2526) 
  • หนังสือ 700 ปี ลายสือไทย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2526.

พยัญชนะไทย แบ่งออกเป็นกลุ่มกี่กลุ่ม และมีกี่เสียง ตามจำนวนเสียง

 

 

 

มีเสียง 21 เสียง เราอาจแยกพยัญชนะ 44 รูป ออกเป็น 21 กลุ่มตามจำนวนเสียง

 

พยัญชนะไทยมีพยัญชนะต้นกี่เสียง

เสียงพยัญชนะต้น
พยัญชนะต้นเดี่ยว ของไทยมี 21 เสียง คือ พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง

 

เสียงพยัญชนะมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

เสียงพยัญชนะต้น
เสียงพยัญชนะต้น แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๑. เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว เช่น กัน ขาน คิด ฉาน ชอบ /ก/ /ข/ /ค/ /ช/ เป็นเสียงพยัญชนะต้น
๒. เสียงพยัญชนะควบกล้ า หมายถึง พยัญชนะ ๒ เสียง ที่ออกเสียงพร้อมกัน เสียงพยัญชนะควบกล้า
ในภาษาไทยอยู่ได้ในตาแหน่งต้นพยางค์เท่านั้น เช่น กราบ ขรึม โคลง ความ /กร/ /คล/ /คว/ เป็นต้น และ
ยังมีพยัญชนะควบกล้าซึ่งอยู่ในต้นพยางค์ในคาที่เรารับมาจากภาษาอื่น เช่น อินทรา /ทร/ ฟรี /ฟร/ ฟลุก /
ฟล/ เป็นต้น

 

 

คำค้น:44ตัว สระ 44ตัวสระวรรณยุกต์ ก-ฮ 44ตัวพร้อมรูปภาพ อังกฤษ 44ตัวและสระ มีกี่ตัวกี่เสียง 44ตัวสวยๆ มีกี่รูปกี่เสียง ภาพระบายสีก-ฮ 44ตัวก-ฮ 44ตัวสระวรรณยุกต์ png รูปภาพประกอบ44ตัว 44ตัว มีกี่รูปกี่เสียง สระวรรณยุกต์ ก-ฮพร้อมรูปภาพ 44ตัวการ์ตูน การ์ตูน มีกี่รูปและกี่เสียง ตัวใดในปัจจุบันที่ไม่ได้ใช้แล้ว บัตรคํา44ตัวฟรี แบ่งออกเป็นอักษรสูงอักษรกลางอักษรต่ำเรียกอีกอย่างว่าอะไร 44 แบบฝึกอ่าน44ตัว 44ตัวแบ่งเป็น 44รูป21เสียง หยาดฝนวาทะยานนท์ 44ตัว21เสียง 44ตัวพร้อมรูปภาพpdf หมายถึง แบ่งออกเป็นกี่ประเภท สื่อก-ฮ ไม่มีหัว ค ใบงาน การ์ตูน ฟอนต์ แบบฝึกหัด44ตัว อักษรสูงกลางต่ํา แบบฝึกหัด กระทรวงศึกษาธิการ มีกี่เสียง เสียงสูงกลางต่ํา ก-ฮpng ppt