ข อสอบ o net ดาราศาสตร ม 6 ป 60-61

  • 1. ดาราศาสตร์ และอวกาศ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. ดาวเคราะห์ใดต่อไปนี้อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดวงอื่น(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวพฤหัสบดี 2. ดาวศุกร์ 3. ดาวเสาร์ 4. ดาวเนปจูน 2. ดาวพฤหัสบดีมีองค์ประกอบหลักเป็นอะไร(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. เหล็ก 2. ไฮโดรเจนและฮีเลียม 3. หิน 4. แอมโมเนีย 3. ตามวิวัฒนาการของดวงอาทิตย์ในช่วงท้ายที่สุดจะเป็นอะไร(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวแคระดา 2. ดาวแคระขาว 3. หลุมดา 4. ดาวนิวตรอน 4. ตามหลักการจัดอันดับความสว่างของดาว ดาวในข้อใดมีความสว่างมากที่สุด(มาตรฐาน/ ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาว A มีอันดับความสว่าง 6 2. ดาว B มีอันดับความสว่าง 1 3. ดาว C มีอันดับความสว่าง 0 4. ดาว D มีอันดับความสว่าง -2 5. คาว่า 1 ปีแสง หมายถึงอะไร(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ระยะทางที่แสงใช้เวลาเดินทาง 1 ปี 2. ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลก 3. เวลาที่แสงเดินทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลก 4. หน่วยของเวลาแบบหนึ่ง 6. สิ่งที่เกิดขึ้นกับดาวฤกษ์ทุกดวงเมื่อเข้าสู่ระยะสุดท้ายเป็นตามข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น 2. การระเบิดซูเปอร์โนวา 3. การกลายสภาพเป็นดาวนิวตรอน 4. มวลสลายไปหมด 7. ดาวฤกษ์ในข้อใด ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวต่าที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. มีแสงสีน้าเงิน 2. มีแสงสีแดง 3. มีแสงสีเหลือง 4. มีแสงสีส้ม 8. ดาวศุกร์เมื่อสว่างน้อยที่สุดมีความสว่าง -3.5 ดาวซีรีอุสมีอันดับความสว่าง -1.5 ดาวศุกร์มี ความสว่างมากกว่าดาวซีรีอุสกี่เท่า(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. 2.5 2. 3.0 3. 6.25 4. 15.6
  • 2. 15 องศา ถ้าต้องการประมาณเวลาที่แสงจากดาวที่ขอบข้างหนึ่งของทาง ช้างเผือกไปถึงอีกข้างหนึ่ง ต้องใช้ข้อมูลจากข้อใดต่อไปนี้(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวที่ขอบนั้น 2. ความสว่างของดาวที่ขอบ 3. อัตราการหมุนของแกแลกซี 4. ดัชนีหักเหของแสงในอวกาศ 10. ความพรุนของหินที่เกิดขึ้นภายหลังภูเขาไฟระเบิดขึ้นอยู่กับปัจจัยใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. รูปร่างและความสูงของภูเขาไฟ 2. ตาแหน่งของรอยแยกบนพื้น 3. อัตราการเย็นตัวของลาวา 4. องค์ประกอบทางเคมีของแมกมา 11. เทือกเขาหิมาลัย เกิดจาปรากฏการณ์ทางธรณีภาคแบบใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. การเกิดแผ่นดินไหว 2. การแยกตัวของแผ่นเปลือกโลก 3. การชนกันของแผ่นเปลือกโลก 4. การระเบิดของภูเขาไฟ 12. หินชั้นหนึ่งมีการสะสมตัวเป็นชั้นๆ ของหินทราย หินกรวดมน หินปูน และหินดินดาน ดัง รูป หินชนิดใดมีอายุมากที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. หินทราย 2. หินกรวดมน 3. หินปูน 4. หินดินดาน 13. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหว อันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใด มากที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก 2. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นอินเดีย 3. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา 4. แผ่นแอนตาร์กติกากับแผ่นออสเตรเลีย – อินเดีย 14. ข้อใดคือสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. คลื่นสึนามิ 2. โลกหมุน 3. น้าขึ้น – น้าลง 4. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก
  • 3. ) 1. หินแปร 2. หินอัคนี 3. หินชีสต์ 4. หินตะกอน 16. ชั้น “ฐานธรณีภาค” อยู่ตรงส่วนใดของโครงสร้างโลก 1. ชั้นเปลือกโลก 2. รอยต่อชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลก 3. ชั้นเนื้อโลก 4. รอยต่อชั้นเนื้อโลกกับชั้นแก่นโลก 17. พื้นที่ในข้อใดที่อยู่ในบริเวณที่เรียกว่า “วงแหวนแห่งไฟ” (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. แนวรอยต่อภูเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย 2. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทร แอตแลนติก 3. บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด 4. บริเวณรอยต่อภูเขาแอลป์ในทวีป ยุโรป 18. มาตราที่ใช้บอกความเสียหายเนื่องจากแผ่นดินไหวคือข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ริกเตอร์ 2. เมอร์คัลลี 3. โมห์ 4. เวนส์เวอร์ด 19. บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทรมีการเคลื่อนตัวของขอบแผ่นธรณีภาค ในลักษณะใดที่สาคัญ(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. เคลื่อนตัวหนีห่างออกจากกัน 2. เคลื่อนตัวเข้าหากัน 3. เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น 4. เคลื่อนตัวเฉือนกัน 20. การเกิดแผ่นดินไหวเกิดขึ้นที่ส่วนใดของโครงสร้างโลก(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ฐานธรณีภาค 2. ธรณีภาค 3. แก่นโลก 4. ชั้นของโครงสร้างโลกที่มีหินหลอม ละลาย 21. การหาอายุสัมบูรณ์ของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ทางธรณีวิทยาใช้วิธีการใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. วิธีการหาอายุทางกัมมันตรังสี 2. ตรวจสอบเปรียบเทียบกับฟอสซิลอื่นๆ 3. ตรวจสอบจากลาดับชั้นหินและความสัมพันธ์ของโครงสร้างทางธรณีวิทยา 4. วิธีการทางรังสีเอกซ์
  • 4. 6.1 ) 1. หินทราย 2. หินดินดาน 3. หินปูน 4. หินแกรนิต 23. ซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์ของประเทศไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบในหินชนิดใด (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. หินทราย 2. หินปูน 3. หินบะซอลต์ 4. หินดินดาน 24. ปรากฏการณ์ใดที่สนับสนุน “ทฤษฎีบิกแบง” (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. การชนกันของดาวหางกับดาวเคราะห์ 2. การขยายตัวของเอกภพ 3. การเกิดลมสุริยะ 4. การยุบตัวของดาวฤกษ์ 25. หลังเกิดบิกแบงปริมาณอนุภาคกับปริมาณปฏิอนุภาคควรเป็นตามข้อใด จึงเกิดกาแล็กซีและ ดาวต่าง ๆ ขึ้นดังที่เป็นอยู่(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. มีปริมาณเท่ากัน 2. อนุภาคมีปริมาณมากกว่า 3. ปฏิอนุภาคมีปริมาณมากกว่า 4. เป็นไปได้ทุกข้อ 26. ในวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ช่วงเวลาในข้อใดเป็นช่วงเวลาที่สั้นที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวยักษ์แดง 2. ดาวแคระขาว 3. ดาวแคระดา 4. เนบิวลา 27. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ฟิวชัน 2. ฟิชชัน 3. ซูเปอร์โนวา 4. ออโรรา 28. ดาวฤกษ์ชนิดใดในข้อต่อไปนี้มีอุณหภูมิผิวสูงที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวที่มีสีแดง 2. ดาวที่มีสีเหลือง 3. ดาวที่มีสีน้าเงิน 4. ดาวที่มีสีขาว 29. ในระบบสุริยะ แถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในบริเวณใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. อยู่ระหว่างแถบดาวเคราะห์ชั้นในกับดาวเคราะห์ชั้นนอก 2. อยู่ระหว่างดาวเคราะห์ชั้นในกับเขตของดาวหาง 3. อยู่ระหว่างดาวเคราะห์ชั้นนอกกับเขตของดาวหาง 4. อยู่แถบนอกสุดของระบบสุริยะ
  • 5. ) 1. การเกิดแสงเหนือแสงใต้ 2. วงจรอิเล็กทรอนิกส์บนดาวเทียม เสียหาย 3. การเกิดฝนดาวตก 4. การติดต่อสื่อสารโดยวิทยุคลื่นสั้น ขัดข้อง 31. ทาไมกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลสามารถเห็นดาวต่างๆ ได้ชัดเจนกว่ากล้องอื่นๆ บนโลกทั้งหมด (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. เลนส์มีขนาดโตมากกว่า 2. เลนส์มีคุณภาพดีมากกว่า 3. มีเทคโนโลยีการถ่ายภาพที่ทันสมัยกว่า 4. อากาศหุ่มหุ้มโลกไม่รบกวน 32. เชื้อเพลิงในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้ในการส่งยานอวกาศมากที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. ออกซิเจนเหลว 2. เบนซินเกรดสูง 3. ไนโตรเจนเหลวและออกซิเจน 4. ไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว 33. ข้อใดไม่อยู่ในบริเวณที่เรียกว่า “วงแหวนแห่งไฟ (ring of fire)” (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด 2. บริเวณรอยต่อภูเขาแอลป์และภูเขา หิมาลัย 3. ประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด 4. บริเวณด้านตะวันตกของประเทศ เม็กซิโก 34. หินของภูเขาใดต่อไปนี้ไม่ใช่หินภูเขาไฟ 1. ภูเขาอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์ 2. ดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลาปาง 3. ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ 4. ภูชี้ฟ้า จังหวัดเชียงราย 35. ตามทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonics) ข้อใดไม่ได้รวมอยู่ในทวีป “กอนด์วานา” (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ทวีปแอฟริกา 2. ทวีปอินเดีย 3. ทวีปแอฟริกาเหนือ 4. ทวีปออสเตรเลีย 36. การเกิดสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 เกิดจากการชนของแผ่นทวีปใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ที่ 6.1 ) 1. ออสเตรเลีย – อินเดีย กับ แผ่นยูเรเซีย 2. แผ่นอินโดนีเซีย กับ แผ่นแปซิฟิก 3. แผ่นยูเรเซีย กับ แผ่นแปซิฟิก 4. แผ่นอินโดนีเซีย กับ แผ่นฟิลิปปินส์ 37. นักธรณีวิทยาใช้วิธีใดในการหาอายุหินตะกอน(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. โดยใช้วิธีกัมมันตะรังสีหาอายุของหิน 2. โดยการค้นหาซากดึกดาบรรพ์ เช่น ไทโลโบต์ 3. ใช้กัมมันตภาพรังสี C – 14 หาอายุซากดึกดาบรรพ์
  • 6. 6.1 ) 1. เทอร์เชียรี 2. พรีแคมเบรียน 3. ไซลูเรียน 4. คาร์บอนนิฟอรัส 39. การพบหลักฐานในข้อใดที่แสดงว่าในอดีตประเทศไทยเคยมีภูเขาไฟในบางพื้นที่ (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. หินบะซอล์ 2. หินแกรนิต 3. รอยแตกเลื่อนของชั้นหิน 4. น้าพุร้อน 40. ธรณีภาคมีความหมายตรงตามข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลก 2. ชั้นเนื้อโลกส่วนล่างกับชั้นแก่นโลก 3. ชั้นในเนื้อโลกทั้งหมดกับชั้นเปลือกโลก 4. ชั้นเปลือกโลกเพียงอย่างเดียว 41. ดาวฤกษ์ที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 4 จะมีความสว่างต่างกันประมาณกี่เท่า(มาตรฐาน/ ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. 100 เท่า 2. 80 เท่า 3. 60 เท่า 4. 40 เท่า 42. ชนิดของสเปกตรัมในข้อใดที่แสดงว่าเป็นดาวฤกษ์สีขาว และอุณหภูมิของดาวที่ 10,000 – 8,000 เคลวิน(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. M 2. G 3. A 4. O 43. ดวงอาทิตย์ได้พลังงานจากปฏิกิริยาหรือปรากฏการณ์ข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. การรวมตัวของนิวเครียว H เป็น He 2. การแตกตัวของนิวเคลียสใหญ่ 3. การเผาไหม้อย่างต่อเนื่อง 4. การระเบิดอย่างต่อเนื่อง 44. ข้อใดคือจุดจบของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์มากๆ(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. เนบิวลา 2. หลุมดา 3. ดาวแคระดา 4. ดาวยักษ์แดง 45. ข้อใดที่เกิดจากลมสุริยะ(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. การเกิดแสงออโรราแถบขั้วโลกเหนือและใต้ 2. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทียม ไหม้ 3. การติดต่อสื่อสารโดยเส้นใยนาแสงขัดข้อง 4. เข็มทิศเบนไปมา
  • 7. มีค่าอันดับความสว่าง 2 ในขณะที่ดาว B มีค่าอันดับความสว่าง 4 ข้อความใด ต่อไปนี้ถูกต้อง(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาว A มีความสว่างมากกว่าดาว B 2 เท่า 2. ดาว B มีความสว่างมากกว่าดาว A 2 เท่า 3. ดาว A มีความสว่างมากกว่าดาว B 6.3 เท่า 4. ดาว B มีความสว่างมากกว่าดาว A 6.3 เท่า 47. ข้อใดจัดเป็นดาวเคราะห์ชั้นนอกทั้งหมด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวเสาร์ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ 2. ดาวพฤหัสบดี ดาวอังคาร ดาวยูเรนัส 3. ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวศุกร์ 4. ดาวเนปจูน ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส 48. ข้อใดเป็นสมบัติของ “ดาวเคราะห์ยักษ์” ของดวงอาทิตย์(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. มีความหนาแน่นสูงมาก 2. ประกอบด้วยหินเป็นส่วนใหญ่ 3. มีแสงสว่างในตัวเอง 4. ประกอบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นส่วนใหญ่ 49. ลักษณะที่โดดเด่นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาของมหาสมุทรแอตแลนติก คือข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. การเกิดขึ้นของเทือกเขากลางมหาสมุทรที่ทอดโค้งไปตามแนวของทวีป 2. การชนกันของแผ่นธรณีภาคภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นมหาสมุทร 3. การเกิดขึ้นของวงแหวนแห่งไฟรอบมหาสมุทร 4. การเกิดเกาะเนื่องจากการระเบิดของภูเขาไฟที่กระจายตัวอยู่ทั่วมหาสมุทร 50. เครื่องมือในข้อใดที่ใช้ตรวจวัดความไหวสะเทือนของแผ่นดินไหว(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ริกเตอร์สเกล 2. เมอร์คัลลีกราฟ 3. ไซสโมกราฟ 4. เครื่องวัดจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 51. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึงคลื่นสึนามิไม่ถูกต้อง(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ความเร็วของคลื่นขึ้นอยู่กับความลึก 2. เป็นคลื่นน้าที่มีความยาวคลื่น 80-200 กิโลเมตร 3. ปรากฏการณ์นี้มักเกิดบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก
  • 8. ริกเตอร์ขึ้นไปในมหาสมุทร 52. ข้อใดถูกต้องที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ภูเขาไฟส่วนใหญ่พบบนเกาะที่อยู่ตรงขอบของแผ่นธรณีภาค แผ่นดินไหวขนาด ใหญ่ส่วนใหญ่เกิดในแผ่นดินที่อยู่ตรงกลางของแผ่นธรณีภาค 2. ภูเขาไฟและแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มักเกิดตามแนวขอบของแผ่นธรณีภาค 3. ภูเขาไฟส่วนใหญ่เกิดตรงใจกลางของแผ่นธรณีภาคและแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มัก เกิดตามแนวขอบของแผ่นธรณีภาค 4. ทั้งภูเขาไฟและแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มักเกิดในภูมิอากาศเขตร้อนใกล้กับแผ่น ธรณีภาค 53. วิธีการในข้อใดที่ไม่สามารถบอกอายุของซากดึกดาบรรพ์ของไดโนเสาร์ได้(มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ที่ 6.1 ) 1. การเปรียบเทียบอายุกับชั้นหินที่พบซากนั้น 2. การใช้ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี 3. การวิเคราะห์ปริมาณยูเรเนียมในซากดึกดาบรรพ์ 4. การวิเคราะห์ปริมาณของคาร์บอน-14 ในซากดึกดาบรรพ์ 54. ภาคใดของประเทศไทยที่มีการค้นพบซากไดโนเสาร์มากที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ภาคเหนือ 3. ภาคใต้ 4. ภาคกลาง 55. แรงในข้อใดต่อไปนี้ที่เป็นปัจจัยทาให้กลุ่มหมอกก๊าซเกิดการยุบตัวเพื่อเป็นดาว (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. แรงแม่เหล็กไฟฟ้า 2. แรงนิวเคลียร์ 3. แรงโน้มถ่วง 4. แรงสู่ศูนย์กลาง 56. ดาวฤกษ์ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีอุณหภูมิผิวสูงสุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวที่มีสีส้มแดง 2. ดาวที่มีสีส้ม 3. ดาวที่มีสีแดง 4. ดาวที่มีสีเหลือง
  • 9. ) 1. หมุนรอบโลกในเวลาเท่ากับที่หมุนรอบดวงอาทิตย์ 2. หมุนรอบตัวเองในเวลาที่เท่ากับหมุนรอบโลก 3. หมุนรอบตัวเองในเวลาที่เท่ากับที่โลกหมุนรอบตัวเอง 4. หมุนรอบตัวเองในเวลาที่เท่ากับการหมุนรอบดวงอาทิตย์ 58. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็นส่วนประกอบของระบบสุริยะ(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวหางฮัลเลย์ 2. พลูโต 3. ดาวเคราะห์น้อย 4. ดาวลูกไก่ 59. เอ็ดวิน ฮับเบิล ได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องในข้อใดที่ทาให้พบว่าเอกภพมีการขยายตัว (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. การวัดการเลื่อนตาแหน่งของสเปคตรัมจากกาแล็กซี เทียบกับระยะห่างจากโลก 2. ศึกษาโครงสร้างของกาแล็กซี ว่าประกอบด้วยดาวฤกษ์จานวนมาก 3. การสร้างสมการเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดของทฤษฎีสัมพัทธภาพ 4. การสังเกตการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์ โดยใช้การวัดสเปคตรัม 60. ดาวบีเทลจุสอยู่ห่างจากโลกประมาณ 500 ปีแสง ถ้าขณะนี้ดาวนั้นเกิดการระเบิด (ซูเปอร์โนวา) เราจะสังเกตเห็นปรากฏการณ์ดังกล่าวตามเวลาในข้อใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. เห็นทันทีที่เกิด 2. เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี 3. เมื่อเวลาผ่านไป 500 ปี 4. เมื่อเวลาผ่านไป 500 ปีแสง 61. ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรกของไทย ที่ถูกส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ชื่ออะไร(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. ธีออส 2. แลนแซท 3. ไทยคม 1A 4. ไทยคม 4 62. ข้อใดที่ไม่ใช่ประโยชน์ของดาวเทียมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2) 1. กาหนดพิกัดของตาแหน่งต่างๆ บนพื้นโลก 2. รวมพลังงานแสงอาทิตย์แล้วส่งมายังโลก
  • 10. พายุ 4. ค้นหาแหล่งทรัพยากรที่มีค่า เช่น ทองคา น้ามัน 63. แผ่นดินไหวที่รู้สึกได้ในประเทศไทย มักจะมีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ในประเทศใด (มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ไทย 2. พม่า 3. ลาว 4. อินโดนีเซีย 64. ขอบทวีปใดมีรูปร่างต่อกันได้พอดี(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ตะวันตกของแอฟริกา กับ ตะวันออกของอเมริกาใต้ 2. ตะวันตกของเอเชีย กับ ตะวันออกของอเมริกาเหนือ 3. ตะวันตกของยุโรป กับ ตะวันออกของเอเชีย 4. เหนือของออสเตรเลีย กับ ใต้ของอเมริกาใต้ 65. ข้อใดไม่ถูกต้อง(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ประเทศไทยมีแผ่นดินไหวขนาดที่รู้สึกได้ โดยเฉลี่ยแล้ว 1 ครั้งทุกๆ 5 ปี 2. แผ่นดินไหวในประเทศไทย มักเกิดในบริเวณแนวรอยเลื่อนมีพลัง 3. แนวรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยมีจานวนหลายสิบแนว 4. แนวรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทยส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคตะวันตกและ ภาคเหนือ 66. ปัจจุบันมีภูเขาไฟที่มีพลัง อยู่บนโลกเป็นจานวนประมาณเท่าใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. 100 ลูก 2. 1,000 ลูก 3. 10,000 ลูก 4. 100,000 ลูก 67. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เช่น กลุ่มดาวนายพราน(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีอายุใกล้เคียงกัน 2. ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีอันดับความสว่างปรากฏใกล้เคียงกัน 3. ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีระยะห่างจากโลกใกล้เคียงกัน 4. ดาวฤกษ์ทุกดวงจะมีตาแหน่งที่ปรากฏใกล้เคียงกัน
  • 11. ) 1. มีอายุพอๆ กับโลก 2. มีมวลประมาณ 50% ของมวลของระบบสุริยะ 3. องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นไฮโดรเจน 4. จะมีวาระสุดท้ายเป็นดาวแคระดา 69. เมื่อเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง วันนั้นควรจะเป็นวันใด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. แรม 1 ค่า 2. ขึ้น 15 ค่า 3. แรม 8 ค่า 4. แรม 15 ค่า 70. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสถานีอวกาศนานาชาติ(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. วิจัยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ไม่สามารถทาได้บนโลก 2. เจ้าหน้าที่ในสถานีจะอยู่ในสภาวะไร้น้าหนัก 3. อยู่ในวงโคจรค้างฟ้า 4. มีเจ้าหน้าที่ประจาการอยู่ตลอดเวลา 71. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของกระสวยอวกาศในปัจจุบัน(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.2 ) 1. เพื่อการท่องเที่ยว 2. เพื่อส่งดาวเทียมเข้าสู่วงโคจร 3. เพื่อใช้เป็นสถานีอวกาศ 4. เพื่อใช้วิจัยทางวิทยาศาสตร์ พิจารณาชั้นหินที่วางซ้อนกันดังรูป แล้วตอบคาถามข้อ 72 ถึง 74 ชั้น ก กระดูกช้าง ซากต้นพืช (บนสุดมีต้นหญ้า) ชั้น ข กระดูกช้าง ซากต้นพืช หอยแครง ชั้น ค หอยแครง ชั้น ง แมงดาทะเล แอมโมไนต์ ชั้น จ แอมโมไนต์ 72. ชั้นหินในข้อใดเก่าแก่ที่สุด(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. ชั้น ก 2. ชั้น ข 3. ชั้น ค 4. ชั้น จ 73. ฟอสซิลในข้อใดที่พบในตัวอย่างนี้ที่สามารถใช้เป็นฟอสซิลดัชนีได้(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 )
  • 12. แอมโมไนต์ 3. แมงดาทะเล 4. ช้าง 74. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาพของสถานที่แห่งนี้(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 6.1 ) 1. เคยเป็นทะเลมาก่อน ปัจจุบันเป็นบก 2. เคยเป็นบกมาก่อน แล้วเป็นทะเลในภายหลัง 3. ไม่เคยเป็นทะเลเลย 4. เป็นทะเลทั้งอดีตและปัจจุบัน 75. ข้อใดเรียงลาดับความสว่างที่ปรากฏของดาวจากสว่างน้อยไปมากได้ถูกต้อง(มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ที่ 7.1 ) 1. ดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุด ดวงจันทร์เมื่อสว่างที่สุด ดาวซีรีอัส 2. ดาวซีรีอัส ดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุด ดวงจันทร์เมื่อสว่างที่สุด 3. ดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุด ดาวซีรีอัส ดวงจันทร์เมื่อสว่างที่สุด 4. ดวงจันทร์เมื่อสว่างที่สุด ดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุด ดาวซีรีอัส 76. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอันดับความสว่าง(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. มีค่าเป็นบวกเท่านั้น 2. ค่ามากแสดงว่าสว่างมาก 3. ค่าเป็นศูนย์แสดงว่าไม่มีแสงในตัวเอง 4. เป็นปริมาณที่ไม่มีหน่วย 77. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอันดับความสว่างของดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุดกับอันดับความ สว่างของดวงอาทิตย์(มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ 7.1 ) 1. ค่าใกล้เคียงกัน 2. ค่าของดาวศุกร์มากกว่า 3. ค่าของดาวศุกร์น้อยกว่า 4. เปรียบเทียบกันไม่ได้