Er model ม ความสำค ญอย างไรในการออกแบบฐานข อม ล

ระบบการบรหิ ารจัดการคลังสินคา้ ร้านตาหงอก

นางสาวภทั ราภรณ์ นามรติ นางสาวยลดา ศรแี ก้ว นางสาวสิริภา ชังบัว

เสนอ

ครูจริ วรรณ มะลาไสย

รายงานเล่มน้เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชงิ วตั ถุ รหสั วิชา 30204-2003 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั ระดับชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพข้ันสูง (ปวส.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยเทคนิคจันทบุรี

ระบบการบรหิ ารจัดการคลังสินคา้ ร้านตาหงอก

นางสาวภทั ราภรณ์ นามรติ นางสาวยลดา ศรแี ก้ว นางสาวสิริภา ชังบัว

เสนอ

ครูจริ วรรณ มะลาไสย

รายงานเล่มน้เี ปน็ สว่ นหน่งึ ของวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชงิ วตั ถุ รหสั วิชา 30204-2003 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ลั ระดับชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพข้ันสูง (ปวส.) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยเทคนิคจันทบุรี

คำนำ

รายงานครั้งนจ้ี ดั ทำข้ึนเพ่ือประกอบการเรยี นในรายวิชาการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวชิ า 30204-2003 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) อาชีวศึกษา โดยจดั ทำขึ้นเพือ่ ศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบการบริหารจัดการคลังสินค้า ร้านตาหงอก และเป็นการศึกษาเรียนรู้โดยตัว ผเู้ รียน ศกึ ษาและปฏบิ ัติโดยใช้ทักษะและสมรรถนะตามรายวชิ า

คณะผู้จัดทำได้ทำรายงานผลการวิจัย ได้ทำการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและนำมาวเิ คราะห์ ออกแบบระบบ คณะผู้จัดทำหวงั ว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ทีอ่ ่านหรือผู้ทส่ี นใจและกำลังศึกษา เรื่องนี้อยู่ หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ผู้วจิ ัยขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ท่นี ดี้ ้วย

คณะผจู้ ดั ทำ

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข สารบญั ค สารบญั (ตอ่ ) ง สารบญั ตาราง จ สารบญั รูปภาพ ฉ สารบญั รปู ภาพ (ตอ่ ) 1 บทท่ี 1 บทนำ 1 1 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 2 1.3 เปา้ หมาย 2 1.4 การติดตามผลและการประเมนิ 2 1.5 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ 3 1.6 ระยะเวลาที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 3 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 7 2.1 ระบบ (System) 11 2.2 ประเภทของระบบ 13 2.3 ความสำคญั ของการวเิ คราะหแ์ ละการออกแบบระบบ 19 2.4 ผงั งาน (Flowchart) 25 2.5 DFD 29 2.6 ER-Model 33 2.7 ระบบฐานข้อมูล (Database System) 33 บทท่ี 3 วิธีดำเนินงาน 33 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู 36 3.2 วเิ คราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 37 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสมั พนั ธ์โดยใช้ Microsoft Access 40 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 40 45 4.1 การออกแบบระบบการบริหารจดั การคลงั สินค้า ร้านตาหงอก 49 4.2 การจัดเกบ็ Data Base 49 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิเคราะห์ ออกแบบระบบและข้อเสนอแนะ 49 5.1 วตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 49 5.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 49 5.3 สรุปผลการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 50 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 51 บรรณานกุ รม 52 ภาคผนวก ก 53 Context Diagram Level 0 ระบบการบรหิ ารจดั การคลงั สินค้า ร้านตาหงอก 54 ภาคผนวก ข 55 Data Flow Diagram Level 1 ระบบการบริหารจดั การคลังสินค้า รา้ นตาหงอก 56 ภาคผนวก ค 58 ER-Model ระบบการบรหิ ารจดั การคลงั สนิ ค้า ร้านตาหงอก 59 ภาคผนวก ง 60 Entity Relationship Diagram ระบบการบรหิ ารจดั การคลังสนิ คา้ รา้ นตาหงอก 61 ภาคผนวก จ 62 คำถาม 9 ขอ้ 63 คำถาม 15 ข้อ สรปุ บทสัมภาษณ์

สารบัญตาราง หนา้ 2 ตารางที่ 13 1.1 ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 14 2.1 สัญลักษณ์ของผังงาน 15 2.2 สญั ลักษณ์ของผงั งาน (ต่อ) 16 2.3 สญั ลักษณ์ของผงั งาน (ต่อ) 20 2.4 สัญลกั ษณข์ องผังงาน (ต่อ) 2.5 สัญลักษณต์ ่าง ๆ ที่ใชใ้ นการเขยี นแผนภาพการไหลของข้อมลู

สารบัญรปู ภาพ หน้า 17 ภาพท่ี 17 2.1 ภาพผงั งานระบบ 21 2.2 ภาพแสดงตวั อยา่ งการกำหนดจุดเร่มิ ตน้ และสิน้ สดุ ของการเขยี นผังงาน 22 2.3 ภาพตัวอยา่ งการใช้สญั ลักษณ์การประมวลผล (Process) 22 2.4 ภาพตวั อยา่ งการใช้สญั ลักษณ์กระแสข้อมูล (Data Flow) 23 2.5 ตวั อย่างการใชส้ ัญลกั ษณ์กระแสข้อมูล (Data Flow) 24 2.6 ภาพตัวอยา่ งการใช้สญั ลักษณ์แหล่งที่เก็บขอ้ มูล (Data Store) 24 2.7 ตัวอย่างการใชส้ ัญลกั ษณ์แหลง่ ที่เกบ็ ข้อมูล (Data Store) 25 2.8 ภาพตัวอยา่ งการใช้สัญลักษณส์ ง่ิ ท่ีอย่ภู ายนอก (External Entities) 26 2.9 ภาพแสดงสญั ลักษณใ์ น ER-Model แบบ Chen 27 2.10 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ต่อ) 28 2.11 ภาพแสดงสญั ลักษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ ) 29 2.12 ภาพแสดงสญั ลักษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot 34 2.13 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot (ต่อ) 35 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบจดั การคลังสนิ ค้า รา้ นตาหงอก 36 3.2 ภาพวิเคราะห์ Data Flow Diagram Level 1 ระบบจัดการคลงั สนิ คา้ ร้านตาหงอก 37 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL ระบบจัดการคลงั สนิ ค้า ร้านตาหงอก 37 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL ระบบจดั การคลังสินคา้ รา้ นตาหงอก 38 3.5 การออกแบบตารางข้อมูลระบบจดั การคลังสนิ คา้ รา้ นตาหงอก 38 3.6 ออกแบบตารางข้อมลู Order 38 3.7 ออกแบบตารางข้อมูล OrderDetail 3.8 ออกแบบตารางข้อมูล Product

สารบัญรปู ภาพ (ตอ่ ) หนา้ 38 ภาพที่ 39 3.9 ออกแบบตารางข้อมลู ProductDetail 39 3.10 ออกแบบตารางข้อมูล UserAcc 39 3.11 ออกแบบตารางข้อมูล UserDetail 40 3.13 การสร้างความสัมพนั ธห์ รือ Entity Relationship Diagram 41 4.1 หนา้ จอ Login 42 4.2 หนา้ จอ Menu 43 4.3 หน้าจอ จัดการสินค้า 44 4.4 หนา้ จอ ค้นหาสินค้า 45 4.5 หน้าจอ สนิ ค้าคงเหลือ 45 4.6 หน้าจอ ออกรายงาน 45 4.7 แสดงข้อมลู การขายสินค้า 46 4.8 แสดงข้อมลู การขายสินค้า (ตอ่ ) 46 4.9 แสดงขอ้ มลู รายละเอียดการขาย 46 4.10 แสดงข้อมูลรายละเอียดการขาย (ต่อ) 47 4.11 แสดงข้อมลู สนิ คา้ 47 4.12 แสดงข้อมูลสินค้า (ต่อ) 47 4.13 แสดงข้อมลู ประเภทสินคา้ 48 4.14 แสดงข้อมูลประเภทสนิ ค้า (ตอ่ ) 48 4.15 แสดงข้อมลู ผใู้ ช้งาน 48 4.16 แสดงข้อมลู ผู้ใชง้ าน (ต่อ) 48 4.17 แสดงข้อมลู รายละเอียดผใู้ ช้งาน 4.18 แสดงข้อมูลรายละเอียดผู้ใชง้ าน (ตอ่ )

บทที่ 1

บทนำ

1.1 หลักการและเหตผุ ล ในปัจจุบนั การเปดิ รา้ นขายของชำน้ันเปน็ อาชีพท่ีถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจ่ายสนิ ค้าประเภทต่าง ๆ

ใหแ้ ก่ผบู้ ริโภคในพื้นที่ ซ่งึ สว่ นใหญน่ ิยมจบั จ่ายใช้สอยเคร่ืองอุปโภคและบรโิ ภคจากร้านขายของชำภายใน หมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่าง ๆ ซึ่งร้านขายของชำโดยทั่วไปเน้นความสะดวก และรวดเร็วในการบริการ ทำให้ธุรกิจประเภทร้านขายของชำมักจะมีการแข่งขันที่แตกต่างไปในแต่ละ พ้ืนที่ ถ้าเปน็ ชมุ ชนขนาดใหญ่จะมีการแข่งขนั ที่สงู ท้งั นี้ขนึ้ อยกู่ ับจำนวนครัวเรอื นในบริเวณรอบ ๆ ร้านขาย ของชำอีกด้วย ร้านขายของชำส่วนใหญ่นั้นมีความเป็นกันเอง สนิทสนมกับลูกคา้ เพื่อสร้างความสัมพันธท์ ่ี ดีเพ่อื ให้ลกู ค้าเกิดความสนใจท่ีจะมาซ้ือของทีร่ ้านคา้ มากยง่ิ ขนึ้

เนื่องจากรา้ นขายของชำ ร้านตาหงอก เปน็ การขายสินค้าอยใู่ นรปู แบบธุรกิจที่เป็นกิจการเจ้าของ คนเดียวซึ่งทำให้ในการดำเนินการขายสินค้าไม่มีการบันทึกข้อมูลใด ๆ ทั้งสิ้น เป็นการซื้อขายที่ไม่เป็น อัตโนมัติ อาทิ การบันทึกการรับสินค้าที่ส่งเข้าร้าน การบันทึกสินค้าที่จำหน่ายออกจากร้าน การบันทึก สินค้าคงเหลือ ทำให้การค้นหาข้อมูลเกิดความล่าช้าเพราะไม่มีการบันทึกรายละเอียดต่า ง ๆ ไว้ จึง ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาระหว่างผใู้ ช้บริการและพนกั งาน

ดังนัน้ คณะผจู้ ัดทำได้มีแนวคิดในการทำระบบการบริหารจัดการคลงั สินค้า รา้ นตาหงอก น้ขี ้ึนมา เพื่อประยุกต์ให้ร้านขายของชำ ร้านตาหงอก มีระบบที่มีประสิทธิภาพ โดยมีเทคโนโลยีต่าง ๆ และมีการ วเิ คราะห์ในสว่ นของระบบภายในและภายนอกใหอ้ อกมาอย่างเปน็ ระบบ

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.2.1 เพ่ือวเิ คราะห์และออกแบบระบบการบริหารจดั การคลงั สินคา้ ร้านตาหงอก 1.2.2 เพอ่ื ศกึ ษาและสำรวจระบบการบรหิ ารจัดการคลังสินคา้ ร้านตาหงอก 1.2.3 เพอ่ื เรียนรูแ้ ละเก็บประสบการณ์จากการทำธรุ กิจของผูป้ ระกอบการ

1.3 เป้าหมาย 1.3.1 สามารถนำระบบทีว่ เิ คราะหแ์ ละออกแบบมาใช้งานได้จริง 1.3.2 เรียนร้กู ารทำงานธรุ กิจกบั ผู้ประกอบการเพ่ือนำไปใชใ้ นอนาคต

2

1.4 การติดตามผลและการประเมนิ 1.4.1 การสำรวจและตดิ ตามผลระบบในทกุ ๆ ครง้ั 1.4.2 รายงานสรุปผลการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ

1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1.5.1 ไดร้ ะบบสารสนเทศท่ีมลี กั ษณะของสารสนเทศทด่ี ีครบถ้วน 1.5.2 ลดความซ้ำซอ้ นของขอ้ มูล การคน้ หาข้อมลู ให้มีความสะดวกรวดเรว็ ข้ึน 1.5.3 สามารถนำความรูเ้ ก่ยี วกบั การวเิ คราะห์และออกแบบระบบนำไปปรบั ใชใ้ นอนาคตได้

1.6 ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ ตารางในการวเิ คราะห์และออกแบบระบบคร้งั นใี้ ช้ระยะเวลา ตง้ั แต่เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ถงึ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2565 ดงั ตารางที่ 1.1 ตารางท่ี 1.1 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ

ข้นั ตอนใน สปั ดาหท์ ี่

การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 ระบบ

1. กำหนดรปู แบบรา้ นท่ีจะ

วิเคราะห์

2. เสนอกับอาจารย์ที่ปรึกษา

ประจำวชิ า

3. ศกึ ษารายละเอียดข้อมลู

4. ออกแบบระบบ

5. ดำเนนิ การทำระบบ

6. นำเสนอระบบ

7. ประเมินผลและสรุปผล

8. จดั ทำเอกสารรายงาน

บทท่ี 2

แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ ง

คณะผู้จัดทำ ได้ทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบการบริหารจัดการคลังสินค้า ร้านตาหงอก โดยคณะผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูล ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ระบบการบริหารจัดการ คลังสนิ คา้ ร้านตาหงอก ออกมาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยศึกษาหลักการและทฤษฎี ดงั หวั ขอ้ ตอ่ ไปนี้

2.1 ระบบ (System) 2.2 ประเภทของระบบ 2.3 ความสำคัญของการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ 2.4 ผังงาน (Flowchart) 2.5 DFD 2.6 ER-Model 2.7 ระบบฐานข้อมลู (Database System) 2.1 ระบบ (System) ระบบ (System) เป็นกลุ่มขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่ีทำงานรว่ มกนั เพื่อจุดประสงค์ในส่งิ เดียวกัน ระบบอาจประกอบด้วยบุคลากร เครื่องมือ วัสดุ วิธีการ การจัดการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีระบบในการ จัดการเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์เดียวกัน คำว่า "ระบบ" เป็นคำที่มีการเกี่ยวข้องกับการทำงานและ หน่วยงานและนิยมใช้กันมาก เช่น ระบบธุรกิจ (Business System) ระบบสารสนเทศ (Management Information System) ระบบการเรียนการสอน (Instructional System) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network System) เป็นตน้ ได้มีผู้ที่ให้ความหมายและคำอธิบาย ของคำว่า “ระบบ” ไว้หลายท่านด้วยกัน เช่น บานาธี (Banathy. 1968) ให้ความหมายของระบบว่าเป็นการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายที่มนุษย์ได้ออกแบบ และคดิ สรา้ งสรรคข์ ้ึนมา เพือ่ จดั ดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ลตามเป้าหมายทว่ี างไว้ กูด (Good. 1973) ให้ความหมายของระบบว่า หมายถึง การจัดการส่วนต่าง ๆ ทุกส่วนให้เป็น ระเบียบโดยแสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของส่วนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของแต่ละส่วนกับส่วน ทงั้ หมดอยา่ งชดั เจน

4

เซมพรีวิโว (Semprevivo. 1976) อธิบายว่า ระบบ คือ องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำงานเกี่ยวโยง สัมพนั ธก์ ันเพอ่ื ให้เกดิ ผลอย่างใดอย่างหนงึ่ กล่าวได้วา่ ระบบคือ การปฏิสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบท้ังหลาย ในการปฏบิ ัตหิ น้าท่แี ละการดำเนินงาน

ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า ระบบ หมายถึง การทำงานร่วมกันของส่วนประกอบแต่ละส่วนอย่างมี ความสมั พันธ์กนั อย่างต่อเน่อื งเพื่อนำไปส่คู วามสำเร็จตามเปา้ หมายทไ่ี ดว้ างไว้

2.1.1 ลกั ษณะของระบบ ระบบมลี กั ษณะท่ีควรร้แู ละศกึ ษาดังนี้

2.1.1.1 ระบบ หมายถึง การรวมของสิ่งยอ่ ย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่หนึ่งส่วนข้ึนไปเป็น หน่วยเดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบดว้ ย กระทรวง ทบวง กรมและกองต่าง ๆ เปน็ ตน้ หรือระบบสุริยะจกั รวาล (Solar System)

2.1.1.2 การทำงานของหน่วยงานย่อยตา่ ง ๆ ของระบบ จะตอ้ งมคี วามสัมพันธ์เก่ียวข้อง ประสานกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ในองค์กรหนึ่งอาจแบ่ง ออกเป็นหลายฝ่าย หรือหลายแผนก โดยแต่ละฝ่ายหรือแต่ละแผนกจะมีหน้าที่ในการทำงานร่วมประสาน เพอื่ นวัตถปุ ระสงค์เดยี วกัน

2.1.1.3 ระบบอาจถูกจำแนกแยกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท ทั้งน้ี สุดแต่ใครเป็นผู้จำแนก และผู้ที่ทำการจำแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็น ระบบเปดิ หรือระบบปิด ระบบเครื่องจกั ร หรือระบบกงึ่ เครอื่ งจกั ร เปน็ ต้น

2.1.2 องค์ประกอบของระบบ การที่จะกล่าวหรืออธิบายถึงองค์ประกอบของระบบว่าประกอบด้วยอะไรบ้างนั้นขึ้นอยูก่ ับความ คิดเหน็ ของผทู้ เี่ ก่ียวข้องกบั ระบบ ซึง่ จะไมเ่ หมอื นกัน แตโ่ ดยท้งั ๆ ไปแล้วมักจะแบง่ องค์ประกอบออกเป็น 2 องค์ประกอบใหญ่ ๆ คอื

2 . 1 . 2 . 1 อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ 6 M ค ื อ Man, Money, Material, Machine, Management, และ Morale ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

  1. Man หมายถึง บุคลากร คือ ผู้ที่จะต้องเก่ียวข้องกับระบบงาน หรือหมายถึง คนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่าง ๆ ซึ่งจะมีทั้งผู้บริหาร ระดับสูง ระดบั กลาง และระดับปฏบิ ตั งิ าน และอาจประกอบดว้ ยนักวชิ าการในระดับตา่ ง ๆ แต่จะนับรวม ลูกค้าหรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสำคัญไม่น้อยของระบบด้วยหรือไม่ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการ ทางด้านบริหารระบบจะตดั สนิ ใจ

5

  1. Money หมายถงึ เงนิ หรือทรัพย์สนิ ที่มคี ่าเป็นเงินของระบบ ซ่งึ นบั เป็นหัวใจ ที่สำคัญอย่างหนึ่งของระบบ เช่น เงินทุน เงินสด เงินหมุนเวียน เงินคาใช้จ่าย หรือ เงินรายรับ รายจ่ายต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นต้น ถ้าการเงินของระบบไม่ดีพอแล้ว ระบบนั้นย่อมจะประสบกับความยุ่งยาก หรืออาจถึงแก่การหายนะได้ เพราะฉะนั้น ระบบธุรกิจทุกชนิดจะต้องมีความระมัดระวังในเรื่องของ การเงนิ เปน็ พิเศษ
  1. Material หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีก องค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้มี 2 ประการใหญ่ ๆ

(1) ประการแรก เปน็ การขาดแคลนวสั ดุ เชน่ การขาดวัตถดุ ิบสำหับใช้ ในการผลิตสินค้าของโรงงานอตุ สาหกรรม เม่อื ขาดวัตถุดบิ ท่ใี ช้ในการผลิต กจ็ ะทำใหไ้ ม่มสี นิ คา้ สำหรับขาย ผลก็คือการขาดทนุ

(2) ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินความต้องการ เช่น มี สินค้าที่จำหน่ายหรือขายไม่ออกมากเกินไป ทำให้เงินทุนไปจมอยู่กับวัตถุดิบทำให้เกิดการขาดทุน เช่นเดยี วกันนัน้ เอง

  1. Machine หมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงาน หรือในสำนักงาน ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสำคัญประการหนึ่งเหมือนกนั ปญั หาที่ทำใหไ้ ด้กำไรหรอื ขาดทนุ มากทส่ี ุดของธุรกิจมักเกดิ จากเครื่องจักรและอุปกรณ์การทำงานเป็นส่วน ใหญ่ เช่น เครือ่ งมีกำลงั ผลติ ไม่พอ เครื่องเกา่ หรือเป็นเครอื่ งทลี่ า่ สมัยทำใหต้ อ้ งเสยี ค่าซอ่ มบำรงุ สูง มกี ำลัง ผลติ นอ้ ยประสิทธิภาพ ในการทำงานต่ำ แต่ค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมบำรุงหรือค่าทำงานท่ีล่าช้า ทำงานไม่ทัน กำหนดเวลาท่ีกำหนดไว้ ทำให้เกดิ ความเสยี หายและขาดรายไดห้ รือขาดทุน เปน็ ตน้
  1. Management หมายถึง การบรหิ ารระบบ ซ่ึงเป็นอกี เร่ืองหนึ่งที่ทำให้ระบบ เกดิ ปัญหา เพราะการบรหิ ารท่ีไมด่ ีหรือการบรหิ ารที่ไม่ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ของสภาวะแวดลอ้ มหรือไม่ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตอ่ สังคม เศรษฐกิจและการเมือง ที่เรียกกันว่า ไม่เป็นไปตามโลกานุวัตร หรือการ ได้ผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมาบริหารงาน ซึ่งส่วนมากมักเกิดขึ้นในระบบราชการ สำหรับระบบทาง ธุรกิจของเอกชนจะถือว่า การบริหารงานเป็นเรื่องท่ีสำคัญท่ีสุดเพราะถ้าการบรหิ ารไม่ดีแล้วธุรกิจนั้นก็ไม่ สามารถทจ่ี ะอยไู่ ด้ กิจการต้องลม้ เลิกไปในท่สี ดุ

6

  1. Morale หมายถงึ ขวญั และกำลังใจของบุคคลในระบบ หรอื หมายถึง คา่ นยิ ม ของคนที่มีต่อระบบหรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยมของคนในระบบที่มีขวัญและกำลังใจในการ ปฏิบตั ิงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเปน็ คา่ นิยมของผู้บรโิ ภคหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องเพ่ือสนับสนุน ให้ระบบอยู่รอด และกระตุ้นจูงใจด้วยวิธีต่าง ๆ ก็มีจุดมุ่งหมายในสิ่งนี้ระบบที่ขาดค่านิยมหรือขาดความ เชื่อม่ันของบคุ คล ระบบนน้ั ก็มักจะอยตู่ อ่ ไปไม่ได้ จะต้องประสบกับความลม้ เหลวในทสี่ ุด

2.1.2.2 องค์ประกอบแบบ 4 ส่วน ซึ่ง 4 ส่วนนี้ ประกอบไปด้วย Input, Processing, Output และ Feedback

  1. Input หมายถงึ ขอ้ มลู หรือระบบข้อมูลที่ใชเ้ ข้าสู่ระบบ เพื่อประโยชน์ในการ นำไปใช้ในสารสนเทศเพื่อการบริหาร หรือเพื่อการตัดสินใจ ข้อมูลดังกล่าวมีอยู่ในหลายลักษณะด้วยกัน เชน่ ใบเสรจ็ รับเงิน ใบสง่ั ซ้อื สนิ ค้า เปน็ ตน้
  1. Processing หมายถงึ ขน้ั ตอนการปฏิบัตงิ าน ซ่ึงอาจจะแบ่งได้เป็น (1) การปฏบิ ัตงิ านตามขั้นตอนต่าง ๆ ตามทก่ี ำหนดไว้ (2) การควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน (3) การตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน (4) การรวบรวมขอ้ มูล (5) การตรวจสอบขอ้ มลู (6) การ Update ข้อมูล (7) การประมวลผลข้อมลู เพ่อื ให้ได้ Output
  1. Output หมายถงึ ผลการปฏบิ ัตงิ านตา่ งๆ ซ่ึงอาจแบง่ ได้เปน็ (1) ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการปฏิบัติงาน (2) ข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการประมวลผลขอ้ มลู (3) ใบรายงานตา่ ง ๆ จากการปฏิบตั ิงาน (4) ใบบันทึกการปฏบิ ัตงิ าน (5) การทำทะเบยี นและบัญชีต่าง ๆ เปน็ ต้น
  1. Feedback หมายถึง ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่ได้รับจากการ ปฏิบตั งิ าน เช่น ความนยิ มในผลงานทีไ่ ด้ปฏบิ ัติ ความเจริญหรอื ความเสอื่ มของธุรกจิ เปน็ ตน้

7

2.1.3 กระบวนการ (Procedure) กระบวนการ คอื การแสดงถึงการทำงานแตล่ ะขน้ั ตอน ซึง่ อธิบายให้เห็นถงึ 2.1.3.1 ส่งิ ทถี่ ูกกระทำ (What) 2.1.3.2 จะทำเม่ือไร (When) 2.1.3.3 ใครเปน็ คนทำ (Who) 2.1.3.4 จะทำอย่างไร (How)

ซึ่งในการที่จะทำการศึกษาระบบใด ก็ตามจะต้องทำความเข้าใจการทำงานของระบบนั้น ๆ ให้ดีก่อนโดย การอาศยั คำถามขา้ งตน้ 4 ข้อ มาถามตนเองอยูต่ ลอดเวลา

2.2 ประเภทของระบบ ระบบยังสามารถทจี่ ะแบ่งแยกออกไดห้ ลายลกั ษณะดว้ ยกัน ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับลักษณะความต้องกำร

ของผใู้ ช้ระบบวา่ ต้องการแบ่งระบบออกมำในลักษณะใด การแบ่งประเภทของระบบแบ่งได้เปน็ 2.2.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) และระบบทคี่ นสร้างข้นึ (Manmade System) 2.2.1.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) หมายถึง ระบบทีเ่ ป็นไปตามธรรมชาติหรือ

ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยการอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ระบบไฟฟ้าน้ำตกระบบ การค้าขายของเอกชนที่เป็นไปโดยธรรมชาติต่างคนต่างทำซึง่ ไม่มีการจัดระบบหรือระเบียนอย่างใดอย่าง หน่ึงไว้

2.2.1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System) หมายถึง ระบบที่มีการสร้างขึ้นซ่ึง อาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติเดิมหรืออาจจะไม่ได้อาศัยธรรมชาติเดิมก็ได้ เช่น เป็นระบบธุรกิจ เพื่อจุดประสงค์ด้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบการพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่น ๆ อีก มากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้นแต่ละระบบมีจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ระบบธุรกิจ อาจจะแบ่งเปน็ ย่อย ๆ ลงไปไดอ้ กี

2.2.2 ระบบปิด (Close System) และระบบเปดิ (Open System) 2.2.2.1 ระบบปิด (Close system) คือระบบที่ไม่ต้องสนองต่อสิ่งแวดล้อมที่

เปลี่ยนแปลงไป หรือเป็นระบบที่มีความสมบรู ณภ์ ายในตัวเอง ไม่พยายามผูกพันกับระบบอื่นใด และแยก ตนเองออกจากสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ในสังคม

2.2.2.2 ระบบเปิด (Open system) คือ ระบบที่ต้องอาศัยการติดต่อสัมพันธ์กับบุคคล องค์การ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ในลักษณะเป็นการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ซ่ึงกันและกัน ถือเป็นการ

8

ทำงานขององค์กรที่มีปฏิกริ ิยาตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม มีการแลกเปลย่ี นขา่ วสารขอ้ มูลกบั สงิ่ แวดล้อม ภายนอก

2.2.3 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) ระบบเครื่องจักร (Machine System) และระบบคน – เคร่ืองจักร (Man-Machine System)

2.2.3.1 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) หมายถึง ระบบที่การ ปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน หรือระบบที่ใช้แรงงานคนในการทำงานโดยตรงอาจจะมีเครื่องจักร ช่วยในการทำงานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักร ที่มีอยู่ภายใต้การควบคุมของคนโดยตรง เช่น ระบบ การประมวลผลด้วยมือ ระบบการลงบัญชีหรือทะเบียนโดยใช้คนเป็นผู้ทำ ได้แก่ การรับส่งหนังสือ การ พิมพ์หนังสือ การลงทะเบียน ระบบการควบคุมการจราจรโดยใช้เจ้าหน้าที่ไปทำการโบกรถที่ถนน การ ทำงานอุตสาหกรรมในครวั เรอื นโดยใช้คนทำการตดั เยบ็ เส้ือผ้าด้วยมือ เปน็ ตน้

2.2.3.2 ระบบเคร่ืองจักร (Machine System) หมายถงึ ระบบการทำงานท่ใี ช้เครื่องจักร โดยตรง คือ เครอ่ื งจกั รจะเป็นผู้ทำงานให้ ซ่ึงอาจจะใชค้ นบ้างเพือ่ ควบคุมให้เครื่องจักรทำงานไปได้เท่านั้น เชน่ การฝากถอนเงนิ โดยเครื่อง ATM การทอผา้ ด้วยเครอ่ื งทอผ้า การพมิ พ์หนังสือของโรงพมิ พ์ การบรรจุ ขวดของนำ้ อดั ลม ยา หรืออาหารกระปอ๋ ง การบรรจหุ ีบห่อที่ทำโดยตรงด้วยเครื่องจักร เปน็ ตน้

2.2.4 ระบบธุรกจิ (Business System) และระบบสารสนเทศ (Information System) 2.2.4.1 ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึง ระบบที่ทำงานเพื่อจุดประสงค์ด้าน

ธรุ กิจ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นระบบธรุ กิจเพอ่ื จดุ ประสงค์ดา้ นการผลติ ระบบขนสง่ ระบบโรงแรม ระบบ การพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่น ๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้นแต่ละระบบมี จุดประสงคแ์ ตกตา่ งกนั ออกไป ระบบธรุ กจิ อาจจะแบ่งเป็นยอ่ ย ๆ ลงไปได้อีก

2.2.4.2 ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลท่ตี อ้ งการใช้ในระบบธรุ กิจ ช่วยเก็บตวั เลขและขา่ วสารเพ่ือชว่ ยในการดำเนินธุรกิจและการตัดสินใจ เช่น ระบบการเก็บข้อมูลลูกค้า อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ สินค้าที่ซื้อขาย การจ่ายเงิน ของลู กค้าเป็นอย่างไร มีการติดหนี้หรือหนี้สูญหรือไม่อย่างไร ซึ่งระบบสารสนเทศนี้อาจจะใช้หรือไม่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ การมี แผนขอ้ มูลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพเปน็ กุญแจสำคญั ที่นำไปส่คู วามสำเร็จในด้านธรุ กิจอยา่ งมาก

2.2.5 ระบบงานประมวลผลข้อมูล (Data – Processing System) หมายถึง ระบบข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจเพื่อใช้ประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เปน็ ประจำ เชน่ การประมวลผลเงินเดือน สนิ ค้าคงคลัง เปน็ ต้น ระบบงานประมวลผลข้อมูลจะเป็นระบบ ที่ช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงานลง โดยอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์มาทดแทนการประมวลผล ข้อมลู ดว้ ยคน

9

2.2.6 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System) หมายถึง ระบบ ที่นำข้อมูลมาทำงานวิเคราะห์ โดยมจี ดุ ประสงค์เพ่ือสรา้ งข้อมลู ให้กับนักบริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจ หรอื เรยี กระบบน้ีว่า MIS ระบบน้ีเปน็ ระบบงานข้อมลู คอมพิวเตอร์ (Information System) แบบหน่ึง ซ่ึง ตอ้ งการปจั จัย 3 ประการ คอื

2.2.6.1 คน (People) 2.2.6.2 ฮารด์ แวร์ (Hardware) 2.2.6.3 ซอฟตแ์ วร์ (Software) 2.2.7 ระบบช่วยการตัดสินใจ (Decision Support System) หมายถึง ระบบการทำงานที่จะมี ลกั ษณะโครงสร้างการทำงานคลา้ ยกับระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ าร (MIS) จะแตกต่างกันตรงที่ ระบบ นี้ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ พรอ้ มกับพจิ ารณาถงึ ทางเลือกทเี่ ป็นไปได้ทัง้ หมดของธรุ กจิ และรายงานผลให้นักบรหิ ารทราบว่าทางเลือก ไหนที่ระบบเห็นว่าดีที่สุด และทางเลือกไหนที่แย่ที่สุดลดหลั่นกันไปตามลำดับ ถึงแม้ว่าระบบนี้จะทำการ เสนอทางเลือกต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ แต่สุดท้ายแล้วการตัดสินใจเลือกขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหาร ระบบนี้เรยี กอีกอย่างว่า DSS 2.2.8 ระดับของผ้ใู ชร้ ะบบ เมื่อมีระบบเกิดขึ้นมาแล้วก็ย่อมต้องมีผู้ใช้ระบบเกิดตามขึ้นมาด้วย ผู้ใช้ระบบในที่นี้ หมายถึง บุคคลที่เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์กับระบบ ประเภทของผู้ใช้ระบบสามารถแบ่ง ออกตามขอบเขตหนา้ ท่แี ละความรับผิดชอบอย่างกวา้ ง ๆ เปน็ 4 กลุ่ม คอื 2.2.8.1 เสมียนพนักงานและผู้ให้บริการ (Clerical and Service Staff) หมายถึง พนักงานที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมหรือจัดทำข้อมูลในลักษณะที่ใช้ประจำวัน (Day – to – Day Information) ในธุรกจิ หรือในหน่วยงานท่ีสังกดั อยู่ เชน่ การพจิ ารณาข้อมลู การให้สนิ เชื่อสำหรับลูกค้าแต่ ละราย การบันทึกและตัดสต๊อก หรือการพิมพ์จดหมายโต้ตอบ จะเห็นได้ว่าพนักงานกลุ่มนี้มักจะเป็น พนักงานที่เกีย่ วข้องโดยตรงกับข้อมูลที่เป็นข้อมูลพื้นฐานที่จะนำไปสู่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหาร ตอ่ ไป 2.2.8.2 หัวหน้าหน่วยหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ (Supervisory Staff) หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าท่ี ควบคุมกิจกรรมที่เกิดขึ้นประจำวันของธุรกิจ หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ บุคคลกลุ่มนี้จะทำหน้าที่ ควบคุมการปฏิบัติงานในกลุ่มของพนักงานเสมียนและผู้ให้บริหาร (กลุ่มที่ 1) อีกที่หนึ่ง เช่น หัวหน้ารับ ใบส่งั ซื้ออาจจะตอ้ งการรายงานสรปุ ประจำวนั เกีย่ วกบั การรับใบสั่งซ้ือทง้ั หมดเพื่อจะดสู ถานการณ์รวมของ

10

การขายประจำวัน หรือหัวหน้าหน่วยผลติ ต้องการรายงานสรุปวา่ ยอดผลติ ประจำวนั ของแตล่ ะผลิตภัณฑ์มี จำนวนเทา่ ไร เปน็ ตน้

2.2.8.3 ผจู้ ดั การหรอื ผู้บริหารระดบั กลาง (Middle Management and Professional) หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับแผนงานธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นแผนงานระยะสั้น ทำหน้าที่คอย ควบคุมและจัดการให้การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานที่มีเป็นไปตามแผนงานระยะสั้นที่ได้วางไว้ โดยไม่ต้อง มุ่งความสนใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นประจำวนั แตม่ ุ่งสนใจที่งานหรือกิจกรรมที่เกดิ เป็นระยะเวลาต่อเนื่องกันนานกว่านั้น เช่น ระยะเวลา 1 เดือน หรือ 3 เดือน (ไตรมาส) และยังทำหน้าที่ เป็นผู้รวบรวมและกลั่นกรองข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงต่อไป ซึ่งจะทำให้ผู้บริหาร ระดับสูงมีเวลาคิดงานทางด้านนโยบาย (Policy) และแผนงานระยะยาว (Long Term Plan) ได้มากขึ้น อกี ดว้ ย

2.2.8.4 ผู้อำนวยการหรือผู้บริหารระดับสูง (Executive Management) หมายถึง บคุ คลทีร่ ับผิดชอบต่อการวางแผนงานระยะยาวและการกำหนดนโยบาย เพ่อื ให้ธุรกจิ น้นั ดำเนนิ ไปได้อย่าง มีเป้าหมาย เป็นบุคคลที่มองธุรกิจไปข้างหน้าเสมอ โดยปกติมักจะเป็นแผนงานระยะยาวกว่าแผนของ ผู้บริหารระดับกลางเป็นแผน ตั้งแต่ 1 ปีหรือมากกว่านั้น โดยจะนำข้อมลู ในอดีตมาใช้เป็นแนวทางในการ พิจารณาถึงแนวโน้มต่าง ๆ เพื่อกำหนดแผนงานระยะยาวและนโยบายของธุรกิจต่อไปหน้าที่อีกประการ คือ เป็นผู้ที่คอยควบคุมและจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ที่จำเป็นในการดำเนินกิจการของธุรกิจ เช่น เงินทุน แรงงาน เคร่อื งจักร ทีด่ ิน หรอื อาคารต่าง ๆ เปน็ ต้น ซ่ึงจะตอ้ งคำนึงถึงภาพรวมของธุรกิจท้ังหมด ไม่เพียง จุดใดจุดหนึ่งในธุรกิจเท่านั้น ฉะนั้นผู้บริหารระดับสูงจึงต้องการข้อมูลซึ่งผ่านการกลั่นกรองมาแล้วเป็น อยา่ งดี เพ่อื สามารถนำไปใชใ้ นการตดั สินใจและวางแผนหรือนโยบาลตอ่ ไปได้

2.3 ความสำคัญของการวิเคราะหแ์ ละการออกแบบระบบ นอกจากจะรู้จักกับคำว่าระบบแล้ว จะต้องรู้จักกับคำอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และ

ออกแบบระบบ เพื่อที่จะได้มีความเข้าใจทีต่ รงกนั ไม่เกิดความเขา้ ใจผิดหรือเกดิ การสบั สนในการศึกษาใน เรอื่ งการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ

ความหมายของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งการใหค้ วามหมายออกเป็น 2 ส่วน ด้วยกัน คอื

2.3.1 การวเิ คราะห์ระบบงาน คำวา่ วเิ คราะหม์ าจากคำว่า พิเคราะห์ ซ่งึ เป็นการเปล่ียน พ เปน็ ว ในภาษาไทยซ่ึงแปล

ความหมายได้ว่า การพินิจพิเคราะห์ การพิจารณา การใคร่ครวญ การไต่สวนความหรือเรื่องราว ส่วนใน

11

ภาษาอังกฤษก็ได้ให้ความหมายใกล้เคียงกันคือ Determine, Examine และ Investigate ซึ่งคำว่า วิเคราะห์นี้สามารถนำไปใช้กับวิชาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง การวิเคราะห์เชิง คุณภาพ การวเิ คราะหเ์ ชิงปรมิ าณ การวิเคราะหป์ ัญหา เป็นต้น

คำว่า “วิเคราะห์” ที่ใช้กับการวิเคราะห์ระบบนั้น ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซ่ึงแปลวา่ การแยกส่งิ ท่ีประกอบกันออกเป็นส่วน ๆ เช่น การแยกระบบใหญ่ออกเปน็ สว่ นย่อย ๆ คือ เป็น การแยกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ จามความหมายของคำว่า วิเคราะห์ดังกล่าวนี้ จะเห็นว่า การวิเคราะห์ระบบงานไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยากหรือเรื่องที่สลับซับซ้อนแต่ ประการใด

การพิจารณาใคร่ครวญในปัญหาต่าง ๆ ของคนเรานั้น มีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ด้วยกัน 2 วิธี คอื

2.3.1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เป็นวิธีที่คนส่วนมากใช้กันเป็นปกติ ธรรมดาโดยอาศัยประสบการณ์และสามัญสำนึกของแต่ละบุคคลเป็นหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ อาจจะสามารถพิจารณาตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วไม่แพ้นักวิชาการทางด้าน วิเคราะหร์ ะบบ อย่างไรก็ตาม การพจิ ารณาใคร่ครวญและตัดสินใจดว้ ยวิธีการนี้โอกาสที่จะผิดพลาดอย่าง มีสงู ซง่ึ เป็นเหตใุ หเ้ กิดการสูญเสียแกธ่ รุ กิจเป็นอยา่ งมากเชน่ เดยี วกัน ดงั น้ัน ถา้ เปน็ งานสำคัญ ๆ ทางธรุ กจิ แลว้ ไมค่ วรใช้วิธนี ้ีเป็นอย่างยง่ิ

2.3.1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Methodology Determination หรือ System Analysis) เปน็ วธิ กี ารพจิ ารณาใครค่ รวญและตดั สินใจโดยอาศยั ระบบทางวทิ ยาศาสตร์ เช่น สถติ ิ และการ คำนวณ เปน็ ตน้ วธิ นี ี้เป็นวิธที ่ีใช้หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ เข้าชว่ ยผู้ที่จะทำการวิเคราะห์ จะตอ้ งเปน็ ผู้ทม่ี ีความรู้ในวิชาการแขนงตา่ ง ๆ ทจ่ี ะใชใ้ นการวเิ คราะห์และออกแบบระบบงาน จึงได้มีการ จัดใหส้ อนในสถาบันการศกึ ษาตา่ ง ๆ ข้ึน

นอกจากนี้ยังมีคำที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกันกับคำว่า “วิเคราะห์” ที่ควรจะทำ ความเข้าใจเพื่อป้องกันการสับสนในการใช้ เช่น คำว่า การวิจัย การค้นคว้า การค้นคิด เป็นต้น ซึ่งความ จริงแลว้ การวิเคราะห์กับการวจิ ัยเป็นคนละเร่ือง คนละความมุ่งหมายกัน แตม่ ีความใกล้เคียงกันมาก การ วิจัยน้ันมุง่ ในการค้นหาข้อเทจ็ จรงิ หรือความถูกตอ้ งที่สุดของปัญหาเช่น การวิจัยภาวะของผูม้ ีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย เป็นการหาสาเหตุว่า เป็น เพราะอะไรบา้ ง เหลา่ น้ีเปน็ ต้น สว่ นการวเิ คราะหน์ น้ั จะเปน็ การมุ่งหาสาเหตุเพ่ือทำการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน นน้ั ใหด้ ที ่สี ดุ หรอื เหมาะสมที่สุดเท่าที่จะทำได้ การแกป้ ัญหาท่ีได้จากการวิเคราะห์ระบบน้ันอาจไม่ใช่ทางท่ี ถกู ต้องท่ีสดุ แต่เปน็ ทางท่ีดที ี่สุดที่ควรจะกระทำเท่าน้นั ท้งั นีเ้ พราะการแก้ไขปัญหาของนักวิเคราะห์ระบบ

12

เป็นการประนีประนอมกับบุคคลในหลาย ๆ ฝ่ายที่จะต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้การทำงานของระบบมี ประสทิ ธิภาพสงู สดุ นัน่ เอง

การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ระบบใดระบบหนึ่ง โดยมีการคาดหมายและจุดม่งุ หมายท่ีจะมีการปรับปรุงและแก้ไขระบบนั้น การวเิ คราะหน์ ้ันจะต้องทำการ แยกแยะปัญหาออกมาใหไ้ ด้ แลว้ กำหนดปัญหาเป็นหวั ขอ้ เพ่อื ทำการศึกษา และหาวิธแี ก้ไขในทสี่ ุด

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) หมายถึง วิธีการท่ี ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งหรือในระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการ สร้างระบบสารสนเทศใหม่แลว้ การวิเคราะหร์ ะบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดมิ ที่มีอยู่แล้วให้ดีข้ึน ด้วยกไ็ ด้ การวิเคราะหร์ ะบบ คอื การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือตอ้ งการเพมิ่ เตมิ อะไรเขา้ มาในระบบ

2.3.2 การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถงึ การนำเอาความต้องการของระบบมาเปน็ แบบแผน หรือเรียกว่า

พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตาม ยอดขายไดเ้ ป็นระยะ เพื่อใหฝ้ า่ ยบรหิ ารสามารถปรบั ปรุงการขายได้ทันท่วงที

2.3.3 นกั วิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่ศึกษาปัญหาซับซ้อนที่เกิดขึ้นใน

ระบบและแยกแยะปัญหาเหล่านั้นอย่างมีหลักเกณฑ์ นักวิเคราะห์ระบบหรือที่เราเรียกกันว่า SA จะทำ หน้าที่หาวิธีการแก้ไขปัญหาที่แยกแยะเหล่านั้น พร้อมทั้งให้เหตุผลด้วยการวิเคราะห์ระบบน้ัน นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ และต้องกำหนดจุดมุ่งหมายหรอื เป้าหมายใน การวิเคราะห์นนั้ ด้วย นอกจากนย้ี ังต้องทำความเข้าใจโครงสรา้ งลักษณะขององค์การนนั้ ในดา้ นตา่ ง ๆ

นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่มีหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบ ระบบ ซงึ่ ปกติแล้วนักวเิ คราะห์ระบบควรจะอยูใ่ นทีมระบบสารสนเทศขององคก์ รหรือของธุรกจิ นัน้ ๆ

นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่มีหน้าทีใ่ นการออกแบบและพัฒนา ระบบงานในระบบการประมวลผลขอ้ มูล ด้วยระบบและวิธกี ารต่าง ๆ เพื่อให้ระบบงานบรรลุถึงเปา้ หมาย ตามต้องการของผู้ใช้ระบบ เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ระบบข้อมูล การออกแบบระบบการปฏิบัติงานในการ ประมวลผลข้อมูล การสร้างขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพัฒนาโปรแกรม และการเขียนเอกสารต่าง ๆ ประกอบการปฏบิ ัติงานของระบบ

จากความหมายข้างตน้ จะเห็นได้วา่ นกั วเิ คราะหร์ ะบบงานเป็นผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้องกบั ระบบงาน ในการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบการประมวลผล นอกจากน้ันนักวเิ คราะหร์ ะบบยงั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบงาน

13

ในสว่ นทเี่ ก่ยี วกบั การจัดหาอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ ผทู้ ่ีจะใช้ระบบแฟม้ ขอ้ มูลหรอื ฐานข้อมูล ต่าง ๆ รวมทั้งขอ้ มลู เดิมทีจ่ ะป้อนเขา้ สรู่ ะบบ 2.4 ผงั งาน (Flowchart)

ผังงาน Flowchart เปน็ ผงั งานทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงแนวคิด และขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม อีก ทัง้ ยงั ช่วยใหม้ องเหน็ ภาพรวมของโปรแกรมทำใหเ้ ขียนโปรแกรมไดง้ ่ายขน้ึ การเขยี น Flowchart นั้นจะใช้ สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนคำอธิบายและกระบวนการทำงานของโปรแกรมในแต่ละส่วนตั้งแต่เริ่มแรกจนถึง สิ้นสุดการทำงานของโปรแกรม เพื่อให้ผู้พัฒนาโปรแกรมได้เข้าใจแนวคิด และการทำงานที่ชัดเจนมาก ท่สี ุด

2.4.1 สญั ลักษณ์ของผงั งาน การเขียนผังงาน Flowchart นั้นได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้งานให้เป็นสากล และ

เป็นมาตรฐานเดียวกนั โดยการกำหนดมาตรฐานนีไ้ ด้ถูกกำหนดตามแบบของ ANSI (American National Standards Institute) และ ISO (International Standard Organization) เพื่อสื่อความหมาย และให้ เกิดความเข้าใจในสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน Flowchart ทั่วโลก โดยสัญลักษณ์ต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็นหลายสัญลักษณ์

ตารางที่ 2.1 สัญลักษณ์ของผังงาน ความหมายและการใช้งาน สญั ลักษณ์

คา่ เรม่ิ ต้นและสิ้นสดุ

Terminal

การรบั ขอ้ มูลและแสดงผลข้อมูล

Input / Output

การรบั ขอ้ มูลจากคีย์บอร์ด

Manual Input

ตารางท่ี 2.2 สญั ลักษณข์ องผังงาน (ตอ่ ) 14 สญั ลักษณ์ Process ความหมายและการใช้งาน การประมวลผลหรอื การกำหนดค่า Display การแสดงผลข้อมลู ผา่ นจอภาพ

Decision การตัดสินใจเม่ือมีทางเลอื ก การแสดงผลโดยพมิ พ์ออกเป็นกระดาษ Document การกำหนดค่าล่วงหน้า รูปแบบข้อมลู Preparation Internal Subroutine การเก็บข้อมูล Connector แสดงจุดต่อเนอื่ งในหน้าเดยี วกัน

15

ตารางท่ี 2.3 สญั ลกั ษณ์ของผังงาน (ต่อ) ความหมายและการใช้งาน สญั ลักษณ์ แสดงจดุ ต่อเนอ่ื งในคนละหน้ากนั

Off-Page Connector การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มูลโดยใช้บัตรเจาะรู Puched Card Puched Tape การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใชเ้ ทปกระดาษ Magnetic Tape Magnetic Disk การรับข้อมูล-แสดงผลข้อมูลโดยใช้เทปแม่เหล็ก Magnetic Core การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใชจ้ านแม่เหลก็ Manual Operation การรับข้อมูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใชแ้ กน External Subroutine แมเ่ หล็ก การประมวลผลด้วยมือ

เรียกใช้โปรแกรมย่อยจากภายนอกโปรแกรมนี้

16

ตารางที่ 2.4 สญั ลักษณ์ของผังงาน (ต่อ) ความหมายและการใช้งาน สัญลกั ษณ์ แสดงถงึ การจัดเรียงลำดับข้อมูล Sort การแยกข้อมลู ออกเป็นหลาย ๆ ชดุ Extract กระบวนการท่ีต้องการจดั การข้อมูล Collate แสดงทิศทางของการทำงานของโปรแกรม Flowline

2.4.2 ประเภทของผงั งาน ประเภทของผงั งาน โดยทั่วไปผงั งานคอมพวิ เตอร์แบง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ 2.4.2.1 ผังงานระบบ (System Flowchart) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการ

ทำงานภายในระบบหนึ่ง ๆ โดยจะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของส่วนที่สำคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสารเบื้องต้น หรือสื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้อยู่เป็นอะไร และผ่านไปยังหน่วยงานใด มีกิจกรรมอะไรใน หน่วยงานนั้น แล้วจะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงานระบบอาจเกี่ยวข้องกับคน วัสดุ และ เครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไปด้วย การนำข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผลและการแสดงผลลัพธ์ (Input – Process - Output) ดงั ภาพ

17

ภาพท่ี 2.1 ภาพผังงานระบบ 2.4.2.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) ผังงานประเภทนี้แสดงถึง ขั้นตอนของคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม ผงั งานนีอ้ าจสรา้ งจากผังงานระบบโดยผ้เู ขียนผังงานจะดึงเอาแต่ละจุด ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการทำงานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ปี รากฏในผังงานระบบมาเขียน เพอื่ ใหท้ ราบว่าถ้าจะใช้ คอมพิวเตอร์ทำงานควรที่จะมขี ั้นตอนคำสั่งอย่างไร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามท่ีตอ้ งการ และจะได้นำมาเขยี น โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ตอ่ ไป ดงั นนั้ การเขียนผังงานก็จะมีประโยชน์ เหมาะสาหรบั ผูบ้ รหิ าร ผูว้ เิ คราะห์ระบบ ผู้เขียนโปรแกรม และบุคคลอื่นที่ต้องการศึกษา ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของระบบตั้งแต่เริ่มต้น ว่ามี การปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง สุดท้ายจะได้ผลลัพธ์อะไรบ้าง เมื่อเข้าใจระบบงาน หรือสิง่ ทก่ี ำลงั ศกึ ษาก็จะช่วยใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านและแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้นึ ดงั ภาพ

ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงตวั อยา่ งการกำหนดจดุ เริ่มตน้ และส้นิ สุดของการเขยี นผงั งาน

18

2.4.3 ประโยชน์ของผังงาน ผังงานเป็นเครื่องมือท่ีช่วยใหก้ ารศึกษาลาดับข้ันตอนของโปรแกรมง่ายขึ้น จึงนิยมเขยี น

ผังงานประกอบการเขียนโปรแกรม ด้วยเหตุผลดังน้ี 2.4.3.1 คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับ

ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหน่ึง เปน็ เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการสื่อสารไดท้ ุกภาษา 2.4.3.2 ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของ

โปรแกรมให้ง่ายและสะดวกต่อการทำความเข้าใจ สามารถนำปเขียนโปรแกรมไดโ้ ดยไม่สับสน ซึ่งถ้าหาก ใชข้ อ้ ความหรือคำพดู อาจจะสอื่ ความหมายผดิ ไปได้

2.4.3.3 ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของลำดับ ขั้นตอน และแกไ้ ขโปรแกรมไดง้ ่าย เม่อื เกิดขอ้ ผดิ พลาด

2.4.3.4 ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย สะดวก และ รวดเรว็ มากขน้ึ

2.4.3.5 การบำรุงรักษาโปรแกรมหรือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง ให้มี ประสิทธิภาพ ถ้าพิจารณาจากผังงานจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรุง แก้ไขได้ สะดวกและง่ายข้นึ

2.4.4 ข้อจำกดั ของการเขียนผงั งาน นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรม เพราะเสียเวลา ในการ เขยี นเป็นรปู ภาพหรือสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ นอกจากนยี้ งั มีเหตผุ ลอนื่ ๆ ได้แก่

2.4.4.1 ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะส่ือ ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึง่ ทำใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ไมส่ ามารถรบั รู้และเขา้ ใจว่าผงั งานต้องการอะไร

2.4.4.2 ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคำสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคำสั่งได้อย่าง ชดั เจน

2.4.4.3 กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข จะทำได้ยาก ควรเขียนแยกเป็นส่วน ๆ แล้วค่อยสร้างจุดเชอ่ื มโยงในแต่ละสว่ น

2.4.4.4 การเขียนผังงานอาจเปน็ การสน้ิ เปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการ เขยี นภาพ ทงั้ ๆ ทก่ี ารอธบิ ายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใชเ้ น้ือทีเ่ พยี ง 3 - 4 บรรทัดเทา่ นน้ั

2.4.5 วธิ กี ารเขียนผังงานท่ดี ี การเขยี นผงั งานควรคานึงถงึ สง่ิ ตา่ ง ๆ ดังน้ี

19

2.4.5.1 ใชส้ ญั ลักษณต์ ามทกี่ ำหนดไว้ 2.4.5.2 ผังงานจะต้องมีจดุ เรมิ่ ต้น (Start) และสิ้นสดุ (Stop/End/Finish) 2.4.5.3 ใช้หัวลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไป ขวา (ยกเวน้ ท่ตี ้องทาซำ้ ) 2.4.5.4 ทกุ แผนภาพต้องมลี ูกศรแสดงทศิ ทางเข้า 1 เสน้ และออก 1 เส้นโดยไม่ มกี ารปล่อยจดุ ใดจดุ หนง่ึ ไว้ 2.4.5.5 เขียนคำอธิบายการทำงานในแต่ละขั้นตอนโดยใช้ข้อความที่ส้ัน กะทดั รดั ชดั เจนและเข้าใจไดง้ า่ ย 2.4.5.6 ควรหลีกเลี่ยงโยงเส้นไปมาทำให้เกิดจุดตัดมากเพราะจะทำให้เกิด ขอ้ ผดิ พลาดง่าย ควรใช้สญั ลักษณ์เช่ือมจดุ ตอ่ เนื่องแทน 2.4.5.7 ไม่ควรโยงเส้นเช่ือมผังงานทอี่ ยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเช่ือมต่อ แทน 2.4.5.8 ผังงานที่ดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถเขา้ ใจและตดิ ตามขั้นตอนได้ง่าย 2.4.5.9 ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนไปเขียน โปรแกรม

2.5 DFD แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) หรอื เรยี กอีกอย่างหนึ่งว่า แผนภาพการไหล

ของข้อมูล เป็นเครื่องมือทีใ่ ช้เพื่อแสดงการไหลของข้อมูลและการประมวลผลต่าง ๆ ในระบบ สัมพันธ์กบั แหล่งเก็บข้อมูลที่ใช้ โดยแผนภาพนี้จะเป็นสื่อที่ช่วยให้การวิเคราะห์เป็นไปได้โดยง่าย และมีความเข้าใจ ตรงกันระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบเองหรือระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู้ วิเคราะห์ระบบกับผใู้ ชร้ ะบบ (รชั นี กลั ยาวินัย และ อจั ฉรา ธารอุไรกลุ ม 2542)

2.5.1 ประโยชน์ทไี่ ด้จากการใชแ้ ผนภาพกระแสข้อมลู มดี ังนี้ 2.5.1 มีความอิสระในการใช้งาน โดยไม่ต้องมีเทคนิคอื่นมาช่วย เน่ืองจากสามารถใช้

สญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ แทนสิ่งท่วี เิ คราะห์มา 2.5.2 เป็นสื่อที่ง่าต่อการแสดงความสมั พันธร์ ะหว่างระบบใหญ่และระบบย่อย ซึ่งจะทำ

ใหเ้ ข้าใจความสัมพนั ธต์ ่าง ๆ ได้ดี

20

2.5.3 เป็นสื่อที่ช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้เป็นไปได้ง่าย และมีความเข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้วิเคราะหร์ ะบบเองหรือระหวา่ งผู้วิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรอื ระหว่างผู้วเิ คราะห์ระบบ กับผใู้ ช้ระบบ

2.5.4 ช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้สะดวก โดยสามารถเห็นข้อมูลและขั้นตอนต่าง ๆ เปน็ แผนภาพ

2.5.2 สญั ลักษณ์ทใี่ ชใ้ นการเขยี นแผนภาพกระแสข้อมูล สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลน้ัน ประกอบดว้ ย 4 สญั ลักษณ์ ทแี่ สดง

ถึงการประมวลผลการไหลของข้อมลู ส่วนทใ่ี ช้เก็บข้อมลู และสง่ิ ทอี่ ยนู่ อกระบบ โดยได้มีการศึกษาคิดค้น พัฒนาวธิ ีการอยู่หลายแบบ แต่ทเี่ ปน็ มาตรฐานมี 2 กลุม่ คอื กลุม่ ที่คิดคน้ โดย Gane and Sarson (1979) และกลุ่มของ DeMarco and Yourdon (SeMarco, 1979) ถึงแม้สัญลักษณ์บางอย่างของสององค์กรนี้ จะตา่ งกนั แตอ่ งคป์ ระกอบของแผนภาพและหลกั การเขียนแผนภาพไม่ไดแ้ ตกตา่ งกนั ดงั ตารางที่ 2.2

ตารางท่ี 2.5 สัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการเขียนแผนภาพการไหลของขอ้ มูล

ช่ือสญั ลักษณ์ DeMarco & Yourdon Symbols Gane & Sarson Symbols

การประมวลผล (Process)

แหล่งเกบ็ ข้อมูล (Data Store)

กระแสข้อมูล (Data Flow)

สง่ิ ท่อี ยูภ่ ายนอก (External Entity)

21

2.5.3 สญั ลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) การประมวลผล (Process) เป็นการเปลยี่ นแปลงข้อมูลจากรปู แบบหนึ่ง (Input) ไปเป็น

อีกรูปแบบหน่ึง (Output) เช่น การคำนวณรายได้สุทธิของลกู จ้างรายวนั จะต้องประกอบด้วยข้อมูลำเข้า ที่เป็น “อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง” และ “จำนวนชั่วโมงการทำงาน” เมื่อผ่านการประมวลผลแล้วจะได้ “รายไดส้ ทุ ธิ”

ตวั อย่างการประมวลผล ไดแ้ ก่ - คำนวณคา่ คอมมชิ ชนั - ตรวจสอบใบสัง่ ซือ้ - ลงทะเบียน เปน็ ต้น

การใช้สญั ลักษณก์ ารประมวลผล 2.5.3.1 ต้องใช้สัญลักษณ์การประมวลผล (Process) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยที่ถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึงเป็นข้อมูลนำเข้า ถ้าลูกศรชี้ออกหมายถึงเป็นข้อมูลออก จากการประมวลผล ซงึ่ 1 Process สามารถมขี อ้ มลู นำเขา้ มากกว่า 1 เสน้ หรอื ขอ้ มูลออกมากกว่า 1 เส้น ได้ 2.5.3.2 การต้ังช่อื ของ Process ควรเปน็ วลเี ดียวท่ีอธิบายการทำงานทงั้ หมดได้ และควร อธิบายการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะมากกว่าที่จะอธิบายการทำงานอย่างกว้าง ๆ เช่น หาก แสดงถึงการประมวลผล “ตรวจสอบรายการ” ควรจะระบุว่าเป็น “การตรวจสอบรายการถอนเงิน” หรือ “ตรวจสอบรายการคา่ ใชจ้ า่ ยรายสัปดาห์” เปน็ ตน้ 2.5.3.3 แตล่ ะ Process จะมีแตข่ อ้ มลู เข้าอย่างเดียว หรอื ออกอยา่ งเดียวไมไ่ ด้

ภาพท่ี 2.3 ภาพตวั อย่างการใช้สัญลักษณ์การประมวลผล (Process)

22

2.5.4 สัญลกั ษณก์ ระแสข้อมูล (Data Flow Symbol) กระแสข้อมลู (Data Flow) เปน็ เสน้ ทางในการไหลของข้อมลู จากส่วนหน่ึง ไปยงั อกี ส่วน

หนึ่งของสารสนเทศ โดยจะมีลูกศรแสดงถึงการไหลจากปลายลูกศร ไปยังหัวลูกศร ซึ่งข้อมูลที่ปรากฎบน เสน้ นีจ้ ะเปน็ ข้อความ ตัวเลข รายการเรคคอร์ดท่ีระบบคอมพวิ เตอรส์ รามารถนำไปประมวลผลได้

ตวั อย่างกระแสข้อมลู ได้แก่ - ใบสงั่ ซอ้ื สนิ ค้า - ใบเสรจ็ รับเงิน - เกรดของนักศึกษา - ใบสง่ ของท่ีผ่านการตรวจสอบแล้ว เป็นต้น

การใชส้ ญั ลกั ษณ์กระแสข้อมลู 2.5.4.1 กระแสข้อมูลสามารถใช้คู่กับการประมวลผล (Process), สิ่งที่อยู่นอกระบบ (External Entities) หรอื แหลง่ เก็บข้อมลู (Data Store) ก็ได้ ขึ้นอยกู่ บั ระบบงานวา่ ข้อมลู น้นั จะนำไปไว้ ท่ไี หน หรือขอ้ มูลน้ันจะนำออกจากสว่ นใด

ภาพท่ี 2.4 ภาพตัวอย่างการใชส้ ญั ลักษณ์กระแสข้อมูล (Data Flow)

ภาพท่ี 2.5 ตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลักษณ์กระแสข้อมลู (Data Flow) 2.5.4.2 การตั้งชื่อกระแสข้อมูล โดยทั่วไปจะตั้งชื่อด้วยคำเพียงคำเดียว ที่มีความหมาย ชัดเจนและเข้าใจงา่ ยควรกำกับชือ่ บนเส้นดว้ ย คำนาม เช่น “เวลาทำงาน”, “ใบส่ังซอ้ื สนิ ค้า” เป็นตน้

23

2.5.4.3 ควรตง้ั ชื่อกระแสขอ้ มูล ตามขอ้ มูลที่ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วหลงั จากออกจากการ ประมวลผล เน่อื งจากการประมวลหรอื Process ใชแ้ สดงถึงการเปลย่ี นขอ้ มูลหรอื การสง่ ผ่านข้อมูล ดงั นัน้ Data Flow ที่ออกจาก Process มักจะมีการเขียนชื่อกำกับให้แตกต่างออกไปจาก Data Flow ที่เข้ามา ใน Process เสมอ

2.5.5 สญั ลักษณ์แหล่งเก็บขอ้ มูล (Data Store Symbol) แหล่งที่เก็บข้อมูล (Data Store) เป็นส่วนที่ใช้แทนชื่อแฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล เพราะมี

การประมวลผลหลายแบบที่จะต้องมีการเก็บข้อมูลไว้เพื่อที่จะได้นำไปใช้ภายหลัง ซึ่งแหล่งเก็บข้อมูล จะต้องมีทั้งข้อมูลเข้าและข้อมูลออกโดยข้อมูลที่ออกจากแหล่งเก็บข้อมูลจะอยู่ในลักษณะที่ถูกอ่านขึน้ มา ส่วนขอ้ มลู ท่ไี หลเขา้ สแู่ หล่งเก็บข้อมลู จะอยใู่ นรปู ของการบนั ทกึ การเพ่มิ -ลบ แกไ้ ข

ตัวอยา่ งแหล่งเกบ็ ข้อมูล ไดแ้ ก่ - แฟม้ คนไข้ - แฟ้มพนักงาน เป็นต้น

การใช้สัญลกั ษณแ์ หล่งเก็บขอ้ มูล 2.5.5.1 ต้องใช้สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยที่ถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึง เป็นข้อมูลนำเข้าไปเก็บยังแหล่งเก็บ ถ้าลูกศรชี้ออก หมายถงึ อา่ นข้อมลู จากแหลง่ เก็บขอ้ มูลไปใช้ในการประมวลผล 2.5.5.2 Data Store ต้องเชื่อมตอ่ การประมวลผล (Process) เสมอโดยเช่อื มผ่านกระแส ขอ้ มลู (Data Flow) 2.5.5.3 เนื่องจาก Data Store ใช้แทนสิ่งที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับคน, สถานท่ี, หรือสิ่งของ ดงั นั้นควรเขียนชื่อกำกบั ด้วยคำนาม เช่น “แฟม้ ข้อมลู สนิ ค้า”, “แฟม้ เวลาทำงานของพนักงาน” เป็นตน้

ภาพที่ 2.6 ภาพตวั อย่างการใช้สญั ลักษณแ์ หล่งทเ่ี กบ็ ข้อมูล (Data Store)

24

ภาพท่ี 2.7 ตวั อยา่ งการใชส้ ัญลักษณแ์ หลง่ ทเี่ กบ็ ขอ้ มลู (Data Store) 2.5.6 สัญลักษณส์ งิ่ ท่ีอยู่ภายนอก (External Entity Symbol)

สิ่งที่อยู่ภายนอก (External Entity) เป็นส่วนที่ใช้แทนคน แผนกภายในองค์กรและ แผนกภายนอกองค์กรหรอื ระบบสารสนเทศอน่ื ท่เี ปน็ สว่ นทจี่ ะให้ขอ้ มูลหรือรับข้อมลู

สิ่งที่อยู่นอกระบบนี้ใช้แสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศ และแสดงถึงว่าระบบท่ี ศกึ ษาอยนู่ ้ีจะติดต่อกับสิง่ ทอ่ี ยู่ภายนอกด้วยวธิ ีใด (นำข้อมลู เข้ามา หรอื ได้ขอ้ มลู ออกไป)

ภาพท่ี 2.8 ภาพตวั อย่างการใช้สัญลักษณ์สิง่ ท่ีอยู่ภายนอก (External Entities)

25

2.6 ER-Model ER โมเดล (Entity-Relationship Model) ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (High-

Level Conceptual Data Model) เพื่ออธิบายถึงเค้าร่างของฐานข้อมูล (Conceptual Database Schema) ที่ประกอบด้วยความหมายของเอนทิตี้ (Entity) คุณลักษณะของเอนทิตี้ (Entity) หรือแอททริ บิวต์และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Relationship) โดยการโมเดลข้อมูลด้วย ER โมเดลที่ช่วยในการ ออกแบบในระดับแนวคิดจะไม่คำนึงว่าโมเดลของระบบจัดการฐานข้อมูลที่จะเลือกใช้หรือโครงสร้างการ จดั เก็บขอ้ มูลจริงเป็นอยา่ งไร

ER โมเดล เป็นการออกแบบในระดับแนวคิดในลักษณะจากบนมาล่าง (Top-Down Strategy) โดยผลจากการออกแบบฐานขอ้ มลู ไดเ้ ค้ารา่ งในระดับแนวคิดท่ีประกอบดว้ ย

• เอนทติ ีท้ ่คี วรจะมีในระบบ • ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอนทติ ้ีวา่ เป็นอย่างไร • แอททรบิ วิ ต์ซึ่งเปน็ รายละเอยี ดทอี่ ธิบายเอนทิตี้ และมีความสัมพนั ธ์กันอยา่ งไรบา้ ง 2.6.1 สัญลกั ษณท์ ี่ใช้

ER โมเดลจะมีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแทนความหมายของเอนทิตี้ แอทริบิวต์และ ความสมั พันธข์ องเอนทติ ีใ้ นฐานขอ้ มูลทอ่ี อกแบบ ดังน้ี

2.6.1.1 สัญลกั ษณ์ในการโมเดล ER แบบ Chen

ภาพท่ี 2.9 ภาพแสดงสญั ลักษณ์ใน ER-Model แบบ Chen

26

ภาพที่ 2.10 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ )

27

ภาพที่ 2.11 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ )

28

2.6.1.2 สัญลักษณใ์ นการโมเดล ER แบบ Crow’s Foot

ภาพท่ี 2.12 ภาพแสดงสัญลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot

29

ภาพที่ 2.13 ภาพแสดงสญั ลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot (ต่อ) กล่าวโดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้สามารถเขียนได้หลายรูปแบบ หากนำ

รายละเอียดความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นมาประกอบกันความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทติ ้ี จะสามารถโมเดลความสมั พนั ธแ์ ละข้อกำหนดคารด์ ินัลลติ ขี้ องเอนทิตี้ในลักษณะต่าง ๆ 2.7 ระบบฐานข้อมูล (Database System)

ระบบฐานข้อมูล (Database System) คือ หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ กันไว้อย่างมีระบบโดยมีองค์ประกอบของฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ข้อมูลที่ต้องการเก็บ เป็นต้น ซึ่งทำให้ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลได้ง่าย เช่น เพิ่มเติมข้อมูล (Add/Insert) เรียกดูข้อมูล (Select/Query) แก้ไขข้อมูล (Edit/Modify) หรือลบข้อมูล (Delete/Erase) ได้อย่าง สะดวกและรวดเร็ว

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) หมายถึง สถาปัตยกรรม ซอฟต์แวร์ อาจมีได้หลายแบบ เช่น สำหรับฐานข้อมูลขนาดเล็กที่มีผู้ใช้คนเดียว ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่มี ผู้ใช้จำนวนมากซึ่งใช้สถาปตยกรรมแบบลูกข่ายกับเครื่องบริการกลาง (client-server) ทำหน้าที่เป็นตัว

30

ประสานการใช้งานของผู้ใช้ (User) กับฐานข้อมูล ดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เป็นต้น สำหรับ โปรแกรมจัดการฐานขอ้ มูลท่เี รารจู้ กั กันท่วั ไป เชน่ MS-Access, Oracle, FoxPro, Dbase เปน็ ต้น

2.7.1 หน้าทีข่ องระบบจัดการฐานข้อมูล หน้าที่หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DMBS)

หรือโปรแกรมจัดการฐานขอ้ มูล มีดงั นี้ 2.7.1.1 จัดเกบ็ และดแู ลขอ้ มลู (Store and Maintain Data) ข้อมูลถูกกรอกเข้าสู่ระบบ

ฐานข้อมูล และจัดเก็บรวบรวมในรูปของฐานข้อมูลไว้ด้วยกัน โดยมีระบบจัดการฐานข้อมูลผู้ดูแลรักษ า ข้อมลู เหล่าน้ัน

2.7.1.2 ประสานงานกับระบบปฏิบัติการ (Interface) เนื่องจากการใช้งานฐานข้อมูล ส่วนมากมักจะเป็นข้อมูลทีม่ ีขนาดใหญ่ข้อมูลทั้งหมดสามารถถูกนําเข้ามาไว้ในหน่วยความจําได้พรอ้ มกนั หมายถึง ข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ในดิสก์และถกู นาํ มาอยู่ในหน่วยความจาํ เฉพาะสว่ นที่กาํ ลังใชง้ านเท่านัน้ ซึ่ง หน้าที่ในการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการจากดิสก์ นํามาไว้ในหน่วยความจํานั้น เป็นหน้าที่ของ ระบบปฏิบตั กิ าร หรอื OS ดังนน้ั DBMS จะเป็นตัวท่ที ำหนา้ ท่ีประสานงานกับสว่ นจัดการแฟม้ ข้อมูล (File Manager) ของ OS ในการจดั เก็บ เรยี กใช้ และแก้ไขข้อมลู ในฐานขอ้ มลู นน้ั ๆ

2.7.1.3 ควบคุมรักษาความปลอดภัยของข้อมูล (Security Control) เพื่อป้องกันไม่ให้ บุคคลทีไ่ ม่พึงประสงค์เข้ามาล่วงละเมิดการใช้ฐานข้อมลู และป้องกนั ไวรัสเข้าระบบ ซึ่งจะไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับ อนุญาตเขา้ มาเรยี กดขู อ้ มูล หรอื แก้ไขขอ้ มลู ได้

2.7.1.4 ควบคุมความคงสภาพของข้อมูล (Integrity Control) ระบบจัดการฐานข้อมูล และควบคุมค่าของข้อมูลให้อยู่ในกรอบที่เป็นไปได้ (Domain) ตามที่ได้กำหนดไว้ในส่วนของเค้าร่างของ ฐานข้อมูล เช่น ยอดเงินฝากของบัญชีฝากประจำแต่ละครั้งจะต้องไม่น้อยกว่า 10,000 บาท หรือ นกั ศึกษาที่มาลงทะเบยี นจะต้องเป็นนักศึกษาทมี่ ีรหัสนักศึกษาท่ีปรากฏอยู่ในแฟ้มข้อมลู นักศึกษาเท่าน้ัน

2.7.1.5 ควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ (Concurrency Control) ฐานข้อมูลมัก นำมาใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้หลายคน สามารถเรียกใช้ข้อมูลเดียวกันได้พร้อมกัน ดังนั้น ระบบ จัดการฐานข้อมูลจะต้องทำหน้าท่ีควบคุมลำดบั การทำงานให้เป็นไปอยา่ งถูกต้องเหมาะสม เช่นในระหว่าง ที่มีผู้ใช้บางคนกําลังแก้ไขข้อมูลอยู่ ถ้ามีผู้ใช้คนอื่นต้องการใช้ข้อมูลเดียวกัน จะต้องรอให้แก้ไขเสร็จ เรียบร้อยก่อน จึงจะสามารถเรียกใช้ได้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปญหาข้อมูลที่ได้รับไม่ถูกต้องทันสมัย (Not Updated)

31

2.7.2 ประโยชน์ของฐานขอ้ มลู 2.7.2.1 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรปู ของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏ

อยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยใหค้ วามซ้ำซ้อนของ ข้อมูลลดนอ้ ยลง

2.7.3 ขอ้ ดขี องฐานข้อมลู การจดั เกบ็ ข้อมลู เปน็ ฐานขอ้ มลู ไดเ้ ปรยี บกวา่ การจดั เกบ็ ข้อมูลแบบแฟม้ ขอ้ มลู ดงั น้ี

2.7.3.1 หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลแบบแฟ้มข้อมูล โดยข้อมูล เรื่องเดยี วกันอาจมีอยหู่ ลายแฟ้มขอ้ มลู ซึ่งก่อให้เกดิ ความขัดแย้งของข้อมลู ได้ (Inconsistency)

2.7.3.2 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน เมื่อ ผู้ใชต้ อ้ งการข้อมลู จากฐานข้อมลู ซึ่งเป็นขอ้ มูลทมี่ าจากแฟ้มข้อมลู ที่แตกต่างกันจะทำได้ง่าย

2.7.3.3 สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล การจัดเกบ็ ข้อมลู ในลักษณะแฟม้ ข้อมูล อาจ ทำใหข้ ้อมูลประเภทเดียวกนั ถูกเก็บไว้หลาย ๆ แหง่ ทำให้เกิดความซ้ำซอ้ น (Reclundancy) การนำข้อมูล มารวมเก็บไว้ในฐานขอ้ มลู จะชว่ ยลดปัญหาความซำ้ ซ้อนได้

2.7.3.4 รักษาความถกู ต้อง ฐานข้อมลู บางครัง้ อาจมีข้อผิดพลาดขึน้ เชน่ การป้อนข้อมูล ผดิ ซง่ึ ระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถระบุกฎเกณฑเ์ พื่อควบคุมความผดิ พลาดท่ีอาจเกิดขนึ้ ได้

2.7.3.5 สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ เพราะในระบบฐานข้อมูลจะมี กลุ่มบคุ คลที่คอยบรหิ ารฐานข้อมูล กำหนดมาตรฐานตา่ ง ๆ ในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลในลกั ษณะเดียวกนั

2.7.3.6 สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ผู้บริหารระบบฐานข้อมูล สามารถกำหนดการเรียกใช้ขอ้ มูลของผู้ใชแ้ ต่ละคนใหแ้ ตกตา่ งกนั ตามหน้าที่ ความรับผดิ ชอบได้งา่ ย

2.7.3.7 ความเป็นอิสระของข้อมูลและโปรแกรม โปรแกรมที่ใช้ในแต่ละแฟ้มข้อมูลจะมี ความสัมพันธ์กับแฟ้มข้อมูลโดยตรงถ้าหากมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลก็ทำการแก้ไข โปรแกรมน้ัน ๆ

32

2.7.4 ขอ้ เสยี ของฐานขอ้ มลู การเกบ็ ขอ้ มลู รวมเป็นฐานข้อมลู มขี ้อเสยี ดงั นีค้ ือ

2.7.4.1 มีต้นทุนสูง ระบบฐานข้อมูลก่อให้เกิดต้นทุนสูง เช่น ซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการ จดั การระบบฐานขอ้ มูล บคุ ลากร ต้นทนุ ในการปฏิบตั ิงาน และ ฮารด์ แวร์ เปน็ ต้น

2.7.4.2 มีความซับซ้อน การเริ่มใช้ระบบฐานข้อมูล อาจก่อให้เกิดความซับซ้อนได้ เช่น การจัดเกบ็ ข้อมลู การออกแบบฐานขอ้ มูล การเขยี นโปรแกรม เป็นต้น

2.7.4.3 การเสี่ยงตอ่ การหยุดชะงักของระบบ เนือ่ งจากขอ้ มูลถกู จัดเก็บไวใ้ นลักษณะเป็น ศูนย์รวม (Centralized Database System) ความล้มเหลวของการทำงานบางส่วนในระบบอาจทำให้ ระบบฐานข้อมูลท้งั ระบบหยุดชะงักได้

บทที่ 3

วิธดี ำเนินงาน

ในการดำเนินงานวิเคราะห์และออกแบบระบบการบริหารจัดการคลังสินค้า ร้านตาหงอก คณะผู้จัดทำได้มีการรวบรวมข้อมูลและนำมาวิเคราะห์ระบบและกำหนดกระแสข้อมูลต่าง ๆ โดยมีหัวข้อ ดังน้ี

3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.2 วเิ คราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานขอ้ มลู และสรา้ งความสัมพันธโ์ ดยใช้ Microsoft Access

3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้จดั ทำได้มีการรวบรวมข้อมลู จากผู้ประกอบการหรือเจา้ ของร้าน โดยมีการต้งั คำถามตา่ ง ๆ

และไดด้ ำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพื่อใช้ในการดำเนินงาน ดง้ั น้ี 3.1.1 คณะผ้จู ดั ทำ ทำการเก็บวางแผนและรวบรวมข้อมลู เพื่อดำเนินกิจกรรม 3.1.2 คณะผจู้ ดั ทำ ไดท้ ำการสร้างคำถามขึ้นจำนวน 24 ขอ้ เพื่อสัมภาษณ์กับเจา้ ของร้านท่ีจะไป

ศกึ ษา 3.1.3 คณะผู้จัดทำ ได้ทำการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คำถามที่สร้างขึ้นจำนวน 24 ข้อ กับ

เจ้าของรา้ นผา่ นทาง Online เนื่องในสถานการณ์ Covid-19 ทำให้ไม่สามารถลงไปพื้นทเ่ี พ่ือสัมภาษณ์กับ เจ้าของร้านได้

3.1.4 นำข้อมลู ที่ได้จากการสัมภาษณ์กบั เจ้าของร้านมาเรียบเรยี งและวิเคราะหเ์ พ่ือนำมา ออกแบบระบบ

3.2 วิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD คณะผู้จัดทำได้ทำการวเิ คราะห์ระบบโดยใช้ DFD โดยมรี ูปแบบ ดงั นี้

34

3.2.1 Context Diagram Level 0 ระบบการบริหารจดั การคลงั สินคา้ รา้ นตาหงอก

ภาพที่ 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบจดั การคลังสนิ ค้า ร้านตาหงอก จากภาพที่ 3.1 เปน็ การไหลของกระแสขอ้ มลู ในระดับท่ี 0 ของระบบการบริหารจดั การคลงั สินค้า

ร้านตาหงอก บันทึกรายละเอียดสินค้า ข้อมูลสินค้า ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลการจัดการสินค้า ข้อมูลการ จดั การผูใ้ ช้ซงึ่ มีการทำงานระหวา่ งผู้ใชง้ านสง่ ข้อมลู ไปยังระบบการบริหารจดั การคลังสนิ ค้าและระบบการ บริหารจัดการคลังสินคา้ ส่งขอ้ มูลไปทีฐ่ านขอ้ มูล และมีการสง่ ข้อมลู กลับมายงั Admin และผูใ้ ช้

35

3.2.2 Data Flow Diagram Level 1 ระบบการบริหารจัดการคลงั สนิ ค้า รา้ นตาหงอก

ภาพที่ 3.2 ภาพวเิ คราะห์ Data Flow Diagram Level 1 ระบบจดั การคลังสินคา้ รา้ นตาหงอก จากภาพที่ 3.2 Data Flow Diagram Level 1 มีขบวนการทำงานดงั น้ี โดยเร่ิมต้นจะมกี ารให้

พนักงานและผู้ดูแลระบบกรอกข้อมูลก่อนจึงจะสามารถเข้าสู่ระบบได้ เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว ผู้ดูแลระบบ สามารถจัดการข้อมูลของผใู้ ชง้ านได้ และพนกั งานกจ็ ะสามารถเพิ่ม ลบ แกไ้ ขขอ้ มูลสินค้าได้ และสามารถ ค้นหาข้อมูลสินค้าเพื่อตรวจสอบสินค้าที่ขายออกไปแล้ว และจะทำการตัดสต๊อกจากนั้นจะออกรายงาน แสดงสินคา้ คงเหลือและจำนวนเงินท่ีขายสินคา้ ได้ทง้ั หมดให้กับเจา้ ของร้าน

36

3.3 ออกแบบ ER-Model เมอื่ คณะผ้จู ดั ทำได้ทำการวิเคราะห์ระบบในสว่ นของ DFD เรียบร้อยแล้วหลังจากนั้นคณะผ้จู ดั ทำ

ไดท้ ำการออกแบบ ER-Model ข้ึนมา โดยมีดังนี้ 3.3.1 Chen ER-MODEL ระบบการบริหารจัดการคลังสินคา้ ร้านตาหงอก

ภาพที่ 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL ระบบจดั การคลงั สนิ คา้ รา้ นตาหงอก

37

3.3.2 Craw's Foot ER-MODEL ระบบการบริหารจดั การคลังสินคา้ รา้ นตาหงอก

ภาพท่ี 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL ระบบจัดการคลงั สนิ ค้า ร้านตาหงอก 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสรา้ งความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access

หลังจากที่คณะผู้จดั ทำได้ทำการศึกษาและวเิ คราะหร์ ะบบ ได้ทำการออกแบบตารางข้อมูลและ สร้างความสัมพนั ธ์หรือ Entity Relationship Diagram ของระบบฐานขอ้ มูลการจัดการคลังสินคา้

3.4.1 การออกแบบตารางข้อมลู

ภาพที่ 3.5 การออกแบบตารางข้อมูลรา้ นตาหงอก

38

3.4.1.1 การออกแบบตารางข้อมูล Order

ภาพที่ 3.6 ออกแบบตารางข้อมลู Order 3.4.1.2 การออกแบบตารางข้อมลู OrderDetail

ภาพท่ี 3.7 ออกแบบตารางข้อมูล OrderDetail 3.4.1.3 การออกแบบตารางข้อมลู Product

ภาพที่ 3.8 ออกแบบตารางข้อมูล Product 3.4.1.4 การออกแบบตารางข้อมลู ProductDetail

ภาพท่ี 3.9 ออกแบบตารางข้อมลู ProductDetail

39

3.4.1.5 การออกแบบตารางข้อมลู UserAcc

ภาพท่ี 3.10 ออกแบบตารางข้อมูล UserAcc 3.4.1.6 การออกแบบตารางข้อมูล UserDetail

ภาพที่ 3.11 ออกแบบตารางขอ้ มลู UserDetail

3.4.2 การสร้างความสมั พันธ์หรือ Entity Relationship Diagram หลังจากที่คณะผู้จัดทำได้ทำการออกแบบตารางของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็จะมา

ดำเนินการสร้างความสัมพันธห์ รือ Entity Relationship Diagram ดังภาพ 3.12

ภาพท่ี 3.12 การสร้างความสัมพนั ธ์หรอื Entity Relationship Diagram

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน

4.1 การออกแบบระบบการบริหารจัดการคลงั สินคา้ รา้ นตาหงอก 4.1.1 ออกแบบหนา้ Login ออกแบบหน้าจอสำหรับพนักงานให้ทำการ Login เพื่อเข้าสู่ระบบการบริหารจัดการ

คลงั สินคา้

ภาพที่ 4.1 หน้าจอ Login

41

4.1.2 ออกแบบหนา้ Menu ออกแบบหน้า Menu เพื่อให้พนักงานนั้นสามารถเลือกดูข้อมูลและจัดการข้อมูลต่าง ๆ

ของสินค้าได้ตามต้องการ

ภาพที่ 4.2 หนา้ จอ Menu

42

4.1.3 ออกแบบหนา้ จดั การสินคา้ ออกแบบหน้าจอจัดการสินค้าเพื่อให้พนักงานสามารถเข้าไปเพิ่ม ลบ แก้ไขข้อมูลต่าง ๆ

ของสนิ ค้าได้

ภาพที่ 4.3 หน้าจอ จัดการสินค้า