ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

ท้องอืด เป็นอาการที่พบได้บ่อย อาจทำให้รู้สึกแน่น จุกเสียด ปวดท้อง อิ่มเร็ว ท้องแข็ง รวมถึงมีอาการเรอ ผายลมและท้องร้องโครกครากหลังรับประทานอาหาร บางรายอาจมีท้องผูกหรือท้องเสียร่วมด้วย อาการนี้ส่วนใหญ่มักเป็นผลจากมีแก๊สหรือลมอยู่ในทางเดินอาหารเป็นจำนวนมาก สาเหตุอาจเกิดจากอาหารดูดซึมได้ไม่หมดหรือทางเดินอาหารบีบตัวผิดปกติ ในบางกรณีผู้ป่วยอาจไม่มีแก๊สหรือลมอยู่ในทางเดินอาหารมากเกินปกติแต่เกิดจากระบบประสาทที่ไวเกิน ทำให้รู้สึกแน่นท้องได้ง่ายมากกว่าคนทั่วไป

Show

สาเหตุของท้องอืดมีอะไรบ้าง

อาการท้องอืดเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ มักมีเหตุกระตุ้นจากอาหารที่รับประทาน ความเครียด การใช้ชีวิตและอาจเป็นอาการหนึ่งของโรคต่าง ๆ ดังนี้

  • โรคลำไส้แปรปรวน
  • ภาวะจุลินทรีย์ในลำไส้เล็กเจริญเติบโตมากผิดปกติ
  • ย่อยสารอาหารคาร์โบไฮเดรตบางชนิดไม่ได้
  • โรคกระเพาะอาหาร
  • ท้องผูกเรื้อรัง
  • ติดเชื้อแบคทีเรียเอชไพโลไร
  • นิ่วในถุงน้ำดี
  • ก้อนเนื้องอกและมะเร็งในช่องท้อง เช่น กระเพาะอาหาร ตับ รังไข่
  • มีน้ำในช่องท้องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ตับแข็ง การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง
  • กลุ่มอาการก่อนเป็นประจำเดือน
  • โรคอื่นๆ เช่น ลำไส้อุดตันเทียม

เมื่อไหร่ที่ควรพบแพทย์

บ่อยครั้งที่อาการท้องอืดเกิดจากการบริโภคอาหาร เช่น รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่ทำให้เกิดแก๊สมาก อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง ความเครียด แต่ควรรีบไปพบแพทย์เมื่อใดก็ตามที่มีอาการผิดปกติดังนี้

  • อาเจียนบ่อยหรืออาเจียนเป็นเลือด
  • ตัวเหลือง ตาเหลือง
  • ปวดท้องรุนแรง
  • ถ่ายเหลวเรื้อรัง ถ่ายเป็นเลือด
  • น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • ประจำเดือนผิดปกติ

จะรักษาและป้องกันท้องอืดได้อย่างไร

การป้องกันและรักษาอาการท้องอืดขึ้นอยู่กับสาเหตุ ทั้งนี้หากไม่ได้มีสาเหตุจากโรคที่รุนแรง ส่วนใหญ่มักเกิดจากมีแก๊สหรือลมอยู่ในทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถป้องกันอาการท้องอืดได้ด้วยตัวเอง ดังนี้

  • หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มรสหวานจัด โซดา น้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์จากนมกรณีที่สังเกตได้ว่ามีอาการมากขึ้นหลังบริโภค และรับประทานอาหารผัก ผลไม้ ในปริมาณที่พอเหมาะ
  • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ไม่รับประทานอาหารครั้งละมาก ๆ หรือเร็วจนเกินไป หลีกเลี่ยงการนั่งเฉยๆ หรือนอนทันทีหลังรับประทานอาหารเสร็จ
  • รับประทานอาหารสุก สะอาด ไม่มีไขมันสูงเกินไป
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน
  • ออกกำลังกาย เพื่อช่วยกระตุ้นระบบย่อยอาหารและขับถ่าย
  • จัดการกับความเครียด เช่น ทำกิจกรรมที่ผ่อนคลาย เช่น โยคะ ฝึกหายใจ ทำสมาธิ
  • ไม่สูบบุหรี่ การสูบบุหรี่เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคกระเพาะอาหาร

หากคุณมีปัญหาท้องอืดเรื้อรังหรือมีอาการอื่นๆที่ผิดปกติร่วมด้วย ศูนย์เฉพาะทางด้านการทำงานระบบทางเดินอาหาร โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ยินดีให้คำปรึกษา วินิจฉัยและรักษาโดยทีมแพทย์ผู้ชำนาญเฉพาะทางที่มีประสบการณ์ในการรักษาโรคของระบบทางเดินอาหารอย่างครอบคลุม

เมื่อมีอายุครรภ์ได้ 3 เดือน คุณแม่จะมีอาการโดยปกติอยู่ 2 อย่างด้วยกันคือ อาการแพ้ท้องรุนแรงขึ้น กับอาการแพ้ท้องเริ่มดีขึ้น ในกรณีที่อาการแพ้ท้องเริ่มดีขึ้นก็ต้องขอแสดงความยินดีด้วย แต่สำหรับคนที่อาการแพ้ท้องรุนแรงกว่าเดิม ก็ไม่ต้องตกใจไปนะคะ นี่ถือเป็นอาการปกติที่พบได้ในช่วงอายุครรภ์ 3 เดือนค่ะ

  • ส่วนหน้าท้องของคุณแม่อายุครรภ์ 3 เดือนจะยังไม่มีได้มีการขยายใหญ่จนเห็นได้ชัด หรือเรียกได้ว่าในช่วง 3 เดือนแรกนั้น หน้าท้องไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเลย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณแม่เป็นคนที่ออกกำลังกายบ่อย ๆ และมีกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวที่แข็งแรง กว่าที่จะเริ่มเห็นว่าท้องขยายก็อาจจะเริ่มเข้าสู่ช่วงอายุครรภ์ 4-5 เดือนขึ้นไป และคุณแม่ซึ่งท้องครั้งที่ 2 หรือท้องครั้งที่ 3 แล้ว ก็อาจจะสังเกตได้ว่าหน้าท้องเริ่มมีการขยายขึ้นมาเล็กน้อย ซึ่งนั่นก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีค่ะ เพียงแต่ว่าไม่ใช่คุณแม่ทุกคนที่จะมีหน้าท้องขยายอย่างชัดเจนในอายุครรภ์ 3 เดือน
  • ในช่วงตั้งท้อง 3 เดือน หรืออายุครรภ์11-14 สัปดาห์ ทารกในครรภ์กำลังพัฒนาต่อมรับรส และเรียนรู้รสชาติต่าง ๆ นั่นหมายความว่าอาหารที่คุณแม่รับประทานจะเป็นตัวกำหนดนิสัยการกินของลูกในอนาคต และถ้าคุณแม่เลือกที่จะให้นมลูกเองหลังคลอด เขาก็จะจดจำรสชาติที่อยู่ในน้ำนมของคุณแม่ด้วย

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

เลือกอ่านตามหัวข้อ

• • • • • • • •

เมื่อตั้งท้องมาถึง 3 เดือนแล้ว คุณแม่หลาย ๆ คนก็จะเริ่มสังเกตเห็นอาการคนท้องที่เห็นชัดเจนมากขึ้น และเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายหลายอย่าง รวมถึงทารกในครรภ์เองก็เริ่มมีพัฒนาการที่เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย บทความนี้จาก Enfa มีสาระดี ๆ สำหรับคุณแม่ที่อายุครรภ์ 3 เดือนมาฝากค่ะ

ท้อง 3 เดือน แปลว่าอะไร? อายุครรภ์ 3 เดือน นับจากอะไร?


ท้อง 3 เดือน คือ คุณแม่มีอายุครรภ์ได้ 3 เดือนแล้ว และมีอายุครรภ์ระหว่าง 9-13 สัปดาห์ โดยอายุครรภ์ของคุณแม่จะเริ่มนับตั้งแต่วันแรกที่มีประจำเดือนครั้งล่าสุด จากนั้นก็จะนับเพิ่มสัปดาห์ถัดไปเรื่อย ๆ เป็น 2 เดือน 3 เดือน เรื่อยไปจนกระทั่ง 9 เดือน ซึ่งจะเป็นช่วงไตรมาสสาม และใกล้จะมีการคลอดเกิดขึ้น

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง
ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อาการคนท้อง 3 เดือน เป็นยังไงบ้าง


เมื่อมีอายุครรภ์ได้ 3 เดือน คุณแม่จะมีอาการโดยปกติอยู่ 2 อย่างด้วยกันคือ อาการแพ้ท้องรุนแรงขึ้น กับอาการแพ้ท้องเริ่มดีขึ้น ในกรณีที่อาการแพ้ท้องเริ่มดีขึ้นก็ต้องขอแสดงความยินดีด้วย แต่สำหรับคนที่อาการแพ้ท้องรุนแรงกว่าเดิม ก็ไม่ต้องตกใจไปนะคะ นี่ถือเป็นอาการปกติที่พบได้ในช่วงอายุครรภ์ 3 เดือนค่ะ

แต่...นอกจากอาการแพ้ท้องแล้ว คุณแม่ที่อายุครรภ์ 3 เดือน ก็ยังสามารถพบกับอาการอื่น ๆ ได้อีก ดังนี้

  • คลื่นไส้และอาเจียน
  • อาการท้องผูก ท้องอืด
  • การเปลี่ยนแปลงของเต้านมเริ่มชัดขึ้น เช่น เต้านมมีอาการบวม คัน และหัวนมเริ่มมีสีคล้ำขึ้น
  • เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
  • วิงเวียนศีรษะ
  • ปวดศีรษะ
  • อารมณ์แปรปรวนง่าย
  • ตกขาวเพิ่มขึ้น
  • เบื่ออาหารมากขึ้น หรืออยากอาหารมากขึ้น

อย่างไรก็ตาม มีคุณแม่หลายคนที่จนอายุครรภ์ครบ 3 เดือนแล้ว ก็ยังไม่มีอาการใด ๆ เลย ทั้งที่รู้ตัวแล้วว่ากำลังตั้งครรภ์และทั้งที่ยังไม่รู้ตัวว่ากำลังตั้งครรภ์ สิ่งนี้ไม่ถือว่าเป็นเรื่องผิดปกติหรือเป็นสัญญาณอันตราย เพราะถึงแม้ว่าอาการแพ้ท้องจะเป็นเรื่องปกติของการตั้งครรภ์ แต่ไม่ใช่คุณแม่ทุกคนที่จะมีอาการแพ้ท้อง และแน่นอนว่าไม่ใช่คุณแม่ทุกคนจะโชคดีเช่นนี้ค่ะ

ตั้งครรภ์ 3 เดือน แล้วถึงค่อยบอกให้คนอื่นรู้ว่าท้อง ทำไมใคร ๆ ก็แนะนำให้แม่ท้องทำแบบนี้

จริง ๆ แล้วไม่ได้มีกฎตายตัวในเรื่องของการเปิดเผยว่ากำลังตั้งครรภ์อยู่ แต่โดยมากมักเป็นความเชื่อส่วนบุคคลที่ถูกส่งต่อกันมาว่าห้ามบอกใครว่ากำลังตั้งท้องจนกว่าจะพ้น 3 เดือนไปแล้ว เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสิ่งไม่ดีหรือสิ่งอัปมงคลกับการตั้งครรภ์ ซึ่งก็แน่นอนว่าไม่มีผลการศึกษาและผลการวิจัยรองรับความเชื่อนี้แต่อย่างใด

อย่างไรก็ตาม สำหรับเหตุผลทางการแพทย์แล้ว มองว่าช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์นั้นเป็นช่วงที่การตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่อการแท้งสูงมาก ซึ่งถ้าหากในช่วงนี้ดูแลร่างกายไม่ดี กินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือมีวิถีชีวิตประจำวันที่ไม่ดีต่อสุขภาพ ก็เสี่ยงที่จะทำให้เกิดการแท้งขึ้นมาได้

ดังนั้น ก็อาจเป็นอีกหนึ่งเหตุผลที่คุณแม่หลาย ๆ คนก็อาจจะอยากให้แน่ใจก่อนว่าการตั้งครรภ์นี้จะสมบูรณ์ หรือแน่ใจว่าท้องจริง ๆ เพราะถ้าเกิดว่าแท้งไปก่อน หรือไม่ได้ท้องจริง ๆ ก็คงต้องเสียเวลามาพูดอธิบายกันไม่รู้จบ

ร่างกายของคุณแม่เมื่อตั้งครรภ์ 3 เดือน มีความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง


คนท้อง 3 เดือน ท้องใหญ่แค่ไหน: เข้าใจลักษณะหน้าท้องของคนท้อง 3 เดือน

เมื่อตั้งท้องได้ 3 เดือน คุณแม่หลาย ๆ คนก็อาจจะเริ่มสงสัยกันแล้วว่า เอ๊! ท้อง 3 เดือนใหญ่แค่ไหนแล้วนะ? เพราะผ่านมาตั้ง 3 เดือนแล้วคุณแม่ก็อาจจะรู้สึกว่าหน้าท้องฉันเริ่มใหญ่ขึ้นแล้วนะ

แต่จริง ๆ แล้วสำหรับคุณแม่ที่ท้องแรก หน้าท้องจะยังไม่มีได้มีการขยายใหญ่จนเห็นได้ชัดแต่อย่างใด อาจจะเรียกได้ว่าในช่วง 3 เดือนแรกนั้น หน้าท้องไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเลย

โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณแม่เป็นคนที่ออกกำลังกายบ่อย ๆ และมีกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัว (core muscles) ที่แข็งแรง กว่าที่จะเริ่มเห็นว่าท้องขยายก็อาจจะเริ่มเข้าสู่ช่วงอายุครรภ์ 4-5 เดือนขึ้นไป

แต่ถ้าคุณแม่ท้องครั้งที่ 2 หรือท้องครั้งที่ 3 แล้ว ก็อาจจะสังเกตได้ว่าหน้าท้องเริ่มมีการขยายขึ้นมาเล็กน้อย ซึ่งนั่นก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีค่ะ เพียงแต่ว่าไม่ใช่คุณแม่ทุกคนที่จะมีหน้าท้องขยายอย่างชัดเจนในช่วงนี้

เพราะนอกจากปัจจัยในเรื่องของการตั้งครรภ์ครั้งแรกแล้ว ขนาดของหน้าท้องตอนตั้งครรภ์ก็ยังขึ้นอยู่กับสรีระ ส่วนสูง น้ำหนัก และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวด้วย ดังนั้น ในช่วงเดือนที่ 3 ของการตั้งครรภ์นี้คุณแม่อาจจะมีหน้าท้องที่ขยายขึ้นเล็กน้อยหรือไม่ก็ได้ ไม่ใช่เรื่องที่ผิดปกติแต่อย่างใดค่ะ

ท้อง 3 เดือน น้ำหนักของคุณแม่ควรเพิ่มขึ้นกี่กิโลกรัม

คุณแม่แต่ละคนมีน้ำหนักตัวที่แตกต่างกัน นั่นทำให้น้ำหนักที่จะต้องเพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์เปลี่ยนไปด้วย ซึ่งก่อนจะรู้ว่าน้ำหนักแม่ตั้งครรภ์ควรจะเพิ่มน้ำหนักขึ้นเท่าไหร่ในแต่ละไตรมาส คุณแม่จะต้องคำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย BMI ของตัวเองเสียก่อน

เมื่อได้ค่า BMI มาแล้ว น้ำหนักของคุณแม่ในแต่ละไตรมาสจะมีการเพิ่มขึ้นที่แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปแล้ว สำหรับคุณแม่ที่มีค่า BMI ปกติ จะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นในแต่ละไตรมาส ดังนี้

  • ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสแรกนี้ทารกยังตัวเล็กอยู่ คุณแม่ยังไม่จำเป็นที่จะต้องเพิ่มน้ำหนักให้มากเกินกว่า 1-2 กิโลกรัม
  • ไตรมาสที่ 2 ระยะนี้ทารกมีขนาดตัวที่โตขึ้น ทำให้คุณแม่อาจจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นราว ๆ 5-6 กิโลกรัม
  • ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสสุดท้ายทารกมีขนาดตัวที่พร้อมสำหรับการคลอดที่เริ่มใกล้มาถึง โดยจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 3.5-4.5 กิโลกรัม แต่เนื่องจากเป็นช่วงที่ทารกมีขนาดตัวใหญ่ขึ้น คุณแม่บางคนอาจอึดอัดท้องจนกินอะไรได้น้อยลง

ในช่วงไตรมาสที่สามคุณแม่บางคนมีน้ำหนักที่ลดลง หากน้ำหนักลดลงมาไม่กี่กิโลกรัมก็อย่าตกใจ ถือเป็นเรื่องปกติ

อัลตราซาวนด์ท้อง 3 เดือน คุณแม่จะเห็นอะไรบ้างนะ


ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

การอัลตราซาวนด์ในอายุครรภ์ 3 เดือน แพทย์จะสามารถกำหนดวันคลอดได้ เพราะได้ทราบข้อมูลอายุครรภ์ที่แน่นอนจากการอัลตราซาวนด์

มากไปกว่านั้น คุณแม่จะได้เห็นขนาดของทารกที่ชัดเจนมากขึ้น เห็นจำนวนของทารกในครรภ์ชัดเจน ว่ากำลังอุ้มท้องลูกคนเดียว หรือมีลูกแฝด และยังสามารถเห็นอัตราการเต้นของหัวใจของทารกในครรภ์ด้วย

ที่สำคัญที่สุดคือ การอัลตราซาวนด์เมื่ออายุครรภ์ 3 เดือนนั้น สามารถเห็นอวัยวะที่ผิดปกติของทารกในครรภ์ได้ รวมถึงเห็นความผิดปกติในอุ้งเชิงกรานของมารดาด้วย

ขนาดและน้ำหนักทารกในครรภ์ 3 เดือน

เมื่ออายุครรภ์ 3 เดือน ทารกจะมีน้ำหนักเพียง 28 กรัมเท่านั้น และมีความยาวเพียง 7.4 เซนติเมตร หรือถ้าจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพก็คือ ช่วงอายุครรภ์ 3 เดือนนี้ (สัปดาห์ที่ 9-13) ทารกจะมีขนาดที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละสัปดาห์ ดังนี้:

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อายุครรภ์ 9 สัปดาห์ มีขนาดเท่ากับผลเชอร์รี

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ มีขนาดเท่ากับสตรอว์เบอร์รี

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อายุครรภ์ 11 สัปดาห์ มีขนาดเท่ากับผลมะเดื่อ

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ มีขนาดเท่ากับผลมะนาว

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

อายุครรภ์ 13 สัปดาห์ มีขนาดเท่ากับผลเลมอน

แล้วท้องแฝด 3 เดือน จะเป็นยังไงบ้างนะ

สำหรับคุณแม่ที่ตั้งครรภ์แฝด ทารกแต่ละคนก็จะมีพัฒนาการเหมือนกับการตั้งครรภ์ลูกคนเดียวตามปกติ ทั้งน้ำหนักและขนาดตัว เพียงแต่พัฒนาการของทารกแฝดในครรภ์นั้น จะเป็นพัฒนาการแบบคูณสอง เพราะว่ามีทารกในครรภ์มากกว่า 1 คน ดังนั้น พัฒนาการของทารกในครรภ์ ก็จะเป็นพัฒนาการที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน 2 คน

พัฒนาการทารกในครรภ์ 3 เดือน ที่คุณแม่ควรรู้


ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

ในช่วงตั้งท้อง 3 เดือน หรือสัปดาห์ที่ 11-14 ทารกในครรภ์กำลังพัฒนาต่อมรับรส และเรียนรู้รสชาติต่าง ๆ นั่นหมายความว่าอาหารที่คุณแม่รับประทานจะเป็นตัวกำหนดนิสัยการกินของลูกในอนาคต และถ้าคุณแม่เลือกที่จะให้นมลูกเองหลังคลอด เขาก็จะจดจำรสชาติที่อยู่ในน้ำนมของคุณแม่ด้วย

เนื่องจากนิสัยการกินของเด็กเริ่มพัฒนาตั้งแต่ในครรภ์ คุณแม่จึงจำเป็นต้องรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้ลูกน้อยคุ้นเคยตั้งแต่อยู่ในครรภ์ คุณแม่ควรเลือกอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน หรือโปรตีนทดแทนเนื้อสัตว์อื่น ๆ เช่น เต้าหู้ นมถั่วเหลืองเสริมแคลเซียม อาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ซึ่งสำคัญต่อการสร้างกระดูกและฟันที่แข็งแรงของทารก อาทิ งา อัลมอนด์ ผักกวางตุ้ง กุ้งแห้ง และปลาต่างๆ

นอกจากนี้ทารกในครรภ์ 3 เดือน ก็จะเริ่มมีพัฒนาการด้านอื่น ๆ ร่วมด้วย ดังนี้

  • ทารกมีขนาดตัวยาวจากศีรษะจนปลายเท้าประมาณ 7.4 เซนติเมตร
  • นิ้วมือและนิ้วเท้ายาวขึ้น
  • สายสะดือมีการเชื่อมต่อระหว่างทารกในครรภ์และรกที่ติดกับผนังมดลูกจะทำการดูดซับสารอาหารจากกระแสเลือด รวมถึงการลำเลียงออกซิเจนไปยังทารกในครรภ์และนำของเสียออกจากทารกในครรภ์
  • กระดูกเริ่มแข็งขึ้น
  • มีการสร้างผิวหนังและเล็บ
  • มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเกิดขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการเริ่มสร้างอวัยวะเพศของทารก
  • ไตเริ่มสร้างปัสสาวะ
  • เริ่มมีการสร้างต่อมเหงื่อ
  • เปลือกตาปิดเข้าตากัน

อาหารบํารุงครรภ์ 3 เดือนที่คุณแม่ควรรับประทาน


ช่วง 3 เดือนแรก คุณแม่ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพราะจะช่วยสร้างสุขภาพที่ดีต่อการตั้งครรภ์ และลดความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ เช่น การแท้ง หรือความพิการของทารก โดยอาหารที่เหมาะกับอายุครรภ์ 3 เดือน มีดังนี้

  • โฟเลตหรือกรดโฟลิก เป็นสารอาหารมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาสมองและไขสันหลังของทารก และคุณแม่ควรได้รับโฟเลตอย่างเพียงพอในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ อาหารที่อุดมด้วยโฟเลต ได้แก่ บร็อคโคลี่ ผลไม้รสเปรี้ยว ถั่ว ถั่ว ถั่วเลนทิล อะโวคาโด กะหล่ำดาว กระเจี๊ยบเขียว หน่อไม้ฝรั่ง และผักใบเขียวเข้ม เช่น ผักโขมและคะน้า
  • ดีเอชเอ DHA (Docosahexaenoic Acid) คือ กรดไขมันโอเมก้า 3 ชนิดหนึ่ง ที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาทางสมอง ดวงตา และระบบประสาท นอกจากนี้ยังอาจช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์บางอย่าง เช่น การคลอดก่อนกำหนด หรือโรคซึมเศร้าหลังคลอดได้อีกด้วย อาหารที่มีดีเอชเอสูง เช่น ปลาทะเล อโวคาโด ไข่แดง เป็นต้น คุณแม่ควรกินอย่างน้อยสัปดาห์ละสองครั้ง หรือดื่มนมสูตรเสริมดีเอชเอก็ดีเช่นกันค่ะ
  • ไอโอดีน หากคุณแม่ตั้งครรภ์ได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอ อาจทำให้ระดับฮอร์โมนไทรอยด์ในร่างกายผิดปกติ และนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ เช่น โรคไทรอยด์ระหว่างตั้งครรภ์ได้ ซึ่งไอโอดีนอยู่ในจำพวกอาหารทะเลทุกชนิด ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนม กระเทียม หรืองา
  • คาร์โบไฮเดรต การกินคาร์โบไฮเดรตในปริมาณที่เหมาะสม อาจช่วยลดอาการแพ้ท้องในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ได้ เนื่องจากเป็นสารอาหารที่ย่อยง่าย และให้พลังงานสูง ช่วยลดอาการคลื่นไส้ อย่างไรก็ตาม คนท้องไม่ควรกินคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป เพราะอาจทำให้เสี่ยงเป็นโรคอ้วนระหว่างตั้งครรภ์ได้
  • โคลีน พบมากในอาหารจำพวกไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน แซลมอน ไก่ บร็อคโคลี่ กะหล่ำดอก เป็นต้น จัดว่าเป็นอีกหนึ่งสารอาหารสำคัญที่คุณแม่ควรได้รับจากการกินอาหารในแต่ละวัน เพราะโคลีนมีส่วนสำคัญในการบำรุงระบบประสาทและสมอง ช่วยพัฒนาสมองของทารกในครรภ์ การกินอาหารที่ให้สารโคลีนอย่างเพียงพอจะช่วยลดความเสี่ยงของภาวะความบกพร่องที่ระบบท่อประสาทของทารกในครรภ์ได้
  • ไฟเบอร์ เป็นหนึ่งในสารอาหารสำคัญที่ไม่ว่าจะเป็นแม่ก่อนคลอด แม่อุ้มท้อง แม่หลังคลอด หรือแม่ให้นมลูกก็ควรได้รับอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างตั้งครรภ์ ควรกินอาหารที่มีไฟเบอร์สูงเป็นประจำ เพราะไฟเบอร์จะช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและป้องกันโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ นอกจากนี้ ไฟเบอร์ยังช่วยลดความเสี่ยงของความดันโลหิตสูงและอาจช่วยป้องกันภาวะครรภ์เป็นพิษได้อีกด้วย โดยสามารถได้ไฟเบอร์จากอาหารจำพวกผักและผลไม้ต่าง ๆ
  • สังกะสี เป็นแร่ธาตุสำคัญที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบภูมิคุ้มกันและระบบประสาทที่แข็งแรง อาหารที่อุดมด้วยสังกะสี เช่น เนื้อวัว ผักโขม จมูกข้าวสาลี เห็ด หอยนางรม เนื้อแกะ เมล็ดฟักทองและสควอช ไก่ ถั่ว เป็นต้น
  • โปรตีน เป็นส่วนประกอบสำคัญของดีเอ็นเอ เนื้อเยื่อ และกล้ามเนื้อ ทั้งยังมีส่วนสำคัญในการกระตุ้นเอนไซม์ในร่างกายและจำเป็นสำหรับการพัฒนาที่เหมาะสมของทารกในครรภ์อาหารที่อุดมด้วยโปรตีน เช่น พืชตระกูลถั่ว คีนัว ถั่วเลนทิล ไก่ เนยถั่ว เนื้อสัตว์ และถั่วเหลือง เป็นต้น
  • กรดไขมันโอเมก้า 3 มีความจำเป็นต่อการพัฒนาดวงตาและสมองในทารกในครรภ์ และมีส่วนสำคัญต่อสุขภาพของหัวใจ การทำงานที่เหมาะสมของระบบสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโตของผิวหนัง ผม และกระดูก อาหารที่อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมก้า เช่น น้ำมันพืช ปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน ถั่วเหลือง ถั่วและธัญพืชต่าง ๆ เป็นต้น
  • ธาตุเหล็ก สำคัญต่อกระบวนการสร้างเม็ดเลือดและการลำเลียงออกซิเจนไปยังทารก หากคุณแม่ได้รับแคลเซียมน้อย ก็จะส่งผลให้การลำเลียงออกซิเจนไปยังทารกได้น้อย ซึ่งหากทารกได้ออกซิเจนน้อย ก็จะส่งผลต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโต ทั้งยังเสี่ยงต่อภาวะโลหิตจางอีกด้วย อาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก เช่น เนื้อสัตว์ ปลา เต้าหู้ ตับ ถั่วเหลือง ธัญพืชเต็มเมล็ด เช่น ข้าวกล้อง ถั่วและเมล็ดพืช ผักใบเขียวเข้ม ผลไม้แห้ง และไข่ เป็นต้น
  • วิตามินซี หากธาตุเหล็กเป็นสารอาหารสำคัญที่ขาดไม่ได้ วิตามินซีก็เป็นอีกหนึ่งคู่ดูโอ้ของธาตุเหล็กที่ไม่ควรห่างกัน เพราะวิตามินซีจะทำหน้าที่สำคัญในการการดูดซึมธาตุเหล็กในร่างกาย ช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้อย่างเพียงพอ อาหารที่อุดมด้วยวิตามินซี ได้แก่ พริกเขียวและแดง มะเขือเทศ มันเทศ บร็อคโคลี่ กะหล่ำดาว กะหล่ำดอก กะหล่ำปลี และผักใบเขียว เป็นต้น
  • วิตามินดี เป็นสารอาหารที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาระบบภูมิคุ้มกัน การพัฒนาฟันและกระดูกที่แข็งแรง และการแบ่งเซลล์ที่แข็งแรงในทารก อาหารที่อุดมด้วยวิตามินดี เช่น ปลาที่มีไขมันสูง เช่น ปลาแซลมอน ปลาแมคเคอเรล ปลาทูน่า ไข่แดง น้ำมันตับปลา และนมหรือซีเรียลเสริมวิตามินดี
  • วิตามินบี 6 มีสรรพคุณช่วยลดอาการคลื่นไส้และอาเจียน อาหารที่อุดมด้วยวิตามินบี 6 เช่น เนื้อไม่ติดมัน สัตว์ปีก ไข่ ผลไม้รสเปรี้ยว พืชตระกูลถั่ว ถั่วเหลือง ถั่ว เมล็ดพืช และอะโวคาโด

หรือกลุ่มอาหารที่คุณแม่ควรจะเน้นรับประทานให้เพียงพออยู่ตลอดการตั้งครรภ์ คือ

  • ผักต่าง ๆ คุณแม่ตั้งครรภ์ควรที่จะต้องกินผักหรือมีผักอย่างน้อย 3 ถ้วยต่อวัน เพื่อให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายของแม่และทารกในครรภ์ และควรเลือกผักหลากสี หลากชนิดเพื่อให้ได้รับสารอาหารและรสชาติที่หลากหลาย เช่น คะน้า ผักโขม บร็อคโคลี่ มันเทศ มะเขือเทศ แครอท ฟักทอง พริกหยวก ข้าวโพด มะเขือม่วง กะหล่ำปลี ไม้ตีกลอง เป็นต้น
  • ผลไม้ต่าง ๆ เนื่องจากผลไม้มีสารอาหารและสารต้านอนุมูลอิสระมากมายที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดีของทารก ซึ่งผลไม้สดจะให้คุณค่าทางสารอาหารที่ดีกว่าน้ำผลไม้และผลไม้กระป๋องหรือผลไม้แช่แข็ง โดยผลไม้ที่เหมาะกับแม่ตั้งครรภ์ เช่น เมล่อน อะโวคาโด ทับทิม กล้วย ฝรั่ง ส้ม มะนาวหวาน สตรอเบอร์รี่ และแอปเปิ้ล เป็นต้น
  • ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากนม เพราะผลิตภัณฑ์จากนมนั้นถือเป็นแหล่งแคลเซียมชั้นดี ซึ่งแคลเซียมนั้นสำคัญมากสำหรับการพัฒนากระดูกที่แข็งแรงและแข็งแรง โดยคุณแม่สามารถได้รับแคลเซียมจากอาหารหลากหลายชนิด เช่น นม โยเกิร์ต และชีสแข็ง เป็นต้น

นมสำหรับแม่ตั้งครรภ์ เสริมสร้างสุขภาพการตั้งครรภ์ที่แข็งแรง


บางครั้งคุณแม่หลาย ๆ คนอาจจะมีปัญหาเรื่องของการแพ้นมวัว หรือแพ้นมจากพืชชนิดอื่น ๆ นมสำหรับแม่ตั้งครรภ์ถือเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่ดีที่จะช่วยเสริมสุขภาพสำหรับแม่ตั้งครรภ์ ที่สำคัญคือควรเลือกนมสำหรับคนท้องที่มี DHA และโฟเลตสูง ซึ่งเป็นสารอาหารสำคัญสำหรับแม่ตั้งครรภ์

  • DHA ซึ่งเป็นกรดไขมันโอเมก้า 3 ที่ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้ จำเป็นต้องได้รับจากการกินอาหาร โดย DHA มีสำคัญต่อกระบวนการสร้างเซลล์ต่าง ๆ ของทารกในครรภ์ เช่น สมอง ผิวหนัง ดวงตา ทั้งยังช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์บางอย่าง เช่น การคลอดก่อนกำหนด หรือโรคซึมเศร้าหลังคลอด
  • โฟเลต ซึ่งเป็นกลุ่มวิตามินบีที่สำคัญมาก หากคุณแม่ได้รับโฟเลตไม่เพียงพอ ก็อาจส่งผลให้ลูกน้อยเกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบประสาทได้ เพราะโฟเลตทำหน้าที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ ทั้งยังมีส่วนสำคัญในการสร้างเม็ดเลือดแดง คุณแม่ตั้งครรภ์ในเดือนแรกจำเป็นต้องได้รับโฟเลตเพื่อช่วยในการสร้างหลอดประสาท และสมองที่สมบูรณ์ของทารก

ต องการแผนท ไปว ดใหม โคกมะร ม อ างทอง

เช็กลิสต์สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ 3 เดือน ผ่านไตรมาสแรกไปแล้ว คุณแม่ต้องทำอะไรบ้างนะ


สำหรับช่วงไตรมาสแรกนี้ คุณแม่มีหลาย ๆ สิ่งที่จะต้องคำนึงถึง ได้แก่

  • การไปพบแพทย์ หรือไปตามนัดหมายการฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง
  • ปรึกษากับแพทย์เกี่ยวกับการออกกำลังกายว่าออกกำลังกายแบบไหนปลอดภัยต่อการตั้งครรภ์ และการออกกำลังกายแบบไหนที่ควรหลีกเลี่ยง
  • รับประทานวิตามินก่อนคลอด เช่น โฟลิก แคลเซียม ธาตุเหล็ก เป็นต้น
  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และหลากหลาย
  • พักผ่อนให้เพียงพอ พยายามอย่านอนดึก
  • หลังผ่านไตรมาสแรกไปแล้วคุณพ่อคุณแม่ก็อาจจะเริ่มตั้งชื่อลูกกันได้แล้ว
  • เมื่อจบไตรมาสแรกคุณพ่อคุณแม่ก็อาจจะเริ่มบอกข่าวดีกับคนรอบข้าง เพราะอายุครรภ์ก้าวพ้นความเสี่ยงสูงของไตรมาสแรกมาแล้ว

ไขข้อข้องใจเรื่องการตั้งครรภ์ 3 เดือนกับ Enfa Smart Club


1. ตั้งครรภ์ 3 เดือน ท้องไม่โต ผิดปกติหรือไม่

อายุครรภ์ 3 เดือน หน้าท้องไม่ได้ขยายใหญ่จนเห็นได้ชัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นท้องแรก หรือมีกล้ามเนื้อแกนกลางลำตัวที่แข็งแรง ก็จะมองไม่เห็นความแตกต่างของหน้าท้องเลย แต่ถ้าตั้งท้องสองหรือท้องสาม ก็อาจจะเห้นว่าหน้าท้องเริ่มขยายขึ้นมาเล็กน้อย

อย่างไรก็ตาม ถ้ามีอายุครรภ์ 3 เดือนแล้ว และหน้าท้องังไม่ได้ขยายหรือท้องไม่โต นั่นถือเป็นเรื่องปกติ ไม่ใช่สัญญาณความผิดปกติแต่อย่างใด

2. เด็กในครรภ์ 3 เดือน เริ่มขยับตัวหรือยัง

ในช่วง 3 เดือนแรกนั้น ทารกในครรภ์เริ่มมีการขยับตัวบ้าง แต่ว่าจะขยับเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ไม่ได้ขยับตัวบ่อยหรือขยับตัวแรงจนกระทั่งคุณแม่สามารถสัมผัสได้ว่าลูกดิ้น

3. ท้อง 3 เดือน ปวดท้องหน่วง ๆ อันตรายไหม

อาการปวดหน่วงท้องขณะตั้งครรภ์ อาจเกิดจากสาเหตุที่อันตรายและสาเหตุที่ไม่น่าวิตกกังวล ดังนั้น หากมีอาการปวดหน่วงท้องเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ หรืออาการปวดหน่วงท้องติดต่อกันตั้งแต่ 1 วันขึ้นไปแล้วอาการไม่ดีขึ้นเลย ให้รีบไปพบแพทย์ทันทีเพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษา

4. ตั้งครรภ์ 3 เดือน ท้องแข็งเป็นก้อน เกิดจากอะไร

อาการท้องแข็งมักจะเริ่มปรากฎให้เห็นตั้งแต่อายุครรภ์ 7 เดือนขึ้นไป ดังนั้น หากมีอาการท้องแข็งตั้งแต่ไตรมาสแรก ให้รีบไปพบแพทย์ทันทีเพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษา เพราะอาจเป็นไปได้ว่าเกิดจากสาเหตุที่ไม่น่ากังวล หรือเป็นสัญญาณอันตรายของการตั้งครรภ์ก็ได้ จำเป็นจะต้องเข้ารับการวินิจฉัยจากแพทย์

5. ท้อง 3 เดือน ท้องแข็ง อันตรายไหม

อาการท้องแข็งมักจะเริ่มปรากฎให้เห็นตั้งแต่อายุครรภ์ 7 เดือนขึ้นไป ดังนั้น หากมีอาการท้องแข็งตั้งแต่ไตรมาสแรก ให้รีบไปพบแพทย์ทันทีเพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรับการรักษา เพราะอาจเป็นไปได้ว่าเกิดจากสาเหตุที่ไม่น่ากังวล หรือเป็นสัญญาณอันตรายของการตั้งครรภ์ก็ได้ จำเป็นจะต้องเข้ารับการวินิจฉัยจากแพทย์

6. ท้อง 3 เดือน ท้องกระตุก เกิดจากอะไร

อาการท้องกระตุกนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น ปัญหาเรื่องกล้ามเนื้อ หรือเกิดจากการเคลื่อนไหวของทารก แต่สาเหตุจากการเคลื่อนไหวของทารกนั้นส่วนมากมักจะพบในไตรมาส 2 และไตรมาส 3

7. ท้อง 3 เดือนคือกี่สัปดาห์

ท้อง 3 เดือน คุณแม่จะมีอายุครรภ์ระหว่าง 9-13 สัปดาห์

8. สะดือคนท้อง 3 เดือน จะเปลี่ยนไปไหม

ในช่วงไตรมาสแรกนั้น สะดือคนท้องจะยังไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงอะไร เพราะว่าหน้าท้องของคุณแม่ในไตรมาสแรกนั้นยังไม่ได้มีการขยายใหญ่จนส่งผลต่อรูปร่างและลักษณะของสะดือ แต่เมื่อเข้าไตรมาส 2 และไตรมาส 3 จึงจะพบว่าสะดือคนท้องมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด