รพ.สต.ตำบลแม นาจร อำเภอแม แจ ม จ งหว ดเช ยงใหม

ดาเนินการคัดกรองเพ่อื คน้ หาผู้ป่วยวัณโรคในกลมุ่ เปา้ หมาย คือผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผ้ปู ว่ ยเร้ือรัง ผู้สูงอายุ

และผู้ป่วยเอดส์ ได้ดาเนินการคัดกรองกลุ่มเส่ียงวัณโรค ปีงบประมาณ 2565 ไม่ได้มีการคัดกรอง

เนอ่ื งจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา-19

การดาเนินงาน/ผลการดาเนนิ งาน (เชงิ ปริมาณ/เชิงคุณภาพ) ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ

ตารางที่ 36 แสดงอัตราความสาเรจ็ การรักษาวณั โรครายใหมแ่ ละกลบั เปน็ ซ้า

ตวั ช้ีวัดและเกณฑ์เป้าหมาย ผลการประเมนิ ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563

อัตราความสาเรจ็ การรักษาวณั โรคราย จานวนกลมุ่ เปา้ หมายทัง้ หมด 1 0 0 ใหม่และกลับเปน็ ซ้า (>รอ้ ยละ ๘๕) (MOU) ผลงาน 1 0 0 รอ้ ยละ 100 00.00 00.00

อตั ราการตรวจพบผ้ปู ว่ ยวัณโรครายใหม่ จานวนกลุ่มเปา้ หมายท้งั หมด 0 1.63 1.63 และกลับเป็นซา้ (ร้อยละ ๘๒.๕ ของคา่ คาดประมาณ ๑๕๖ ตอ่ แสนประชากร) ผลงาน 000

(MOU) รอ้ ยละ 00.00 00.00 00.00

ท่มี า : ระบบ NTIP ประมวลผลวันที่ 30 กนั ยายน 2565

จากผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ 2565 อัตราความสาเร็จการรักษาวัณโรครายใหม่ และกลับเปน็ ซ้า จานวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 และไมพ่ บผปู้ ว่ ยวัณโรครายใหม่และกลับเปน็ ซ้า

การวเิ คราะหป์ ญั หาและปัจจัยทท่ี าให้การดาเนนิ งานประสบผลสาเร็จ ปัจจยั แห่งความสาเรจ็ /นวัตกรรมท่ีสามารถเปน็ แบบอยา่ งที่ดี 1. คัดกรองวัณโรคด้วยวาจา เอกซ์เรย์ปอด ในกลุ่มผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้สูงอายุ และ

กลุม่ ผู้ปว่ ยโรคเรื้อรงั ด้วยรถโมบายเอกซ์เรย์ จากรพ.อุตรดิตถ์ 2. การดูแลผู้ปว่ ยโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางมีการวางแผนการรักษาล่วงหน้าจัดหาพ่ีเล้ียง

กากับการกินยาทุกราย (เจ้าหน้าท่ี, อสม. แกนนาวัณโรค,ญาติ) และให้การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเย่ียมติดตามผู้ป่วย ครบตามเกณฑ์คุณภาพ (12 คร้ังตามเกณฑ์) ระยะ เขม้ ข้น 2 เดอื นแรก 8 ครั้ง, ระยะตอ่ เนือ่ ง 3-6 เดอื นหลัง 8 ครั้ง

ข้อเสนอแนะเพอ่ื ปรับปรุงพัฒนาเชงิ นโยบาย กฎ ระเบียบ หรือแนวทางปฏบิ ัติ 1. เปล่ียนการใช้ระบบถ่ายเอ็กซเรย์แบบดิจิตอล (PACS system) แทนการพิมพ์ฟิล์ม

แบบเดิมซ่ึงจะลดเวลาการ Chest X-ray และเพ่ิมเป้าหมายในการค้นหาผู้ป่วย ท้ังยังทาให้แพทย์

สรปุ ผลการดาเนินงานสาธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสุมขา้ ม ประจาปี 2565

45

สามารถขยายภาพ และปรับค่าความเข้มแสงของภาพถ่ายได้ ช่วยให้แพทย์สามารถเห็นรายละเอียด และวนิ จิ ฉยั โรคไดส้ มบูรณ์ยงิ่ ขน้ึ

ตาราง 37 แสดงผลการดาเนนิ งานค้นหาผ้ปู ่วยวณั โรค ปี 2565

กลุม่ เป้าหมาย จานวน จานวนท่ีรับคน้ หา พบกลุม่ เสี่ยง สง่ ต่อ วนิ จิ ฉยั เป็นวณั โรค

ผู้สัมผสั โรครว่ มบ้าน ทงั้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ผูป้ ่วยเรอ้ื รงั (X-ray ปอด) ผสู้ งู อายุ (60ปีข้นึ ไป)ทเี่ ป็น 1 1 100.00 0 00.00 0 00.00 0 00.00 โรคเรอ้ื รงั บคุ ลากรสาธารณสุข 0 0 0 0 00.00 0 00.00 0 00.00 ผูป้ ว่ ยเอดส์ ปีงบประมาณ2564 0 0 0 0 00.00 0 00.00 0 00.00

6 6 100.00 0 00.00 0 00.00 0 00.00 0 0 00.00 0 00.00 0 00.00 0 00.00

49 49 100.00 0 00.00 0 00.00 0 00.00

ปีงบประมาณ2563 49 49 100.00 0 00.00 0 00.00 0 00.00

ท่ีมา : โปรแกรม 506 สสจ.อตุ รดติ ถ์

งานโรคไข้เลือดออก

1.สถานการณ์ สถานการณ์ไข้เลือดออก รพ.สต.สุมข้าม ในปี 2562-2565 ไม่พบผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออก

คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.00 (ไมเ่ กิน 50 ตอ่ ประชากรแสนคน)

2. การดาเนนิ งาน/ผลการดาเนินงาน (เชิงปรมิ าณ/เชิงคณุ ภาพ)

ข้อมลู เชิงปรมิ าณ ตารางท่ี 38 แสดงอตั ราป่วยโรคไขเ้ ลอื ดออกและอัตราปว่ ยตายดว้ ยโรคไข้เลอื ดออก

ตวั ช้ีวัดและเกณฑเ์ ป้าหมาย ผลการประเมิน ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563

อตั ราป่วยโรคไขเ้ ลอื ดออก (ไม่เกิน 50 ตอ่ จานวนเกณฑเ์ ป้าหมายไมเ่ กิน 50 ตอ่ 0 0 0

ประชากรแสนคน) (MOU) ประชากรแสนคน

ผลงาน 0 0 0

คิดเป็นอตั ราป่วยต่อแสน ปชก. 00.00 00.00 00.00

อัตราปว่ ยตายด้วยโรคไข้เลอื ดออก ผลงาน 0 0 0

(ร้อยละ 0.10) (MOU) ร้อยละ 00.00 00.00 00.00

ทม่ี า : โปรแกรม 506 สสจ.อุตรดติ ถ์

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสมุ ขา้ ม ประจาปี 2565

46

3. การวิเคราะหป์ ัญหาและปัจจัยท่ีทาใหก้ ารดาเนนิ งานประสบผลสาเร็จ ปญั หาอุปสรรค 1. ตาบลนาขุม เป็นพื้นท่ีชายแดนมีช่องทางเข้าออกติดต่อกับประเทศเพ่ือนบ้านสปป.ลาว

หลายช่องทางมีทั้งชอ่ งทางผ่านด่านสากล และด่านประเพณี ทั้งยังมีแรงงานในประเทศเพ่ือนบ้านเข้า มารับจา้ งทางานทั้งแรงงานท่ีเขา้ มาอยา่ งถูกกฎหมาย และแรงงานที่ลักลอบข้ามเข้ามาทางานเป็นครั้ง คราวประชากรชาวต่างชาติเหล่าน้ีเป็นจุดอ่อนที่ยากต่อการคัดกรองและควบคุมโรคเป็นอย่างย่ิง เพราะมกี ารเคลื่อนย้ายสถานท่ี และแหล่งทีพ่ ักอยู่ตลอด

2. การป้องกนั โรคก่อนการระบาด และชว่ งทีม่ ีการระบาดยังไม่ได้ผล เนื่องจากประชาชนขาด ความตระหนัก ไม่ใส่ใจว่าเป็นปัญหา และความร่วมมือในการป้องกันควบคุมโรค ไม่ถูกต้อง/ ไม่ตอ่ เนอ่ื ง

3. ปัญหาขาดแคลนน้าในบางพื้นท่ีของหมู่บ้าน จึงทาให้ประชาชนนิยมใช้โอ่งใส่น้าไว้รอบ บ้านเป็นจานวนมากๆ และการใช้ส้วมซึมมากข้ึน ทาให้มีอ่างอาบน้า อ่างราดส้วม ท่ีเป็นแหล่ง เพาะพนั ธ์ยุ ุงลายมากข้ึน

ปจั จัยแห่งความสาเรจ็ /นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่างทดี่ ี 1. ทาสถานการณโ์ รคแจง้ ใหน้ ายอาเภอ อปท. กานัน ผู้ใหญ่บา้ น รพสต. ทราบทกุ สปั ดาห์ 2. การเฝา้ ระวังโรคและประเมนิ ความเส่ยี งต่อการเกิดโรคในระดับตาบล โดยจดั ทีม

ปฏิบัติการสุ่มลูกน้ายุงลายระดับอาเภอและตาบล เพื่อสุ่มสลับตาบลกันในแต่ละเดือน ประเมิน และ รายงานผลการดาเนนิ งานในที่ประชมุ หัวหน้าสว่ นราชการ

3. เมือ่ พบผูป้ ว่ ยใหม้ กี ารทาประชาคม แต่ประชาชนยงั ไมใ่ หค้ วามร่วมมือทจี่ ะ ดแู ลการจดั ลูกน้าด้วยตนเอง ยังพึ่งพา จนท.สาธารณสุข แกนนาซึ่งไม่เพียงพอต่อการรับมือการ ระบาด จึงเพิ่ม มาตรการทางกฎหม่บู า้ น หรอื กฎหมาย เพือ่ กระตนุ้ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมกันจัดลูกน้า และยุงตัวเต็ม วัยในครัวเรือนตนเองทุกหลังคาเรือน โดยการออกกฎหมู่บ้านหรือการใช้ข้อบัญญัติ และอาจ ประยุกต์ใช้ พรบ.ควบคุมโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยการแจ้งให้ชาวบ้านรู้ว่ามีกฎหมายฉบับน้ีท่ี สามารถให้โทษสาหรบั ครัวเรอื นที่ ไมใ่ ห้ความรว่ มมอื เพือ่ ใหเ้ กดิ ความยาเกรง

สรปุ ผลการดาเนินงานสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลสมุ ขา้ ม ประจาปี 2565

47

งานสรา้ งเสริมภมู คิ ้มุ กนั โรค

ตารางท่ี 39 แสดงความครอบคลมุ การให้บริการงานสรา้ งเสรมิ ภมู ิคมุ้ กนั โรค ปี 2563-2565

กจิ กรรม ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563 จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน 100.00 13/13 100.00 14/14 เด็กครบ 1 ปีรบั วคั ซีน MMR 5/5 5/5 100.00 27/27 100.00 5/5

เดก็ ครบ 1 ปีรับวคั ซนี ครบชุด 5/5 5/5 100.00 14/14 100.00 11/11 (BCG, HB3, DTP-OPV3, M) 4/4 4/4 10/10 10/10 100.00 12/12 100.00 14/14 เดก็ ครบ 2 ปีรบั วคั ซนี ครบชดุ 13/13 9/9 (BCG, HB3, DTP-OPV3, M, JE2) 9/9 13/13 100.00 18/18 100.00 9/9 100.00 12/13 92.31 13/13 เดก็ ครบ 3 ปรี บั วัคซนี ครบชุด 100.00 15/15 100.00 8/8 (BCG, HB3, DTP-OPV4, M, JE3) 100.00 6/6 100.00 4/4

เด็กครบ 5 ปีรบั วัคซนี ครบชดุ (BCG, HB3, DTP-OPV5, M, JE3)

นกั เรยี น ป.1 รับวัคซีน MMR

นักเรยี น ป.6 รบั วัคซีน DT 8/8 8/8

หญงิ ตั้งครรภ์รับวคั ซนี ปอ้ งกันบาดทะยัก 3/3 3/3 ครบชดุ

หมายเหตุ : ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2565

จากตาราง พบว่า ในปีงบประมาณ 2565 ผลการดาเนินงานการให้บริการงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค ในเด็กครบ 1 ปีรับวัคซีน MMR คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กครบ 1 ปีรับวัคซีนครบชุด (BCG ,HB3,DTP-OPV3,M) คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กครบ 2 ปีรับวัคซีนครบชุด (BCG,HB3, DTP-OPV3,M,JE2) คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กครบ 3 ปรี บั วัคซนี ครบชุด (BCG,HB3,DTPOPV4,M,JE3) คิดเป็นร้อยละ 100 เด็กครบ 5 ปีรับวัคซีนครบชุด (BCG, HB3, DTP-OPV5, M, JE3) คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียน ป.1 รับวัคซีน MMR คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียน ป.6 รับวัคซีน DT คิดเป็นร้อยละ 100 และหญงิ ต้ังครรภ์รับวคั ซีนป้องกนั บาดทะยกั ครบชดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 100

สรุปผลการดาเนินงานสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลสมุ ข้าม ประจาปี 2565

48

PP&P Excellence 1.3 การพัฒนางานควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่

งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1. สถานการณ์

จากสถานการณผ์ ปู้ ่วยโรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รังของตาบลสมุ ข้าม มีแนวโนม้ เพมิ่ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง ซึ่งในอนาคตจะส่งผลกระทบทาใหเ้ กดิ ความพิการและเสียชีวิต ซ่ึงมีสาเหตุจากปัจจัยเส่ียงหลายปัจจัย ที่เกิดจากพฤติกรรม วิถีชีวิต ส่ิงแวดล้อมและพันธุกรรม ได้แก่ การบริโภคอาหารท่ีไม่ได้สัดส่วน , การออกกาลงั กายไม่สมา่ เสมอ, ภาวะน้าหนกั เกนิ หรืออ้วน, การสูบบุหร่ี, การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และความเครยี ดเรือ้ รังส่งผลต่อการเกดิ อบุ ตั ิการณส์ ูงขน้ึ อย่างมาก

จากสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเร้ือรังของรพ.สต.สุมข้าม พบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ต่อประชากร 100,000 คน ปี 2563-2565 เป็น 4,933.59 (จานวน 52 คน), 5,597.72 (จานวน 59 คน) และ 6,057.60 (จานวน 61 คน) ตามลาดับ และโรคพบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อประชากร 100,000 คน ปี 2563-2565 เป็น 12,239.09 (จานวน 129 คน), 13,092.98 (จานวน 138 คน) และ 15,094.34 (จานวน 152 คน) ตามลาดบั มแี นวโนม้ เพ่มิ ข้ึนอยา่ งต่อเนอ่ื ง

การดแู ลผูป้ ว่ ยโรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รงั ทส่ี าคัญคือ การสง่ เสริมให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับ ความดันโลหิตและระดับน้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือใกล้เคียงระดับปกติให้มากที่สุด โดยตอ้ งดแู ลตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยเฉพาะเรื่องการควบคุมอาหาร การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ การพบแพทยต์ ามนัด การใชย้ าอยา่ งถูกตอ้ ง

2. การดาเนินงาน/ผลการดาเนินงาน (เชงิ ปริมาณ/เชิงคุณภาพ)

2.1 ข้อมูลเชงิ ปริมาณ โรคเบาหวาน 2.1.1 ผลการคดั กรองและปรับเปล่ียนพฤติกรรมโรคเบาหวาน

ตารางท่ี 40 แสดงการคัดกรอง DM ในประชากร อายุ 35 ปขี นึ้ ไป ปี 2563-2565

ตวั ชวี้ ัดและเกณฑเ์ ป้าหมาย ผลการประเมิน ปี 2565 ีป 2564 ปี 2563

1. การคัดกรอง DM ในประชากร เปา้ หมาย 572 573 516 อายุ 35 ปีข้นึ ไป (รอ้ ยละ 90) ผลงาน 565 569 503

ร้อยละ 98.78 99.30 97.48

2. ผลการคดั กรอง DM แยกตาม ปกติ 515 512 420 ระดับความเสยี่ ง ร้อยละ 91.15 89.98 83.50

เส่ยี ง 28 36 37

รอ้ ยละ 4.96 6.33 7.36

สงสยั ป่วย 12 10 44

ร้อยละ 2.12 1.76 8.75

3. กลุ่มเสย่ี ง Pre DM เป็นผปู้ ว่ ย กลุ่มเสีย่ ง ปี 2564 36 DM รายใหม่ (ไม่เกินร้อยละ 2.4) ผปู้ ว่ ย DM รายใหม่ ปี 2565 5

รอ้ ยละ 13.89

ท่มี า : HDC สสจ.อตุ รดติ ถ์ ณ 30 กนั ยายน 2565

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลสมุ ขา้ ม ประจาปี 2565

49

ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ผลการดาเนินงานการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีข้ึนไป ในปี 2563-2565

ร้อยละ 97.48, 99.30 และ 98.78 จากผลการดาเนินงานพบว่าอัตราการคัดกรองคัดกรอง โรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึน้ ไปมแี นวโนม้ ลดลง จากปีงบประมาณ 2565 จากการวิเคราะห์ แนวทางการคัดกรองพบวา่ ปญั หาและอปุ สรรคในการให้บรกิ ารในชมุ ชนมี ดังนี้

1. เจา้ หน้าท่ีผใู้ ห้บรกิ ารมีจานวนไม่เพยี งพอ 2. ช่วงสถานการณ์ระบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา่ -19 3. บริบทพื้นทีป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมชาวบ้านต้องเดินทางไปทาการเกษตรแต่เช้า ส่งผล ให้ผู้รบั บรกิ ารบางส่วนไม่รอรับบริการตรวจคัดกรอง จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลสุมข้าม จึงได้ปรับกระบวนการในการให้บริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในชุมชน โดยบูรณา การร่วมกับอสม.เช่ียวชาญเบาหวานความดันโลหิตสูง ในการให้บริการคัดกรองในชุมชน โดยเร่ิม จากการอบรมให้ความรู้ และฝึกทักษะให้อสม. ก่อนออกให้บริการในชุมชน และออกให้บริการตรวจ คัดกรองร่วมกับเจ้าหน้าที่ในชุมชน ตลอดจนการติดตามกลุ่มผิดนัดรับบริการในชุมชนโดยการตรวจ ให้บริการท่ีบ้าน ส่งผลให้อัตราการคัดกรองโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปมีแนวโน้ม เพ่มิ ขนึ้ และคดั กรองไดต้ ามเปา้ หมายในปี 2565 จากผลการดาเนนิ งานปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมกล่มุ เสีย่ งโรคเบาหวาน พบว่ากลุ่มเส่ียง Pre DM เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ปี 2565 พบผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเส่ียง จานวน 5 ราย ร้อยละ 13.89 จากผลการดาเนนิ งานพบวา่ อตั รากลมุ่ เสย่ี ง Pre DM เปน็ ผู้ปว่ ย DM รายใหมม่ แี นวโน้มเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากได้มีระบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวาน โดยบูรณาการ ร่วมกับอสม. จากการวิเคราะห์ปัจจัยรายบุคคล พบว่ากลุ่มเสี่ยงดังกล่าวมีพฤติกรรมการป้องกัน โรคเบาหวานไม่ต่อเน่ือง เน่ืองจากปัจจัยหลักคือขาดความตระหนักในความสาคัญของการปฏิบัติ พฤติกรรมการป้องกนั โรคเบาหวานอย่างต่อเน่ือง

2.1.2 คุณภาพการรกั ษาผปู้ ่วยโรคเบาหวาน ตารางที่ 41 แสดงจานวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวานท่ีควบคุมได้ ปี 2563-2565

ตวั ชีว้ ัดและเกณฑ์เปา้ หมาย ผลการประเมิน ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563

1. จานวนผูป้ ่วยโรคเบาหวาน จานวน ปชก. (Type 1,3) 1,007 1,052 1,054

ท้ังหมด (ร้อยละ) จานวนผูป้ ว่ ย DM ทั้งหมด 61 59 52 (NHES5=8.8) รอ้ ยละ 6.06 5.61 4.93

2. รอ้ ยละของผู้ป่วย ไดร้ ับการตรวจ HbA1c 54 50 34

โรคเบาหวานท่ีควบคุมได้ % ได้รบั การตรวจ HbA1c 88.52 84.75 65.38

(ร้อยละ 40) ควบคุมไดด้ ี 28 32 27

%ทค่ี วบคุมไดจ้ ากผูป้ ่วยทไี่ ด้รับการตรวจ 54.46 54.24 79.41 HbA1c

%ทคี่ วบคมุ ได้จากผปู้ ว่ ยทั้งหมด 45.90 55.17 51.92

ท่มี า : HDC สสจ.อุตรดิตถ์ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2565

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลสมุ ข้าม ประจาปี 2565

50

ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ

จากขอ้ มูลของผู้ป่วยโรคเบาหวาน รพ.สต.สมุ ข้าม ยอ้ นหลัง 3 ปี พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นสูงอย่างต่อเนื่อง โดยเทียบกับประชากรในทะเบียนราษฎร์ในแต่ละปี จากข้อมูล ในปีงบประมาณ 2565 พบว่า มีจานวนผู้ป่วยเบาหวานเพ่ิมขึ้นในปี คิดเป็นร้อยละ 13.89 ผลการ ดาเนินงานของคุณภาพการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน ย้อนหลัง 3 ปี พบว่าในปี 2563-2565 ผู้ป่วย โรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้าตาลในเลือดได้มีตามเกณฑ์เป้าหมาย (>ร้อยละ 40) ปี 2563-2565 พบว่า ผลงานร้อยละ 51.92, 55.17 และ 45.90 ตามลาดับ

2.1.3 การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ตารางท่ี 42 แสดงจานวนผู้ปว่ ยไดร้ บั การตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตาในผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน

ตัวชี้วดั และเกณฑ์ ผลการประเมนิ ปี 2565 เปา้ หมาย ีป 2564 ปี 2563 ผปู้ ่วยทีอ่ ยใู่ นเขตรบั ผิดชอบ Type 1,3 จานวนผู้ปว่ ย DM 61 59 52 ตรวจ Fundus camera 59 53 48 ผลการคัดกรองโดย รพช. 96.72 89.83 92.31 รอ้ ยละ การส่งภาพถ่ายจอประสาทตา 144 DR ให้ รพศ. No DR Mild 144

DR Moderate 144 Severe 144 000 PDR 000 ไม่แน่ใจ 000 จานวนทส่ี ง่ แผ่นอ่าน/ปรึกษาทางไลน์ 000 ได้รับตอบกลบั

No DR

ผลการอา่ น DR 4

การส่งต่อเพือ่ รับการรักษา DR Moderate PDR DR Severe สง่ ต่อ ไดร้ บั การรักษา PDR ส่งตอ่ ไดร้ ับการรกั ษา ท่ีมา: HDC สสจ.อุตรดติ ถ์ ณ 30 กนั ยายน 2565 สง่ ตอ่ ไดร้ ับการรกั ษา

ข้อมูลเชงิ คุณภาพ จากขอ้ มลู ของผูป้ ่วยโรคเบาหวานไดร้ ับการตรวจคดั กรองภาวะแทรกซ้อนทางตาใน รพ.สต.

สมุ ขา้ ม ย้อนหลงั 3 ปี พบวา่ การเข้าถงึ บริการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาของผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน ในปี 2563-2565 มแี นวโนม้ เพมิ่ ขึน้ โดยเทยี บในแต่ละปี จากข้อมูลในปี 2563-2565 พบว่า มีจานวน

สรุปผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลสุมขา้ ม ประจาปี 2565

51

ผู้ป่วยเบาหวาน ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 92.31, 89.83 และ 96.72 ตามลาดับ

2.1.4 การตรวจเทา้ ในผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน

ตารางท่ี 43 แสดงรอ้ ยละการตรวจเทา้ ในผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน ปี 2563-2565

ตวั ชี้วดั และเกณฑ์ ผลการประเมิน ีป 2565 เปา้ หมาย ีป 2564 ีป 2563

การตรวจคดั กรอง เปา้ หมาย 59 59 52

ภาวะแทรกซอ้ น ผลงาน 59 53 49

ทางเทา้ ในผู้ปว่ ย DM รอ้ ยละ 100.00 89.83 94.23

(รอ้ ยละ 60) พบผดิ ปกติ 0 53

รอ้ ยละ 0 9.43 6.12

พบแผลที่เทา้ 0 13

ผลการตรวจ ไม่พบแผลที่เทา้ /ตรวจ ตา่ ประเมินความเส่ยี ง ปานกลาง

สูง

ผู้ป่วยท่พี บแผลไดร้ บั การดแู ลอย่างตอ่ เน่ือง 0 13

การดูแลรกั ษาตอ่ เนอ่ื ง ผปู้ ว่ ยที่มภี าวะเสีย่ งสงู จานวนทส่ี ่ง ได้รบั การสง่ ตอ่ เพอ่ื พบ ได้รับการพิจารณา

แพทยเ์ ฉพาะทาง ตดั รองเทา้

ท่ีมา : HDC สสจ.อุตรดิตถ์ วนั ท่ี 30 กันยายน 2565

ข้อมูลเชงิ คุณภาพ จากข้อมูลของผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าใน รพ.สต.

สุมข้าม ย้อนหลงั 3 ปี พบว่า การเข้าถึงบริการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง จากข้อมูลในปี 2563-2565 พบว่า มีจานวนผู้ป่วยเบาหวานได้รับการ คัดกรองทางเท้า คิดเป็นร้อยละ 94.23, 89.83 และ 100.00 ตามลาดับ ในปี 2565 การคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเทา้ ของผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน ไมม่ ผี ลตรวจผดิ ปกติ

สรุปผลการดาเนินงานสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลสมุ ข้าม ประจาปี 2565

52

2.2 โรคความดันโลหติ สงู 2.2.1 ผลการคดั กรองและปรับเปลีย่ นพฤติกรรมโรคความดันโลหติ สูง ตารางท่ี 44 แสดงร้อยละการคัดกรองและปรับเปลยี่ นพฤติกรรมโรคความดันโลหติ สงู ปี 2563-2565

ตัวช้วี ดั และเกณฑเ์ ป้าหมาย ผลการประเมิน ีป 2565 ีป 2564 ีป 2563

1. การคัดกรอง HT ในประชากร เปา้ หมาย 496 499 516

อายุ 35 ปีข้นึ ไป (ร้อยละ 90) ผลงาน 489 490 503

ร้อยละ 98.59 98.20 97.48

2. ผลการคดั กรอง HT แยกตาม ปกติ 386 393 420

ระดับความเสยี่ ง ร้อยละ 78.94 80.20 83.50

เสยี่ ง 46 51 37

ร้อยละ 9.41 10.41 7.36

สงสยั ป่วย 55 46 44

รอ้ ยละ 11.25 9.39 8.75

3. กลุ่มสงสยั ปว่ ยความดนั โลหติ สงู จานวนกลุ่มสงสัยป่วย 58 45 47 ได้รบั การวดั ความดันโลหติ ทบี่ า้ น ร้อยละ 30 จานวนที่ร้อยละ 30 14 14 15

จานวนที่กาหนดเป็นเปา้ หมาย 58 44 47

มผี ลการวดั ความดันโลหติ ท่บี า้ น 58 44 47

ร้อยละ 100.00 97.98 100.00

ทมี่ า : HDC สสจ.อตุ รดิตถ์ ณ 30 กนั ยายน 2565

ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ผลการดาเนินงานการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปใน

ปี 2563-2565 ร้อยละ 97.48, 98.20 และ 98.59 ตามลาดบั จากผลการดาเนินงาน พบว่า อัตราการ คัดกรองคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 35 ปขี ึ้นไป ในปี 2565 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2564 จากการวิเคราะห์แนวทางการคัดกรอง พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการ ให้บริการในชุมชน โดยพบว่า อยู่ในช่วงการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า-19 และเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการมีจานวนไม่เพียงพอ ส่งผลให้ระยะเวลารอคอยรับบริการนาน และบริบทพื้นที่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมชาวบ้านต้องเดินทางไปทาการเกษตรแต่เช้าส่งผลให้ผู้รับบริการบา งส่วนไม่รอรับ บรกิ ารตรวจคดั กรอง จากปญั หาดังกล่าว รพ.สต.สุมขา้ ม จงึ ได้ปรับกระบวนการในการให้บริการตรวจ คดั กรองโรคความดนั โลหิตสงู ในชมุ ชน โดยบูรณาการร่วมกับ อสม.เชี่ยวชาญเบาหวานความดันโลหิต สูง ในการให้บริการคัดกรองในชุมชน ตลอดจนการติดตามกลุ่มผิดนัดรับบริการในชุมชน โดยการ ตรวจให้บริการท่ีบ้าน จากผลการดาเนินงานกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดัน โลหติ ทบ่ี ้าน ปี 2565 ไดร้ อ้ ยละ 100

จากการติดตามความดันโลหิตทบ่ี า้ น พบว่า ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จาก ผู้สงสัยป่วย ร้อยละ 11.25 จากการวิเคราะห์ปัจจัยรายบุคคลในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ดงั กล่าว

สรปุ ผลการดาเนินงานสาธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสุมขา้ ม ประจาปี 2565

53

พบว่า กลุม่ เสย่ี งดังกล่าวมีพฤตกิ รรมการป้องกนั โรคความดันโลหติ สูงไม่ต่อเนื่อง เน่ืองจากปัจจัยหลัก คือ ขาดความตระหนักในความสาคัญของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงอย่าง ต่อเนอื่ ง ภายหลังการได้รับความรู้ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวไม่สามารถ ควบคุมระดับความดันโลหิตให้ลดลงสู่ระดับปกติ การประกอบอาชีพรับจ้างย้ายที่ทางานบ่อย การ ติดตามระดับความดนั ไม่ต่อเนอ่ื ง จงึ ได้รบั การวินิจฉยั เปน็ ผปู้ ่วยความดนั โลหติ สูงรายใหม่ใน ปี 2565

2.2.2 คณุ ภาพการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหติ สงู

ตารางที่ 45 แสดงรอ้ ยละคุณภาพการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหติ สงู ปี 2563-2565

ตวั ชวี้ ัดและเกณฑเ์ ปา้ หมาย ผลการประเมิน ปี 2565 ปี 2564 ปี 2563

1. จานวนผปู้ ว่ ยโรคความดนั จานวน ปชก. (Type 1,3) 1007 1054 1054

โลหติ สูงท้งั หมด (รอ้ ยละ) จานวนผ้ปู ว่ ย HT ทัง้ หมด 152 138 129

(NHES5=24.7) ร้อยละ 15.09 13.12 12.24

2. รอ้ ยละของผู้ป่วยโรคความดนั เปา้ หมาย 152 138 129

โลหิตสูงท่คี วบคุมได้ ร้อยละ 50) รบั การตรวจ 2 ครัง้ ในปีข้นึ ไป 105 123 124

ร้อยละ 69.08 88.49 96.12

ควบคมุ ไดด้ ี 105 117 108

ร้อยละของผ้ปู ่วยที่คมุ ได้ดี จากผปู้ ว่ ยทม่ี า 64.47 89.06 87.10 ตรวจ 2 คร้ังในปขี ึน้ ไป

รอ้ ยละของผู้ป่วยท่ีคมุ ได้ดจี ากผู้ปว่ ย 69.08 84.78 83.72 ท้งั หมด

ทีม่ า: HDC สสจ.อตุ รดติ ถ์ ณ 30 กันยายน 2565

ข้อมูลเชงิ คณุ ภาพ

จากข้อมูลของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รพ.สต.สุมข้าม ย้อนหลัง 3 ปี พบว่า ผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนสูงอย่างต่อเน่ือง โดยเทียบกับประชากรในทะเบียนราษฎร์ใน แต่ละปี จากข้อมูลในปี 2563-2565 พบว่า มีจานวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพ่ิมข้ึน คิดเป็น ร้อยละ 12.24, 13.12 และ 15.09 ตามลาดับ ในปี 2563-2565 (ไตรมาส 2) ผลการดาเนินงานของ คุณภาพการรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ย้อนหลัง 3 ปี พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ ควบคุมระดับความดันโลหิตได้นั้น มีแนวโน้มดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบในแต่ละปี ผลงานร้อยละ 83.72, 84.78 และ 69.08 ตามลาดับ เน่ืองจากผู้ป่วยโรคความดันโลหิตยังมีพฤติกรรมสุขภาพเส่ียง ได้แก่ การปรุงอาหารส่วนผสมท่ีมีปลาร้า ผงชูรส เป็นหลัก การคีย์ข้อมูลของผู้ป่วยท่ีมารับบริการแต่ละครั้ง ไมค่ รบถ้วน และการนับผลงานที่ 2 visit สดุ ท้ายนั้นผู้ป่วยความดันโลหิตบางรายท่ีควบคุมได้ดีทุกครั้ง แตม่ าคุมไมไ่ ดเ้ พียง 1 ครง้ั ใน 2 visit สดุ ท้าย ส่งผลตอ่ ผลงานควบคุมระดบั ความดันโลหิต

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลสุมข้าม ประจาปี 2565

54

2.3 ผปู้ ่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต และ CVD Risk

ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ ตารางที่ 46 แสดงรอ้ ยละผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหติ สูง ไดร้ ับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต และ CVD Risk ปี 2563-2565

ตวั ช้วี ดั และเกณฑ์ ผลการประเมิน ีป 2565 เป้าหมาย ีป 2564 ีป 2563

1.การคัดกรอง CKD ใน จานวนผูป้ ว่ ย DM HT ที่ไมม่ ภี าวะแทรก 99 90 88 ผู้ป่วย DM HT ซอ้ น CKD (Type 1,3) (รอ้ ยละ 80) 96 77 79 ผลการคดั กรอง 96.96 85.56 89.77

รอ้ ยละ 1 12 1.01 1.30 2.53 พบผูป้ ่วย DM HT เปน็ CKD รายใหม่ (Stage 3-5) 69 66 61 ร้อยละ 66 64 61 2. การคัดกรอง CVD Risk จานวนผปู้ ว่ ย DM HTอายุ 35-60 ปี 95.65 96.97 100.00 ในผปู้ ่วย DM HT ทยี่ งั ไม่ปว่ ย CVD ทัง้ หมด (Type1,3) (รอ้ ยละ 80) 0 00 คัดกรอง 00.00 00.00 00.00 รอ้ ยละ พบความเสยี่ งระดบั 4-5 รอ้ ยละ

ทม่ี า: HDC สสจ.อตุ รดติ ถ์ ณ 30 กันยายน 2565

จากขอ้ มลู ของผู้ปว่ ยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ใน รพ.สต.สุมข้าม ย้อนหลัง 3 ปี พบว่า การเข้าถึงบริการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วย เบาหวานและความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเทียบในแต่ละปี จากข้อมูลในปี 2563-2565 พบว่า มีจานวนผปู้ ่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ทางไตมแี นวโน้มลดลง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.77, 85.56 และ 96.96 ตามลาดับ

ในปี 2565 พบผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็น CKD รายใหม่ Stage 3-5 จานวน 1 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.01

การประเมินโอกาสเส่ียงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ( CVD Risk ) ในปี 2563-2565 คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00, 96.97 และ 95.65 ตามลาดับ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตท่ี ควบคุมไม่ได้และมีปัจจัยเสี่ยงจากพฤติกรรมได้แก่ การรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม การไม่ออก กาลงั กายและการสูบบหุ ร่ี

วเิ คราะหป์ ัญหาและปจั จัยทที่ าให้การดาเนนิ งานประสบผลสาเรจ็ ด้านการคดั กรองและปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสุขภาพของกลุม่ เสีย่ ง ปญั หา คอื

1. จานวนผูใ้ ห้บริการตรวจคัดกรองไม่เพยี งพอ 2. ระยะเวลารอคอยรับบริการนาน 3. การเดินทางมารับบริการตรวจคัดกรองมีระยะทางไกลในบางพืน้ ท่ี

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสมุ ข้าม ประจาปี 2565

55

4. การประชาสมั พันธ์บริการตรวจคดั กรองในชุมชนไม่ครอบคลมุ

ปจั จยั ที่ทาใหก้ ารดาเนนิ งานประสบผลสาเร็จ 1. อสม. เชีย่ วชาญในการคัดกรองโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง 2. มีนวัตกรรมแถบสเี ตอื นภยั 3. การสือ่ สารบรกิ ารผา่ น อสม. และผนู้ าชมุ ชน 4. จัดทาแผนอกหน่วยใหบ้ ริการครอบคลมุ ทุกหมู่บ้าน 5. การประชาสมั พนั ธ์บริการตรวจคัดกรองในชมุ ชนผา่ นสอ่ื เช่น line, Facebook

ดา้ นคลินิกโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง ปญั หา 1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงยังมีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยง ได้แก่ 3อ.2ส. ทาให้ส่งผลต่อการควบคุมระดับความดันโลหิตและโรคเบาหวาน จากการไม่มารับการรักษา ตามนดั ส่งผลทาให้ขาดยาโดยเฉพาะผ้ปู ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง 2. พ้ืนท่ีและบริบทของสถานบริการมีวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีต่างกัน ทาให้เกิดความเชื่อ การ ตระหนกั ในการดูแลตนเองเก่ยี วกับโรคท่ีแตกต่างกนั ออกไป 3. บุคคลากรเจ้าหน้าท่ีในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เพียงพอ เนอ่ื งจากภาระงาน 4. ไมม่ นี ักโภชนาการ ทาให้ไม่มีผเู้ ชย่ี วชาญด้านโภชนาการโดยตรงดแู ลซ่งึ ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สงู ส่วนใหญม่ ีปัญหาเกย่ี วกบั พฤติกรรมการรบั ประทานอาหารไม่เหมาะสมกบั โรค ปัจจัยทท่ี าใหก้ ารดาเนนิ งานประสบผลสาเรจ็ 1. การทางานรว่ มทมี สหวชิ าชีพร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยของทอ้ งถิ่น 2. มีนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถ่ินผสมผสานในดูแล เช่น แถบสีเตือนภัย เป็นการดูแลแบบใน รายท่คี วบคุมระดับน้าตาลในเลอื ดไมไ่ ด้,การกจิ กรรมปรบั เปลยี่ นในกลุ่มป่วยซงึ่ ปรับตามบรบิ ทของ 3. มกี ารดแู ลผปู้ ่วยโดยใช้เทคนคิ ให้คาปรึกษาแบบแรงจูงใจในกลุม่ ที่ควบคุมไม่ได้ 4. มผี ู้นาขององค์กรใหค้ วามสาคญั ในการดูแลรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยมี นโยบาย และวสิ ัยทศั น์ท่ชี ดั เจนของการดแู ลโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รัง

4. ปจั จัยแห่งความสาเร็จ/นวัตกรรมที่สามารถเปน็ แบบอย่างที่ดี 1. มีผู้นาขององค์กรให้ความสาคัญในการดูแลรักษาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โดยมีนโยบาย และวิสัยทศั นท์ ช่ี ดั เจน ของการดูแลโรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รัง 2. การทางานร่วมทมี สหวชิ าชพี ร่วมกับภาคีเครือข่ายของทอ้ งถน่ิ 3. มบี คุ คลต้นแบบผู้นาสขุ ภาพในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง 4. มีนวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถ่ินผสมผสานในดูแล เช่น เสี่ยวแท้แก้ไข้ปัญหาโรคไม่ติดต่อ

เร้ือรัง เป็นการดูแลแบบเพ่ือนช่วยเพื่อนในรายท่ีควบคุมระดับน้าตาลในเลือดไม่ได้, การกิจกรรม ปรบั เปลยี่ นในกลุม่ ปว่ ยซงึ่ ปรับตามบริบทของพื้นที่ โดยมที ีมสหวชิ าชีพเป็นหลักการดแู ล

5. มคี ลนิ ิกปรับเปลีย่ นในกลุ่มเส่ยี งเพ่ือตดิ ตามกลุม่ เสย่ี งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู

สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลสมุ ขา้ ม ประจาปี 2565

56

5. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือปรับปรุงพัฒนาเชงิ นโยบาย กฎ ระเบียบ หรอื แนวทางปฏิบตั ิ

แนวทางการดูแลผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสงู ควรเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน โดยเฉพาะการสง่ ต่อผู้ปว่ ยเบาหวานที่มีปัญหาแทรกซ้อนทางเทา้

งานพฒั นาคณุ ภาพงานโรคมะเร็ง Lag 34 สดั สว่ นของผู้ป่วยมะเร็งเตา้ นมระยะท่ี 1 และ 2 (ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70) (MOU) Lag 35 สัดสว่ นของผูป้ ว่ ยมะเร็งปากมดลูกระยะท่ี 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

(MOU)

ตารางที่ 47 แสดงการคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี 2563-2565

ตัวช้วี ดั ผลการประเมิน ปี 2565 และเกณฑเ์ ป้าหมาย ีป 2564 ปี 2563

การคัดกรองมะเร็งเตา้ นม ปี 65 จานวนสตรีอายุ 30-70 ปที ั้งหมด 284 291 295 281 รอ้ ยละ 80 จานวนสตรีอายุ 30-70 ปที ี่ไดร้ บั การคัดกรอง 279 291 98.64 คิดเปน็ ร้อยละ 98.24 96.56

ทมี่ า: HDC สสจ.อุตรดิตถ์ ณ 30 กนั ยายน 2565

ตารางที่ 48 แสดงสดั ส่วนของผู้ปว่ ยมะเรง็ เตา้ นมระยะท่ี 1 และ 2 ปี 2563-2565

ตัวชวี้ ัดและเกณฑเ์ ป้าหมาย ผลการประเมิน ปี 2565 ปี 2564 ีป 2563

สดั สว่ นของผู้ปว่ ยมะเร็งเตา้ นมระยะที่ 1 ผู้ป่วยทงั้ หมด 0 00 และ 2 ร้อยละ 70 ระยะที่ 1 0 00

ท่ีมา : Thaicancerbase ระยะที่ 2 0 00

ระยะที่ 3 0 00 ระยะท่ี 4 0 00 ระยะที่ 1 + 2 0 00 สัดส่วน 1+2 00.00 00.00 00.00

ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ การดาเนนิ งาน/ผลการดาเนินงาน (เชิงปรมิ าณ/เชิงคุณภาพ) จากขอ้ มูลการดาเนินการคัดกรองมะเร็งเต้านม ตง้ั แต่ปีงบประมาณ 2563-2565 ไม่พบผู้ป่วย

มะเรง็ เต้านม เนื่องจากเจา้ หนา้ ทม่ี ีการประชาสัมพันธ์สตรีในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ ท่ีมีอายุ 35 ปี ข้ึนไป