ข อค ดของเร อง ห วใจชายหน ม แต ละฉบ บ

หัวใจชายหนุ่ม

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั (รชั กาลท่ี 6)

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 วิชาภาษาไทย

หัวใจชายหนุ่มเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เพื่อพระราชทาน ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตรายเดือน เมื่อ พ.ศ. 2464

ในเรอ่ื งนี้พระองค์ทรงใช้พระนามแฝงวา่ ‘รามจิตต’ิ

หนังสือพมิ พด์ สุ ติ สมติ Cr. Bloggang.com

หัวใจชายหนุ่มเป็นนวนิยายร้อยแก้วในรูปแบบของ

จดหมายจานวน 18 ฉบับ พระองค์ได้สร้างตัวละครเอกข้ึนมา โดยสมมติให้มีตัวตนจริงและใช้สถานที่ที่มีอยู่จริงในการ ดาเนนิ เรื่อง

เ นื ้ อ เ รื ่ อ ง ข อ ง หั ว ใ จ ช า ย ห นุ ่ ม ส ะ ท ้ อ น ใ ห ้ เ ห็ น แนวพระราชดาริในการปรับรับเอาอารยธรรมตะวันตกเข้ามา ผสมผสานกลมกลืนกับวัฒนธรรมไทยในยุคสมัยของพระองค์ และแม้วา่ วรรณกรรมเรื่องนีจ้ ะมีอายกุ ว่า 100 ปีแลว้

แต่ด้วยเสน่ห์เฉพาะตัวของ จดหมายถึงเพื่อน ที่ทาให้ผู้อ่าน รู้สึกสนุก เป็นกันเอง รู้สึกสนิทสนมใกล้ชิดกับผู้แต่ง ประหนึ่งว่าเป็น เกลอ กันจริง ๆ หัวใจชายหนุ่มจึงเป็น นวนิยายที่ติดตราตรึงใจผู้อ่านงานวรรณกรรมทั้งหลายมา จนถงึ ปัจจุบนั

จด ห มา ย ประ ก อ บไ ปด้ ว ย หั ว ใ จช า ยห นุ ่ ม ฉ บั บที ่ 1 ฉบับที่ 4 - 6 ฉบับที่ 9 ฉบับที่ 11 - 13 ฉบับที่ 15 และ ฉบับที่ 17 - 18 สาเหตุที่บางฉบับขาดหายไป

เพราะรามจิตติหรือผู้แต่ง “คัดออกเสียหลายฉบับ เพอ่ื ไม่ใหฟ้ นั่ เฝือเกินไป”

วัตถุประสงคใ์ นการแตง่ เร่ืองหวั ใจชายหนุ่ม

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ไทย พระองค์แรกที่ได้ไปศกึ ษาตอ่ ยงั ท่สี หราชอาณาจกั ร

ทรงศึกษาอยทู่ อ่ี งั กฤษเปน็ ระยะเวลานานกว่า 9 ปี ด้วยเหตุนี้พระองค์ จึงเข้าใจความแตกตา่ งของวัฒนธรรมไทยและตะวันตกเปน็ อย่างดี

นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยก็มีการเปิดประเทศมากขึ้น ทาใหม้ นี ักเรียนไทยไปศึกษา ณ ต่างประเทศเปน็ จานวนมาก

และเม่อื นกั เรยี นนอก เหลา่ นก้ี ลับมายังประเทศไทยจงึ ร้สู กึ ไม่สะดวก ไม่สบายกับความ อนั ศิวิไลซ์ หรอื ความไม่เจริญของประเทศไทย

สภาพแวดล้อมทางสังคมเหล่านี้ทาให้นวนิยายเรื่อง ‘หัวใจชายหนุ่ม’ ถือกาเนดิ ขน้ึ โดยวตั ถุประสงค์ในการแต่งมดี ังน้ี

1. เพอ่ื สะท้อนให้ผ้อู ่านเหน็ ภาพสังคมไทยในขณะน้นั

2. เพื่อสะท้อนมุมมองความรู้สึกนึกคิดของคนรุ่นใหม่ (นักเรยี นนอก) ท่ีมีตอ่ วัฒนธรรมและสงั คมไทยในด้านตา่ ง ๆ

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

โดยมีข้อหัวใจชายหนุ่ม เป็นนวนิยายร้อยแก้วในรูปแบบ ของจดหมาย ควรสังเกตสาหรับรูปแบบจดหมาย ทั้ง 18 ฉบบั ในเรือ่ งดงั นี้

  1. หัวจดหมาย ตั้งแต่ฉบับที่ 1 วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 246- จนถึงฉบับสุดท้าย วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 246- จะเหน็ วา่ มกี ารเว้นทา้ ยปี พ.ศ.ไว้
  1. คาขึ้นต้นจดหมาย ทั้ง 18 ฉบับ ใช้คาขึ้นต้น เหมอื นกันหมด คือ “พอ่ ประเสริฐเพอ่ื นรัก”

ตัวละครในเรอ่ื งหวั ใจชายหน่มุ

นอกจากจะใช้สถานที่ที่มีอยู่จริงในการดาเนินเรื่อง อย่างเช่น โรงหนังพัฒนากร บ้านที่ถนนสี่พระยา โรงแรมแถวบางรัก และบ้านที่ราชประสงค์ของอุไร ตวั ละครแตล่ ะตวั ในเร่อื งหวั ใจชายหนุ่มก็มมี ิติดูสมจริง มี ลักษณะเฉพาะตัว และเป็นตัวแทนของวัฒนธรรม รูปแบบต่าง ๆ ไดด้ ี

โรงหนังพัฒนากร ขอบคณุ รูปภาพจาก เฮียเซ้งเลา่ เรือ่ ง

ตวั ละครในเร่ืองหัวใจชายหนุม่

นายประพันธ์ ประยรู สริ ิ นายประเสรฐิ สุวัฒน์ ลิลี่ กิมเนย้

อุไร พรรณโสภณ พระยาตระเวนนคร หลวงพิเศษผลพานชิ ศรสี มาน

นายประพนั ธ์ ประยูรสริ ิ

หนุ่มไทยดีกรีนักเรียนนอกจากอังกฤษที่เดินทางกลับไทย ต่อมาได้เข้ารับราชการในกรมพานิชย์และสถิติพยากรณ์และ ได้เลื่อนขั้นเป็นหลวงบริบาลบรมศักดิ์ ประพันธ์เป็นคน ‘หัวนอก’ คือมคี วามคดิ กา้ วหนา้ อย่างคนหนุ่ม และด้วยความท่ี เพิ่งกลับจากเมืองนอก จดหมายของประพันธ์จะติดการใช้ สแลงและคาทบั ศพั ทภ์ าษาอังกฤษอย่เู สมอ ๆ

นายประเสริฐ สวุ ัฒน์

เพื่อนของนายประพนั ธ์ท่ี ยังศกึ ษาอยู่ที่องั กฤษ

ลิลี่

คนรักชาวองั กฤษของประพนั ธ์

กมิ เน้ย

หญิงสาวเชื้อสายไทยจีน ลูกสาวของอากรเพ้ง โดยพ่อของ ประพันธ์หวังจะให้กิมเน้ยหมั้นหมายกับประพันธ์ แต่ ประพันธไ์ ม่คอ่ ยชอบกิมเน้ยนกั เพราะเธอใส่เครื่องเพชรรุงรัง และมีหน้าตาแบบสาวหมวย (ประพันธ์กล่าวว่าหน้าตาเจ้า หล่อนเหมือนนางซุนฮูหยิน) และประพันธ์ก็ไม่ชอบการคลุม ถุงชนแบบธรรมเนียมโบราณของไทย จึงไม่ยอมรับ การแตง่ งานคร้ังน้ีเดด็ ขาด

อไุ ร พรรณโสภณ

สาวฮอตประจาเมืองลูกสาวของคุณพระพินิฐพัฒนากร อุไร เป็นคนสวยและเป็นผู้หญิงอย่างสมัยใหม่ ได้รับการศึกษา อ่านเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ ด้วยเหตุนี้เธอจึง เป็นที่หมายปองของชายหนุ่มมากหน้าหลายตา และขึ้นชื่อว่า เปน็ ‘โรงเรยี นฝกึ หัดเจ้าช’ู้

พระยาตระเวนนคร

เสือผู้หญิงและเพลย์บอยประจาเมือง เป็นคนมีฐานะร่ารวย และมีชื่อเสียง พระยาตระเวนนครถือเป็นตัวแทนของ ความนิยม “มีเมียคราวละมาก ๆ” เพราะมีเมียอยู่แล้วถึง 7 คนกอ่ นทีจ่ ะมาพบกับอไุ ร

หลวงพเิ ศษผลพานิช

พอ่ คา้ ซง่ึ มีฐานะดี แม้จะมี บคุ ลกิ ลักษณะไมด่ นี กั แต่กม็ ีจิตใจทีด่ ี

และได้แต่งงานกับอไุ รในภายหลงั

ศรสี มาน

หญิงสาวรกั ครัง้ ใหมข่ องประพันธ์ ลูกสาวของพระยาพิสิฐเสวก ซ่ึงสนทิ กบั พ่อแมป่ ระพนั ธ์ การแต่งงานครั้ง ใหม่ของประพันธจ์ ึงดรู าบร่ืนสดใสมาก

เรื่องย่อ

หวั ใจชายหนุ่ม

นายประพันธ์ ประยูรสิริ เป็นหนุ่มไทยที่ เดินทางไปศึกษาต่อยังประเทศอังกฤษ เ มื ่ อ ส า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ก็ เ ดิ น ท า ง ก ลั บ ประเทศไทยโดยทางเรือ

ขณะเดินทางก็เขียนจดหมายถึง

นายประเสริฐ สุวัฒน์ เพื่อน

สนิทที่ยังคงศึกษาอยู่ที่ประเทศ อังกฤษ

ประพันธ์เขียนเล่าเรื่องราวเมื่อกลับมาถึง

เมืองไทยโดยผ่านจดหมาย 18 ฉบับ

ด้วยการระบายความรู้สึกคิดถึงประเทศ อังกฤษและคนรกั ชาวองั กฤษทีช่ อ่ื ลลิ ่ี

การเดินทางกลับเมืองไทยในครั้งนี้ ประพันธ์ต้องเข้ารับราชการด้วยการฝาก เข้าตามเส้นสายซ่ึงเขาไมช่ อบ

แต่เขาก็ไม่สามารถหางานทาเอง ได้และพ่อได้เตรียมหาคู่ครองที่ เหมาะสมใหช้ อื่ แมก่ มิ เน้ย

ซึง่ ประพนั ธ์ไม่ประทับใจ ด้วยเห็นว่าแม่ กิมเน้ยหน้าตาเหมือนนางซุนฮูหยิน สวม เครื่องประดับมากเกินไป ดูพะรุงพะรัง ราวต้นคริสตม์ าส

และทส่ี าคญั ประพันธ์ไมช่ อบการแต่งงานแบบคลมุ ถุงชน

นอกจากนี้ประพันธ์ไม่มีความสุขเพราะ เมืองไทยไม่มีสถานเริงรมย์ให้เลือก เทยี่ วมากมายเหมอื นที่อังกฤษ

แต่เขาเริ่มมีความสุขเพลิดเพลิน ขึ้นมาอีกครั้งเมื่อได้รู้จักกับหญิง ช่อื อไุ ร สาวงามที่มีความทันสมยั ไมต่ ่างจากสาวฝรง่ั

ประพันธ์และอุไรคบหากันอย่างสนิท สนมและออกเที่ยวเตร่ด้วยกันจนทาให้ อไุ รเกดิ ตง้ั ครรภ์

พ่อของประพนั ธ์ตอ้ งจัดการแต่งงานทั้ง ๆ ท่ไี ม่พอใจเปน็ อย่างมาก

ห ลั ง จ า ก แ ต ่ ง ง า น อุ ไ ร ยั ง ช อ บ เที่ยวเตร่และใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย จนทง้ั สองมปี ากเสยี งกัน

ทาให้อุไรหันไปคบกับชายคนใหม่ชื่อ พระยาตระเวนนครทั้ง ๆ ที่เขามีภรรยา แล้วถึง 7 คน ในที่สุดประพันธ์และ อไุ รก็ต้องหย่าขาดกัน

เ มื ่ อ ป ร ะ พั น ธ ์ ไ ด ้ เ ลื ่ อ น ย ศ เ ป ็ น ห ล ว ง บริบาลบรมศักดิ์ อุไรจึงได้กลับมาขอคืนดี เพราะพระยาตระเวนนครมีภรรยาสาว คนใหม่จึงขอบ้านที่เธออย่คู ืน

แต่ประพันธ์ไม่ใจอ่อนและแนะนา ให้เธอกลับไปอยู่บ้านพ่อ ไม่นาน อุไรก็แต่งงานใหม่กับหลวงพิเศษ ผลพานชิ พอ่ ค้าท่ีมฐี านะดี

ทาใหป้ ระพันธร์ สู้ กึ โล่งใจเป็นอยา่ งมาก

ต่อมาประพันธ์ได้พบกับหญิงสาวคนหนึ่งชื่อ ศรีสมาน และรู้สึกพึงใจ ในตัวเธอมาก ทั้งนี้ผู้ใหญ่สองฝ่ายก็ชอบพอกัน ประพันธ์จึงหวังว่าจะ แตง่ งานครองคอู่ ยู่กับศรีสมานอย่างมคี วามสขุ ยั่งยืนในอนาคต

ตวั อยา่ งเนื้อความ ในจดหมาย

ตัวอยา่ ง ฉบับที่ (๑๘)

บ้านเลขท่ี 00 ถนนส่ีพระยา

วนั ท่ี ๑๓ เมษายน,พ.ศ.๒๔๖-

ถึงพ่อประเสริฐเพื่อนรกั . ฉันต้องรีบบอกข่าวดีมาให้ทราบ. แม่ไรได้ตกลงแต่งงานแล้วกับหลวงพิเศษผล

พานิช, พอ่ ค้ามง่ั ม,ี ซ่ึงนบั วา่ เปน็ โชคดีสาหรับหลอ่ น. เพราะอาจจะหวังไดว้ า่ จะไดม้ ีความสุขต่อไปในชีวิต. จรงิ อยู่หลวงพเิ ศษนน้ั รปู ร่างไม่ใช่เทวดาถอดรปู , แตจ่ ะหวังไว้ว่าคงจะเขา้ ลกั ษณะขุนชา้ ง, คือ “ถึงรูปช่ัว ใจชว่ งเหมือนดวงเดอื น.” แตถ่ งึ จะใจไมช่ ่วงเขากพ็ อมเี งินพอทีจ่ ะซื้อความสุขใหแ้ ม่อไุ รได้.

การที่แม่อุไรได้ผัวใหม่เป็นตัวเป็นตนเสียแล้วเช่นนี้ ทาให้ฉันเองรู้สึกความ ตะขิดตะขวางหว่ งใย.และรู้สึกวา่ อาจจะคิดหาคูใ่ หม่ได้โดยไม่ต้องมีข้อควรรังเกียจรังงอนเลย.พ่อประเสริฐ เปน็ เพื่อนรักกนั ที่สนทิ สนมทสี่ ดุ ,เพราะฉะนั้นฉันขอบอกตรงๆ วา่ ฉันได้รักผู้หญิงอยู่รายหนึ่งแล้ว,ซึ่งฉัน หวงั ใจวา่ จะไดเ้ ป็นคูช่ วี ิตต่อไปโดยยั่งยืนจรงิ จงั .หลอ่ นช่อื นางสาวศรีสมาน,แล้วเจ้าคุณพิสิฐกับพ่อของฉัน ก็ชอบกนั มาก.ฉะนนั้ พอพ่อประเสริฐกลบั เข้ามาถงึ กรงุ เทพฯกเ็ ตรียมตัวไวเ้ ป็นเพือ่ นบา่ วท่เี ดียวเถดิ !

จากเพ่ือนผู้กาลงั ปลืม้ ใจ.

หลวงบรบิ าลบรมศกั ด์ิ

สรปุ หวั ใจชายหนมุ่ : เนื้อหาหลัก ของจดหมายท้งั 18 ฉบับ

ฉบับที่ 1 : ประพันธ์เขียนจดหมายบนเรือ อาลัยอาวรณ์ถึงเพื่อน คนรัก และความเจริญที่ เคยไดร้ บั เมอื่ ตอนศกึ ษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ

ฉบับที่ 4 : เรื่องราวอนาคตที่ทางบ้านวางไว้ให้ ทั้งการใช้เส้นสายเพื่อเข้ารับราชการ และ การแต่งงานแบบคลมุ ถงุ ชน (ประพันธเ์ บ่อื เมอื งไทยมากและไม่ชอบการคลมุ ถงุ ชน)

ฉบับที่ 5 : ประพันธ์เข้ารับราชการ ได้ดูตัวกิมเน้ยแต่ก็รู้สึกเฉย ๆ และได้รู้จัก ‘อุไร’ หญงิ สาวผทู้ าใหก้ ารอยเู่ มอื งไทยเปน็ เรื่องเพลิดเพลินสาหรบั ประพันธ์

ฉบบั ท่ี 6 : ประพันธพ์ ฒั นาความสัมพันธก์ บั อไุ รโดยมีประไพ (นอ้ งสาว) เป็นแม่สอื่

ฉบับท่ี 9 : ประพันธ์แต่งงานกับอไุ รและไดไ้ ปเทีย่ วด้วยกนั ท่หี วั หิน

ฉบับที่ 11 : ชีวิตคู่ของประพันธ์เริ่มไม่ราบรื่น หลังจากเที่ยวแล้ว ก็ย้ายเข้าเข้าบ้านใหม่ แต่ ก็ไร้ซง่ึ ความสขุ

ฉบับที่ 12 : อุไรเริ่มมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปเหมือนมีคนอื่น เริ่มเห็นนิสัยที่แท้จริง เช่น ความเอาแต่ใจ การใช้จ่ายที่สิ้นเปลือง เมื่อได้ข่าวแน่นอนว่าอุไรคบหาอยู่กับ พระยาตระเวนนคร ประพนั ธแ์ ละอุไรจึงหยา่ กัน

ฉบับที่ 13 : ประพันธ์เป็นห่วงว่าอุไรจะเป็นเพียงของเล่นชั่วคราวของพระยาตระเวนนคร ส่วนตัวประพันธ์เองก็มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานขึ้นเรื่อย ๆ (มีการกล่าวถึงกรมเสือป่า ที่พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัวเป็นผกู้ อ่ ตัง้ ด้วย)

ฉบับที่ 15 : ความสัมพันธ์ของอุไรและพระยาตระเวนนครเริ่มระหองระแหงเพราะพระยา ตระเวนนครมีผหู้ ญิงคนใหม่ ประพันธ์แสดงความไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับวัฒนธรรมการ ‘มีเมีย ครงั้ ละมาก ๆ’ ของพระยาตระเวนนคร

ฉบับที่ 17 : พระยาตระเวนนครไล่อุไรออกจากบ้านเพราะต้องการบ้านให้ภรรยาคนใหม่ อไุ รจึงมาขอคืนดีกบั ประพนั ธ์แตไ่ มส่ าเรจ็ จงึ กลับไปอยกู่ บั พอ่

ฉบับที่ 18 : ตอนจบแบบมีความสขุ อไุ รแต่งงานใหม่กับหลวงพิเศษผลพานิชซึ่งเป็นพ่อค้า รา่ รวย สว่ นประพนั ธพ์ บรักกบั นางสาวศรีสมาน และวางแผนจะแต่งงานกนั ในอนาคต

บทวิเคราะห์

หวั ใจชายหนุ่ม

1. ตัวละคร

ตัวละครทุกตัวในเรื่องนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเสนอแนวคิด และสาระต่างๆ โดยเสนอผ่านมุมมองของประพันธ์ซึ่งเป็น ผู้เล่าเรื่องและตัวละครเหล่านี้ ทาให้เรารู้จักตัวละครอย่าง ลึกซึ้ง นอกจากนั้นตัวละครในเรื่องยังมีความเป็นมนุษย์ ปุถุชนผูม้ ที งั้ ความดีและไมด่ ีอยูใ่ นจิตใจของตนเอง

2. ฉาก

ฉากในเรื่องนี้เป็นการสะท้อนถึงยุคสมัยที่คนไทย โดยเฉพาะชนชั้นสูงเพิ่งได้รับอิทธิพลมาจากชาวตะวันตก ทาให้สภาพบ้านเมืองมีความเจริญแบบชาวตะวันตกและผู้คน ก็มีค่านิยมตามแบบอย่างตะวันตกอีกด้วย ฉากในเรื่องนี้ไม่ เน้นให้เป็นฉากในจินตนาการดังเช่นวรรณคดีเรื่องอื่น แต่ แสดงสภาพความเป็นจริงของบ้านเมอื ง สังคม และวัฒนธรรม ต่างๆของไทยในสมัยนั้น

3. กลวธิ ีการแตง่

หัวใจชายหนุ่ม เป็นนวนิยายขนาดสั้น นาเสนอใน รูปแบบของจดหมาย ทาให้การดาเนินเนื้อเรื่องเป็นไปใน ลักษณะการเลา่ เรื่อง สามารถทาความเข้าใจเรื่องได้ง่าย และมี สอดแทรกทศั นคติ มุมมอง และคาสอนจากผูป้ ระพันธ์ด้วย

4. คุณค่าดา้ นความรู้

นวนิยายเรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมในเรื่อง การแต่งกาย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้หญงิ เร่ิมไวผ้ มยาว ค่อยๆเลกิ นุ่งโจงกระเบน และเปลี่ยนมา แตง่ กายตามแบบสมัยนยิ มแทน

จบ

หวั ใจชายหน่มุ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ วั (รัชกาลท่ี 6)