ขายของให ต างประเทศม ภาษ ม ลค าหร อไม

Page 18 - การระหว่างประเทศของไทย

  1. 18

9-8 การระหวา่ งประเทศของไทย  
ไดแ้ ก่ เรือสำ� เภาที่สง่ ไปยังมะละกาจ�ำนวน 20 ล�ำ และที่เหลือส่งไปยังดินแดนอ่นื ๆ  หากพิจารณาความ  
สัมพนั ธท์ างการค้าระหวา่ งรวิ กวิ กับเมอื งในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตน้ นั้ อยุธยาอยูใ่ นฐานะทม่ี ีความสำ� คญั  
ต่อริวกิวมากท่ีสุด ในเอกสาร “เรคิไดโฮอัน” ยังมีบันทึกพระราชสาส์นของกษัตริย์ริวกิวทรงพระนามว่า  
โชฮะชิ (Shohachi) สง่ ไปถวายกษตั รยิ แ์ หง่ เสยี น หลวั กวอ๋ ซงึ่ หมายถงึ อยธุ ยา ในปี ค.ศ. 1455 ถอื วา่ เปน็  
บนั ทกึ เกา่ แกท่ สี่ ดุ ของญป่ี นุ่ เองทก่ี ลา่ วถงึ อยธุ ยา ในพระราชสาสน์ นชี้ ว่ ยใหท้ ราบถงึ การเรม่ิ ตน้ ความสมั พนั ธ์  
ระหวา่ งอยธุ ยากบั รวิ กวิ โดยพระราชสาสน์ นเี้ ขยี นดว้ ยภาษาจนี คลาสสกิ ทเ่ี รยี กวา่ “คมั บงุ ” ซงึ่ แสดงวา่ ทง้ั  
ฝ่ายริวกิวและอยุธยาต่างก็มีกลุ่มผู้ที่มีความรู้ด้านการอ่านเขียนภาษาจีนคลาสสิกอยู่มาก ซึ่งกลุ่มคนที่มี  
ความชำ� นาญดา้ นการใชภ้ าษาจนี ในสมยั นนั้ เปน็ ชาวจนี ยา้ ยถนิ่ และท�ำใหท้ ราบวา่ ในยคุ นน้ั ภาษาทเ่ี ปน็ สอื่  
กลางในการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศคือภาษาจีน และในพระราชสาส์นดังกล่าวยังท�ำให้ทราบข้อเท็จ  
จรงิ เกย่ี วกบั ระบบการคา้ ของอยธุ ยาหลายประการ กลา่ วคอื ประการแรก วธิ กี ารคา้ ขายระหวา่ งอยธุ ยากบั  
ตา่ งประเทศในชว่ งกลางพทุ ธศตวรรษท่ี 20 เปน็ การคา้ ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ของพระมหากษตั รยิ ์ (หรอื  
ทเ่ี รยี กวา่ การคา้ แบบผกู ขาดโดยพระมหากษตั รยิ )์ ประการท่ี 2 คอื การควบคมุ การคา้ กบั ตา่ งประเทศตลอด  
จนการซือ้ ขายและกำ� หนดราคาสนิ คา้ จะอยู่ในความรับผดิ ชอบของขุนนางตำ� แหน่ง “พระคลังสินค้า” และ  
สินคา้ ตอ้ งหา้ มบางชนดิ เช่น ไมฝ้ าง พรกิ ไทย จะไม่อนุญาตใหซ้ อ้ื ขายกบั พอ่ ค้าโดยตรง แต่ต้องซ้ือจาก  
พระคลังสินค้าตามราคาที่ราชการก�ำหนด นับว่าเป็นระบบการค้าท่ีควบคุมโดยส่วนกลาง ย่ิงกว่าน้ันใน  
พระราชสาสน์ ยังบอกถงึ รายละเอยี ดของทตู ชอื่ คะกิฮานะ (Kakihana) กบั ล่ามช่ือ เหลยี งฟู (Liang Fu)  
รวมถงึ รายการเครอื่ งราชบรรณาการทสี่ ง่ มาถวาย อนั ประกอบดว้ ย ผา้ แพรขลบิ ทอง 5 พบั ผา้ แพรขาว 20  
พบั ก�ำมะถนั 3,000 ชัง่ ดาบ 5 เล่ม พดั 30 ด้าม จานลายครามขนาดใหญ่ 400 จาน จานลายคราม  
ขนาดเล็ก 2,000 จาน ถอดเนื้อความมาจากพระราชสาสน์ ถงึ ชามุโรโกกุ (สยาม) ลง ณ ปหี งซที ี่ 12
       จากพระราชสาส์นดงั กล่าวแสดงให้เหน็ ถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสองประเทศว่าเปน็ ความสมั พนั ธ์  
ดา้ นการคา้ ระหวา่ งรฐั ตอ่ รฐั โดยสมบรู ณ์ ขอ้ ทน่ี า่ สงั เกตคอื บคุ คลทที่ ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ เสมอื นคนกลางทเี่ กยี่ วขอ้ ง  
กบั การค้าระหวา่ งประเทศไทยกบั ญี่ปุน่ ในสมยั อยธุ ยา คือชาวจีน
       สินค้าท่ีค้าขายระหว่างรวิ กวิ และอยุธยาสามารถแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทที่ 1 คือ  
สนิ คา้ ทผ่ี ลติ จากประเทศจนี ไดแ้ ก่ ผา้ แพรขาวคณุ ภาพดี เครอ่ื งเคลอื บและสงิ่ ของชนดิ อนื่ ๆ  เครอื่ งเคลอื บ  
ถือเป็นสินค้าส่งออกที่ส�ำคัญที่สุด สินค้าเหล่าน้ีถูกน�ำเข้ามายังริวกิวด้วยระบบการค้าแบบบรรณาการท่ี  
ริวกิวมีความสัมพันธ์กับจีน   สินค้าประเภทท่ี 2 คือ สินค้าท่ีริวกิวส่งออกไปอยุธยาในสมัยน้ันคือ ดาบ  
สนิ ค้าประเภทที่ 3 คอื สินค้าท่นี ำ� เขา้ มาจากอยุธยา ได้แก่ ไมฝ้ าง ผ้าฝา้ ยพมิ พ์ สรุ า และนำ�้ กุหลาบ ใน  
จ�ำนวนน้ไี ม้ฝางเป็นสนิ คา้ ส�ำคญั ทส่ี ุด โดยใน ค.ศ. 1480 ไมฝ้ างท่ีส่งจากอยธุ ยาถึงริวกวิ รวมเป็นนำ�้ หนกั  
ถงึ 25,000 ชงั่ หรอื ประมาณ 15 ตนั ไมฝ้ างนนั้ ถกู ล�ำเลยี งไปขายยงั จนี อกี ตอ่ หนง่ึ ไมฝ้ างนชี้ าวญป่ี นุ่ เรยี ก  
วา่ โสโบคุ (Soboku) หรือสุโอ (Suo) แกน่ ของไม้ฝางจะนำ� ไปใชย้ อ้ มผ้าซงึ่ จะใหส้ ีออกแดงสวยงาม ไม้  
ฝางเปน็ ของหายากและมรี าคาแพงในญี่ป่นุ แต่เป็นไม้ซง่ึ มอี ยทู่ ัว่ ไปในอยุธยา
         2 ปหี งซี (Hong xi) แสดงให้เหน็ วา่ ริวกิวสมัยน้นั ใช้ศักราชของจีนดว้ ย

` สอื่ กบั วัฒนธรรมบริโภค 10-15 มาจากต่างแดน โดยปกติงานแฟรจ์ ัดข้นึ ปลี ะคร้งั เท่านัน้ ในขณะท่ีการค้าขายผา่ นรปู แบบรา้ นคา้ น้ัน รา้ น ค้าในอดีตลูกค้ากับผู้ขายมีความคุ้นเคยกันระดับหน่ึง เน่ืองจากสินค้าเป็นผลผลิตของคนในพื้นที่ ร้านค้า ส่วนใหญ่เป็นส่วนขยายของผู้ผลิตสินค้าท่ีมีฝีมือ ค�ำว่า “ร้าน” (shop) ในภาษาอังกฤษดั้งเดิมหมายถึง ดา้ นหน้าของทพ่ี กั (Goodman and Cohen, 2004, p. 5) การไปซือ้ ของในอดตี แตกต่างจากความหมาย ในปัจจบุ ัน ตรงทร่ี ้านในอดีตไมม่ สี ินคา้ หลากหลาย ไม่มีการจดั วางสินคา้ ให้ลกู คา้ ได้ชม การเข้าไปในร้าน มนี ยั ของการตอ้ งซอื้ สนิ คา้ ไมใ่ ชก่ ารเดนิ เลน่ เลอื กชมสนิ คา้ ราคาสนิ คา้ ตอ่ รองได้ ไมเคลิ มลิ เลอร์ (Michael Miller) (อา้ งถึงใน Corrigan, P., 1997, p. 51) ฉายภาพการซอ้ื สินค้าในประเทศฝรั่งเศสกอ่ นทีจ่ ะมหี ้าง สรรพสนิ คา้ วา่ รา้ นคา้ ในอดตี ขายสนิ คา้ เฉพาะอยา่ ง ลกู คา้ ไมร่ ลู้ ว่ งหนา้ วา่ มสี นิ คา้ แบบใดอยภู่ ายในรา้ นบา้ ง ราคาสนิ คา้ ไมไ่ ด้ถกู กำ� หนดตายตัว ไมม่ ีการคนื หรอื เปลี่ยนสนิ ค้าหลงั การซ้อื ขายจบลง อาจกลา่ วไดว้ า่ ผล ประโยชนข์ องผ้ผู ลิตมาก่อนผู้บริโภค ลกู ค้าจงึ มิใชอ่ งคป์ ระกอบสำ� คัญทส่ี ดุ ในกระบวนการซื้อขายสนิ คา้

   สำ� หรบั สงั คมอเมรกิ นั ในอดตี คนอเมรกิ นั ซอื้ สนิ คา้ จากผผู้ ลติ ทม่ี ฝี มี อื ซง่ึ เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั เปน็ อยา่ งดี  
ในยา่ นใกลเ้ คยี ง หรอื เปน็ การหาซอื้ สนิ คา้ จากเจา้ ของรา้ นของชำ� และรา้ นทว่ั ไป ในชว่ งปี 1923 สองในสาม ของรา้ นค้าปลกี ในอเมริกายงั คงเป็นรา้ นขายของชำ� (Mom-and-Pop stores) สินคา้ สว่ นใหญ่เป็นสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภคในชวี ติ ประจ�ำวนั ไมม่ กี ารใชแ้ บรนดห์ รอื การใหค้ วามส�ำคญั กบั บรรจหุ บี หอ่ ใดๆ เจา้ ของรา้ น เป็นผู้ชั่งน้�ำหนักสินค้าเพ่ือแบ่งขายให้กับลูกค้า เจ้าของร้านหรือผู้ขายของช�ำจึงมีบทบาทเป็นตัวกลาง ระหวา่ งสนิ คา้ และผู้ใชส้ ินค้า (Aldridge, 2005, pp. 35-36)
   ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 เม่ือสินค้าส�ำเร็จรูปออกสู่ท้องตลาดมากข้ึน ร้านค้าปลีกเร่ิมปรับตัว  
สนิ คา้ ไดร้ บั การกำ� หนดราคาแนน่ อน ความนา่ เชอื่ ถอื ของสนิ คา้ ในอดตี ซง่ึ มาจากการบอกกลา่ วตอ่ ๆ กนั มา ถกู แทนทด่ี ว้ ยชอื่ เสยี งซงึ่ เกดิ จากการโฆษณา รา้ นคา้ เรม่ิ ใชว้ ธิ กี ารจดั แสดงสนิ คา้ เพอ่ื ดงึ ดดู ลกู คา้ โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ การเกดิ ขน้ึ ของยา่ นชานเมอื งทำ� ใหเ้ กดิ รา้ นคา้ ขนาดใหญร่ ปู แบบใหมซ่ งึ่ เปน็ ทรี่ วมของสนิ คา้ หลาก หลายประเภท โดยรปู แบบธรุ กจิ และองคก์ รแบบใหมอ่ นั เปน็ สถานทส่ี ำ� หรบั การจบั จา่ ยสนิ คา้ ซง่ึ เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ในชอ่ื ห้างสรรพสินค้า (department store)

  1. การเกิดข้ึนของห้างสรรพสินค้า
       การขยายตวั ของรา้ นคา้ ปลกี ในชว่ งปลายศตวรรษที่ 19 จนถงึ ตน้ ศตวรรษที่ 20 สว่ นหนงึ่ เกดิ จาก  
    
    การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ บวกกบั การพฒั นาดา้ นขนสง่ มวลชน ซง่ึ เออื้ ตอ่ ผผู้ ลติ สนิ คา้ และผบู้ รโิ ภค เนอื่ งจาก

    ในกลางศตวรรษท่ี 19 ระบบการผลติ เริ่มเปลยี่ นเป็นการผลติ ในรูปแบบอุตสาหกรรม ยคุ นเ้ี ป็นยุคแหง่ การ ประดิษฐ์ คิดค้นเทคโนโลยี ผลผลิตมลี กั ษณะเหมอื นๆ กัน ราคาถูก เมื่อสนิ ค้ามีจำ� นวนมากจึงจำ� เปน็ ตอ้ ง มีเครื่องไมเ้ ครอื่ งมือใหมๆ่ เขา้ มารองรบั เพื่อช่วยระบายสินคา้ เหล่านี้ออกสูผ่ ูบ้ ริโภค ในชว่ งปลายศตวรรษ ท่ี 19 หนงึ่ ในนวตั กรรมของยคุ คอื หา้ งสรรพสนิ คา้ โดยหา้ งสรรพสนิ คา้ ถอื วา่ เปน็ พฒั นาการลำ� ดบั ตอ่ มาของ บรโิ ภคนยิ ม เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ การปรบั เปลยี่ นรา้ นคา้ ปลกี จนนำ� ไปสกู่ ารเกดิ หา้ งสรรพสนิ คา้ ทงั้ ในทวปี ยโุ รป และอเมริกาเหนอื เกิดข้นึ ในช่วงเวลาไลเ่ ล่ยี กัน

       บองมาเช่ (Bon Marche) เป็นห้างสรรพสินค้าแห่งแรกถือก�ำเนิดข้ึนในปี 1869 ที่กรุงปารีส  
    
    ประเทศฝรง่ั เศส ในขณะทอี่ เมรกิ ามหี า้ งเมซี (Macy) ในเมอื งนวิ ยอรก์ และมหี า้ งตา่ งๆ เกดิ ขน้ึ ตามมาเชน่

    `