การเก ดสมด ลเคม ม ล กษณะ การเปล ยนแปลงอย ในระบบป ด

7. ครตู งั้ คำถามใหนกั เรียนรวมกนั อภิปรายเกย่ี วกับลกั ษณะของปฏกิ ิริยาท่ีผนั กลับไมไดและปฏิกิริยา

ทผ่ี นั กลับได เชน

  1. ปฏิกิรยิ าทใ่ี นระบบจะมที ั้งสารตัง้ ตน และผลติ ภณั ฑอยูท ุกชนดิ คอื ปฏกิ ิริยาประเภทใด

(แนวตอบ : ปฏิกริ ยิ าทผ่ี ันกลับได)

  1. สญั ลักษณแ สดงการเปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ไดเปนอยางไร

(แนวตอบ : ⇌)

  1. ปฏกิ ิรยิ าทีผ่ ลติ ภณั ฑไ มเปลีย่ นกลับมาเปนสารตง้ั ตนคือปฏกิ ิรยิ าประเภทใด

(แนวตอบ : ปฏกิ ิรยิ าท่ผี นั กลับไมไ ด) (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล) ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Expand) 8. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสอื เรยี นรายวชิ าเพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 อีก

ครง้ั ดงั น้ี

• ปฏกิ ิริยาที่ผันกลบั ไดจ ะมลี ักษณะอยา งไร

(แนวตอบ : ปฏิกิริยาที่ผันกลับไดเปนปฏิกิริยาที่มีทั้งการเปลี่ยนแปลงไปขางหนาและการ เปลี่ยนแปลงยอ นกลับ ผลิตภัณฑสามารถเปลี่ยนกลบั มาเปน สารตั้งตนได เกิดในระบบปด และ ในระบบจะมที งั้ สารต้ังตนและผลติ ภณั ฑอยูท กุ ชนิด) 9. ครูเปด โอกาสใหน กั เรยี นซกั ถามขอสงสยั ในเนอื้ หา เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทผ่ี นั กลับได วามีสว นไหน

ที่ยังไมเขาใจ และใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น เพื่อจะใชเปนความรูเบื้องตนสำหรับการเรียนใน

เนือ้ หาตอ ๆ ไป 10. นกั เรยี นทำแบบฝกหดั ในหนงั สอื แบบฝกหดั รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 11. นกั เรยี นทำ Topic Question จากหนังสอื เรียนรายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมินผลโดยครปู ระเมนิ ผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการ

ทำงานรายบุคคลพฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนาชั้นเรียน 2. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบฝก หดั

3. ครูวัดและประเมินผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เรื่อง ปฏิกิริยาระหวางสารละลายคอปเปอร

(II) ซัลเฟตกบั สารละลายกรดไฮโดรคลอริก

4. นักเรยี นและครรู วมกันสรุปเกยี่ วกับการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลบั ได ดงั น้ี

• ปฏกิ ริ ิยาทผี่ ันกลับไดเปน ปฏิกิรยิ าทีม่ ที ัง้ การเปล่ียนแปลงไปขางหนาและการเปลีย่ นแปลง ยอ นกลบั ผลิตภณั ฑสามารถเปลี่ยนกลบั มาเปน สารต้งั ตน ได เกดิ ในระบบปด และในระบบจะมี ทง้ั สารตงั้ ตนและผลิตภัณฑอยทู กุ ชนดิ

• ปฏกิ ิรยิ าทผ่ี ันกลับไมไ ด มลี ักษณะดังน้ี

  1. เกดิ ในระบบเปดหรอื ปด ก็ได
  2. มีเฉพาะการเปลี่ยนแปลงไปขา งหนา
  3. ผลิตภัณฑไมเ ปลี่ยนกลับมาเปน สารต้งั ตน
  4. เม่ือปฏิกิรยิ าเกิดข้นึ สมบรณู ใ นระบบสารต้งั ตนจะหมดไป เหลอื แตผ ลิตภณั ฑทเ่ี กิดขนึ้

• ปฏกิ ริ ยิ าทีผ่ นั กลบั ได

  1. เกดิ ในระบบปดเทาน้นั
  2. มีท้งั การเปลีย่ นแปลงไปขางหนา และการเปลยี่ นแปลงยอนกลับ
  3. ผลิตภณั ฑส ามารถเปลยี่ นกลับมาเปนสารตงั้ ตน ได
  4. ในระบบจะมีท้งั สารตั้งตน และผลิตภณั ฑอ ยทู กุ ชนิด

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมนิ 7.1 การประเมนิ กอ น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรยี น - ประเมินตามสภาพจรงิ เรยี น กอ นเรียน หนว ยการ หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 - แบบทดสอบกอ น เรียนรูที่ 3 สมดุลเคมี สมดุลเคมี

เรยี น หนวยการ - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหดั - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ เรียนรูที่ 3 สมดุล - ประเมินการปฎิบตั ิ การ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2 เคมี ปฎบิ ัตกิ าร ผา นเกณฑ

7.2 ประเมินระหวาง การจดั กิจกรรม การเรียนรู

  1. การเปล่ียนแปลง

ทีผ่ ันกลบั ได

  1. การทดลอง

เร่อื ง ปฏกิ ิรยิ า

ระหวา ง สารละลายคอป

เปอร (II) ซลั เฟต

รายการวดั วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑการประเมิน กับสารละลาย กรดไฮโดรคลอรกิ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2

  1. การนำเสนองาน ผลงาน เสนอ ผา นเกณฑ ผลงาน
  2. พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม การทำงาน การทำงานรายบคุ คล - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 รายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ - สงั เกตพฤติกรรม
  3. พฤติกรรมการ การทำงานกลุม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกลุม - สังเกตความมวี นิ ยั รับผดิ ชอบ ใฝเรยี นรู การทำงานกลมุ ผานเกณฑ
  4. คุณลกั ษณะ และมุงม่ันในการ อันพึงประสงค ทำงาน - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2

คุณลักษณะ ผานเกณฑ

อนั พึงประสงค

8. สื่อ/แหลง การเรียนรู

8.1 สื่อการเรยี นรู

  1. หนังสอื เรียนรายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนว ยการเรยี นรูที่ 3 สมดุลเคมี
  1. หนังสอื แบบฝกหัดรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 สมดลุ เคมี
  1. วัสด-ุ อุปกรณท ใี่ ชในการทดลองเร่อื ง ปฏิกิรยิ าระหวางสารละลายคอปเปอร (II) ซลั เฟตกับ

สารละลายกรดไฮโดรคลอริก

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 16

วิชา เคมี 3 รหัสวชิ า ว 30223

เร่ือง การเปลยี่ นแปลงที่ภาวะสมดลุ จำนวน 2 คาบ (120 นาที) ผสู อน นางสาวกานตรวี สุรวาทกุล ใชสอน ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5

โรงเรียนบา นแพงพิทยาคม กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

1. ผลการเรยี นรู

อธบิ ายการเปลีย่ นแปลงความเขมขน ของสาร อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าไปขา งหนา และอตั ราการ

เกดิ ปฏกิ ิริยายอนกลบั เมอ่ื เร่มิ ปฏกิ ิรยิ าจนกระท่ังระบบอยูในภาวะสมดลุ

2. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธบิ ายการเกดิ สมดุลระหวา งสถานะ สมดุลในสารละลายอม่ิ ตวั และสมดลุ ในปฏิกริ ิยาเคมไี ด (K)

2. อธิบายกราฟความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับเวลา และกราฟความสัมพันธระหวา ง

ความเขมขนของสารกบั เวลาได (K)

3. อธบิ ายความหมายของภาวะสมดุลและสมดลุ ไดนามิกได (K) 4. สรปุ สมบัติของระบบ ณ ภาวะสมดลุ ได (K) 5. ใชเครือ่ งมอื และอุปกรณท างวิทยาศาสตรไดอยางถูกตอ ง (P)

6. ปฏิบตั ิตามข้ันตอนการทดลองไดอ ยางถกู ตอ ง (P)

7. ต้ังใจเรยี นรแู ละแสวงหาความรู รบั ผิดชอบตอ หนาทีท่ ีไ่ ดรับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู

สาระการเรยี นรเู พมิ่ เติม สาระการเรยี นรูทอ งถ่นิ

ปฏิกิริยาเคมีที่สามารถดำเนินไปขางหนาและ พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

ยอ นกลับได เรยี กวา ปฏิกิรยิ าผนั กลับได เมื่อปฏิกิริยา

ดำเนินไปความเขมขนของสารตั้งตนและอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาไปขางหนาจะลดลง สวนความเขมขน

ของผลิตภัณฑและอัตราการเกิดปฏิกิริยายอ นกลับจะ

เพิ่มขึ้น เมื่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาเทากับ

อัตราการเกิดปฏิกิริยายอนกลับ ระบบจะอยูในภาวะ

สมดุลที่มีความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตภัณฑ

คงท่เี รยี กวา สมดลุ พลวตั

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

ภาวะสมดลุ คือ ภาวะทรี่ ะบบมสี มบัติคงที่ หรือภาวะทสี่ ารตั้งตนและสารผลิตภัณฑทุกชนิดมีปริมาณ

หรือความเขมขนคงที่ หรือภาวะที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงไปขางหนาเทากับอัตราการเปลี่ยนแปลง

ยอ นกลบั

สมดุลไดนามิก คือ สมดุลที่มีการเคลื่อนที่ของอนุภาคอยูตลอดเวลา ระบบไมหยุดนิ่ง อัตราการ

เปล่ยี นแปลงไปขา งหนา เทากับอตั ราการเปลยี่ นแปลงผนั กลับ

ทภ่ี าวะสมดลุ จะมสี ารตั้งตน ทกุ ชนดิ เหลืออยู และมีผลติ ภัณฑทเ่ี กิดขึน้ ทกุ ชนิดดวย โดยในภาวะสมดุล

มีทง้ั ภาวะสมดลุ ระหวางสถานะ ภาวะสมดุลในสารละลายอมิ่ ตัวและภาวะสมดลุ ปฏิกิรยิ าเคมี

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค

สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั รับผดิ ชอบ

2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเรยี นรู

  1. ทักษะการสังเกต 3. มงุ มัน่ ในการทำงาน
  1. ทักษะการสำรวจคนหา
  1. ทักษะการวเิ คราะห
  2. ทักษะการทดลอง
  1. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
  1. ทักษะการตีความหมายและลงขอสรปุ

3. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ข้นั ที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรเู กย่ี วกับการเปล่ยี นแปลงท่ีผนั กลบั ได เชน

• ปฏิกิริยาท่ีผันกลับไดจะมีลักษณะอยางไร

(แนวตอบ : ปฏิกิริยาที่ผันกลับไดเปนปฏิกิริยาที่มีทั้งการเปลี่ยนแปลงไปขางหนาและการ

เปลี่ยนแปลงยอ นกลับ ผลิตภัณฑสามารถเปลี่ยนกลับมาเปน สารตั้งตนได เกิดในระบบปด และ

ในระบบจะมที ัง้ สารตัง้ ตน และผลติ ภณั ฑอ ยูท ุกชนิด) 2. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม

1 วา “เมอื่ สารเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีจะมีภาวะสมดลุ เกิดข้ึนหรอื ไม อยา งไร” ใหนักเรยี นรว มกนั ตอบ คำถาม จากน้นั ครูและนกั เรยี นรวมกนั อภิปราย เพอ่ื นำไปสขู นั้ สอนตอ ไป

(แนวตอบ : ภาวะสมดุลจะเกิดข้ึนเมื่ออตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าไปขา งหนาเทากบั อัตราการ เกดิ ปฏิกริ ิยายอนกลับ) ข้นั ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore) 1. ครใู หน กั เรียนจบั คกู ับเพ่ือน โดยใหแ ตละคูศึกษาคน ควาขอ มูลเก่ียวกบั เร่ือง การเปลีย่ นแปลงท่ี

ภาวะสมดุล จากหนังสอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

2. นักเรียนนำขอ มูลที่ไดจ ากการคน ควา ทำเปนรูปแบบตาง ๆ ตามความคดิ เหน็ ของแตละคู เชน

แผนภาพ แผนผัง เขียนบรรยาย (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ ) ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain) 3. ครสู ุม นกั เรยี น 1 คูม านำเสนอเร่ืองที่ไดศ กึ ษาคนควา ขอ มูลและผลงานการจัดทำขอมูลหนาชนั้ เรียน

จากนัน้ ใหน ักเรยี นทกุ คนรว มกนั แสดงความคิดเห็นจนเกดิ ความเขาใจท่ีตรงกนั

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบการนำเสนอหนาผลงาน) 4. ครตู ้งั คำถามใหนกั เรียนรว มกันอภิปราย เรื่อง การเปล่ยี นแปลงทีภ่ าวะสมดลุ เชน

  1. ภาวะสมดลุ คืออะไร

(แนวตอบ : ภาวะสมดุล คอื ภาวะท่ีระบบมสี มบัติคงที่ หรือภาวะทีส่ ารตัง้ ตน และสารผลิตภัณฑ ทกุ ชนิดมีปรมิ าณหรือความเขม ขน คงท่ี หรอื ภาวะทีม่ อี ัตราการเปล่ยี นแปลงไปขางหนาเทากับ อตั ราการเปลี่ยนแปลงยอ นกลับ)

  1. ปฏกิ ิริยาเคมีทอี่ ยูในภาวะสมดุลตอ งมลี ักษณะอยา งไร

(แนวตอบ : ปฏิกิริยาตองเปนปฏิกิริยาที่เกิดการผันกลับได ปฏิกิริยาตองเกิดในระบบปดท่ี อุณหภมู หิ อ ง และอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปขางหนาและยอ นกลบั ตองเทา กนั ) ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore) 5. ครูใหน กั เรียนแบง กลุม กลุมละ 5 คน แลวทำการทดลอง เร่ือง การทดสอบไอรอ อน (III) ไอออน (Fe3+) ไอรออน (II) ไอออน (Fe2+) และไอโอดนี (I2) จากหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 เพอื่ ใหท ราบถึงวิธีการทดสอบ Fe3+ Fe2+ และ I2

6. ครูใชร ูปแบบการเรยี นรูแ บบรว มมอื เทคนิค LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหสมาชิกแต

ละคนภายในกลุมมีบทบาทหนาท่ขี องตนเอง ดงั นี้ • สมาชิกคนท่ี 1 : ทำหนาทีเ่ ตรยี มวัสดุ-อปุ กรณท่ีใชใ นการทดลองเรื่อง การทดสอบไอรอ อน

(III) ไอออน (Fe3+) ไอรออน (II) ไอออน (Fe2+) และไอโอดนี (I2) • สมาชิกคนท่ี 2 : ทำหนา ทีอ่ านวิธีการทดลอง ทำความเขาใจ และอธิบายใหสมาชกิ ในกลมุ ฟง

• สมาชิกคนที่ 3 : ทำหนาทบี่ ันทกึ ผลการทดลอง

• สมาชิกคนที่ 4 และ 5 : ทำหนาทีน่ ำเสนอผลการทดลอง

7. สมาชกิ ทกุ คนในกลมุ ชวยกนั ลงมอื ทำการทดลอง (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain) 8. ครใู หน ักเรยี นแตละกลมุ สงตวั แทน (สมาชกิ คนท่ี 4 และ 5 ของกลมุ ) มานำเสนอผลการทดลอง หลังจากนั้นใหนกั เรยี นทุกคนรว มกนั อภิปรายผลการทดลองจนมีความเขา ใจท่ตี รงกนั

(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแบบการนำเสนอหนา ผลงาน) 9. ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั อภปิ รายและหาขอ สรปุ จากการปฏิบัติการทดลอง โดยใชแ นวคำถาม ดงั นี้

  1. สารใดนำมาใชในการทดสอบ Fe3+ และไดผ ลการทดสอบอยา งไร (แนวตอบ : สารทน่ี ำมาใชใ นการทดสอบ Fe3+ คือ สารละลายแอมโมเนยี มไทโอไซยาเนต ซึง่ จะ ไดสารสีแดงสด)
  1. สารใดนำมาใชในการทดสอบ Fe2+ และไดผ ลการทดสอบอยางไร (แนวตอบ : สารที่นำมาใชในการทดสอบ Fe3+ คือ สารละลายโพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอ เรต (III) ซ่งึ จะไดต ะกอนสนี ำ้ เงนิ )
  1. สารใดนำมาใชใ นการทดสอบ I2 และไดผ ลการทดสอบอยางไร (แนวตอบ : สารทน่ี ำมาใชในการทดสอบ I2 คือ นำ้ แปง ซึ่งจะไดส ารละลายสีนำ้ เงนิ )
  1. จากผลการทดลองทไี่ ดสามารถสรุปไดวา อยางไร (แนวตอบ : สารละลายแอมโมเนียมไทโอไซยาเนตใชในการทดสอบ Fe3+ สารละลาย โพแทสเซยี มเฮกซะไซยาโนเฟอเรต (III) ใชใ นการทดสอบ Fe2+ และน้ำแปงใชในการทดสอบ I2 )

ขนั้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore) 10. ครทู บทวนวธิ ีการทดสอบ Fe3+ Fe2+ และ I2 จากน้ันใหน กั เรียนทำการทดลองเพื่อตรวจสอบภาวะ สมดุลของ Fe3+ และ Fe2+

11. ครูใหนักเรยี นแบง กลมุ โดยใชกลมุ เดมิ จากคาบท่ีแลว ทำการทดลอง เร่ือง การทดสอบภาวะสมดุล ระหวางไอรออน (III) ไอออน (Fe3+) และไอรออน (II) ไอออน (Fe2+) จากหนังสือเรียนรายวิชา

เพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 12. ครใู ชรปู แบบการเรยี นรแู บบรวมมือ เทคนิค LT มาจัดกระบวนการเรยี นรู โดยกำหนดใหส มาชกิ แต

ละคนภายในกลุม มีบทบาทหนาที่ของตนเอง ดังนี้ • สมาชกิ คนท่ี 1 : ทำหนาทีเ่ ตรยี มวสั ด-ุ อปุ กรณท ใี่ ชในการทดลอง เรอื่ ง การทดสอบภาวะสมดุล ระหวางไอรอ อน (III) ไอออน (Fe3+) และไอรอ อน (II) ไอออน (Fe2+) • สมาชกิ คนที่ 2 : ทำหนา ท่อี า นวธิ ีการทดลอง ทำความเขา ใจ และอธบิ ายใหส มาชกิ ในกลมุ ฟง • สมาชกิ คนท่ี 3 : ทำหนาท่บี ันทึกผลการทดลอง

• สมาชกิ คนที่ 4 และ 5 : ทำหนาที่นำเสนอผลการทดลอง

โดยสมาชกิ ในกลมุ จะตอ งสลบั หนาท่ีกันทำ ไมทำหนาทเ่ี หมือนการทดลองทีผ่ านมา

13. สมาชกิ ทกุ คนในกลมุ ชว ยกนั ลงมือทำการทดลอง

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ )

ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain) 14. ครใู หน ักเรียนแตละกลมุ สงตัวแทน (สมาชิกคนที่ 4 และ 5 ของกลมุ ) มานำเสนอผลการทดลอง หลงั จากนนั้ ใหนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายผลการทดลองจนมีความเขาใจทีต่ รงกัน (หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบการนำเสนอหนาผลงาน) 15. ครูและนักเรยี นรว มกันอภปิ รายและหาขอสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ ารทดลอง โดยใชแนวคำถาม ดงั น้ี

  1. เมื่อหยดสารละลาย K3Fe(CN)6 ลงในสารละลายผสมระหวางสารละลาย Fe(NO3)3 และ สารละลาย KI จะไดผลอยา งไร และสรุปผลไดวาอยางไร (แนวตอบ : จะไดตะกอนสนี ้ำเงิน แสดงวาในระบบมี Fe2+ เกดิ ขึน้ )
  2. เม่ือหยดนำ้ แปงลงในสารละลายผสมระหวา งสารละลาย Fe(NO3)3 และสารละลาย KI จะไดผล อยางไร และสรปุ ผลไดว า อยางไร (แนวตอบ : จะไดสารสีน้ำเงิน แสดงวา ในระบบมี I2 เกดิ ขน้ึ )
  3. เมื่อหยดสารละลาย NH4SCN ลงในสารละลายผสมระหวางสารละลาย Fe(NO3)3 และ สารละลาย KI จะไดผลอยางไร และสรุปผลไดว า อยางไร (แนวตอบ : จะไดส ารละลายสีแดง แสดงวา ในระบบมี Fe3+ เหลืออย)ู
  4. เมื่อหยดสารละลาย NH4SCN ลงในสารละลายผสมระหวางสารละลาย (NH4)2Fe(SO4)2 และ สารละลายไอโอดีนในเอทานอล (I2) จะไดผลอยางไร และสรุปผลไดวา อยางไร (แนวตอบ : จะไดส ารละลายสีแดง แสดงวา ในระบบมี Fe3+ เกดิ ขึ้น)
  5. จากผลการทดลองที่ไดส ามารถสรุปไดว าอยางไร (แนวตอบ : ปฏิกิริยาระหวาง Fe(NO3)3 และ KI จัดเปนปฏิกิริยาทีผันกลับได เพราะมี Fe3+ และ I - อยใู นระบบตลอดเวลา สมการ ณ ภาวะสมดลุ เขยี นได ดังน้ี

2Fe3+ (aq) + 2I - (aq) ⇌ 2Fe2+ (aq) + I2 (aq) )

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล) ข้ันที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)

16. ครใู หนักเรียนจับคกู ับเพื่อน โดยใหแตละคูศึกษาคนควา ขอ มูลเกี่ยวกบั เร่ือง กราฟความสมั พันธ ระหวา งอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมกี ับเวลา และกราฟความสัมพนั ธระหวา งความเขมขน ของสาร กับเวลา จากหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

17. นกั เรยี นนำขอ มลู ท่ีไดจ ากการคนควา ทำเปนรปู แบบตา ง ๆ ตามความคดิ เหน็ ของแตละคู เชน แผนภาพ แผนผงั เขียนบรรยาย (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ )

ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain) 18. ครสู ุมนกั เรยี น 1 คมู านำเสนอเร่อื งที่ไดศึกษาคน ควาขอมลู และผลงานการจัดทำขอ มูลหนา ชน้ั เรยี น จากนั้นใหนกั เรยี นทกุ คนรว มกันแสดงความคดิ เห็นจนเกดิ ความเขา ใจท่ีตรงกัน

(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบการนำเสนอหนาผลงาน) 19. ครูตั้งคำถามใหนักเรยี นรวมกันอภิปราย เรื่อง กราฟความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยา

เคมกี ับเวลา และกราฟความสัมพนั ธร ะหวา งความเขมขนของสารกบั เวลา เชน

  1. สมดลุ ไดนามกิ คอื อะไร (แนวตอบ : สมดลุ ไดนามิก คอื สมดลุ ท่มี ีการเคลอ่ื นที่ของอนภุ าคอยูตลอดเวลา ระบบไมหยุด น่ิง อตั ราการเปล่ียนแปลงไปขางหนาเทากับอตั ราการเปลยี่ นแปลงผนั กลบั )
  1. เมื่อเขาสูภาวะสมดลุ กราฟความสัมพนั ธระหวา งอัตราการเกิดปฏิกริยาเคมีกับเวลามลี ักษณะ

เปน อยางไร

(แนวตอบ : เมื่อเขาสูภาวะสมดุล อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนาจะเทากับอัตราการ เกิดปฏกิ ิริยาเคมียอ นกลับ ซึ่งกราฟทงั้ 2 เสน จะทับกัน แลวจะขนานกบั แกนของเวลา) (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล) ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Expand) 20. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัยในเนื้อหา เรื่อง การเปลี่ยนแปลงที่ภาวะสมดุล วามีสวน

ไหนท่ยี งั ไมเขาใจ และใหความรูเพ่มิ เตมิ ในสวนนัน้ เพอื่ จะใชเ ปน ความรเู บื้องตนสำหรับการเรียน ในเน้ือหาตอ ๆ ไป 21. นักเรยี นทำแบบฝกหดั ในหนงั สอื แบบฝก หัดรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 22. นักเรียนทำ Topic Question จากหนังสอื เรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผลโดยครูประเมินผลนักเรยี น โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคลพฤติกรรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหนา ชน้ั เรียน

2. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝก หัด

3. ครูวัดและประเมินผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เร่ือง การทดสอบไอรออน (III) ไอออน (Fe3+) ไอรอ อน (II) ไอออน (Fe2+) และไอโอดีน (I2)

4. ครวู ดั และประเมินผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เรอื่ ง การทดสอบภาวะสมดลุ ระหวางไอรออน (III) ไอออน (Fe3+) และไอรอ อน (II) ไอออน (Fe2+)

7. การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑก ารประเมนิ

รายการวดั - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝกหัด - รอยละ 60 ผานเกณฑ 7.1 ประเมินระหวาง - ระดบั คุณภาพ 2 - ประเมนิ การปฎบิ ตั ิ - แบบประเมนิ การ ผา นเกณฑ การจัดกจิ กรรม การ ปฎิบัติการ การเรียนรู - ระดบั คุณภาพ 2

  1. การเปลย่ี นแปลงท่ีภาวะ - ประเมินการปฎบิ ตั ิ - แบบประเมนิ การ ผา นเกณฑ การ ปฎบิ ัติการ สมดุล - ระดบั คุณภาพ 2
  2. การทดลองเร่ือง การ - ประเมินการ - แบบประเมินการ ผานเกณฑ นำเสนอผลงาน เสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2 ทดสอบไอรอ อน (III) - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต ผา นเกณฑ ไอออน (Fe3+) ไอรอ อน การทำงาน พฤตกิ รรม (II) ไอออน (Fe2+) และ รายบุคคล การทำงาน - ระดบั คุณภาพ 2 ไอโอดีน (I2) รายบุคคล ผา นเกณฑ
  3. การทดลองเร่อื ง การ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ 2 ทดสอบภาวะสมดลุ การทำงานกลมุ พฤติกรรม ผานเกณฑ ระหวางไอรออน (III) การทำงานกลุม ไอออน (Fe3+) และไอร - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ออน (II) ไอออน (Fe2+) รบั ผดิ ชอบ ใฝ คณุ ลักษณะ
  4. การนำเสนองาน เรียนรูแ ละมงุ มน่ั ใน อนั พึงประสงค การทำงาน
  5. พฤติกรรม การทำงาน รายบคุ คล
  1. พฤติกรรมการ ทำงานกลุม
  1. คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค

8. ส่ือ/แหลง การเรียนรู

8.1 สือ่ การเรียนรู

  1. หนังสอื เรยี นรายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรียนรูท่ี 3 สมดลุ เคมี
  2. หนงั สือแบบฝกหัดรายวชิ าเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 สมดลุ เคมี
  1. วสั ด-ุ อปุ กรณท ี่ใชใ นการทดลองเรอ่ื ง การทดสอบไอรอ อน (III) ไอออน (Fe3+) ไอรอ อน (II) ไอออน

(Fe2+) และไอโอดีน (I2)

  1. วัสด-ุ อุปกรณท ใี่ ชใ นการทดลองเรื่อง การทดสอบภาวะสมดุลระหวางไอรอ อน (III) ไอออน (Fe3+)

และไอรออน (II) ไอออน (Fe2+)

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 17

วิชา เคมี 3 รหสั วชิ า ว 30223

เรื่อง ความสมั พันธร ะหวา งความเขมขนของสารตางๆ ณ ภาวะสมดลุ จำนวน 2 คาบ (120 นาที) ผูส อน นางสาวกานตรวี สุรวาทกุล ใชสอน ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5

โรงเรยี นบานแพงพทิ ยาคม กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

1. ผลการเรียนรู

1. คำนวณคา คงท่สี มดลุ ของปฏิกริ ยิ า

2. คำนวณความเขมขน ของสารทภ่ี าวะสมดุล

3. คำนวณคา คงทสี่ มดุลหรือความเขม ขนของปฏิกิริยาหลายข้ันตอน

2. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธิบายความสมั พันธระหวา งความเขม ขน ของสารตั้งตนและผลติ ภัณฑใ นปฏกิ ริ ิยาเคมีที่ภาวะสมดุลได

(K)

2. แปลความหมายของคา คงทีส่ มดุลได (K) 3. คำนวณหาคา คงท่ีสมดุลของปฏิกริ ยิ าและความเขมขนของสารในปฏิกริ ิยาที่ภาวะสมดุลได (P) 4. ต้ังใจเรียนรแู ละแสวงหาความรู รบั ผิดชอบตอ หนา ทที่ ไ่ี ดร ับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู

สาระการเรียนรูเพิ่มเตมิ สาระการเรยี นรทู องถ่ิน

- ณ ภาวะสมดุล ความสัมพันธระหวางเขมขนของ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

ผลิตภัณฑกับสารตั้งตน แสดงไดดวยคาคงที่สมดุล

ซึ่งเปนคาคงท่ี ณ อณุ หภูมหิ นงึ่

- คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาหลายขั้นตอน หาไดจาก

ผลคูณของคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยายอยที่นำ

สมการเคมมี ารวมกัน โดยถา มีการคูณสมการยอยให

ยกกำลังคาคงที่สมดุลดวยตัวเลขที่คูณ และหากมี

การกลับขา งสมการ ใหกลับคา คงทีส่ มดลุ เปนตัวหาร

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

ณ ภาวะสมดุล ความสมั พันธร ะหวา งเขมขน ของผลิตภัณฑกับสารตัง้ ตน แสดงไดดวยคาคงที่สมดุล ซ่ึง

เปน คา คงที่ ณ อุณหภูมหิ น่งึ

คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาหลายขั้นตอน หาไดจากผลคูณของคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยายอยที่นำ

สมการเคมีมารวมกนั โดยถา มีการคูณสมการยอยใหยกกำลังคาคงที่สมดุลดว ยตัวเลขท่ีคูณ และหากมีการ

กลับขางสมการ ใหกลบั คาคงที่สมดลุ เปน ตัวหาร

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น คณุ ลักษณะอันพึงประสงค

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ยั รับผิดชอบ

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเรียนรู

  1. ทกั ษะการสังเกต 3. มุงมน่ั ในการทำงาน
  1. ทกั ษะการสำรวจคน หา
  1. ทกั ษะการวเิ คราะห
  1. ทักษะการทำงานรวมกัน

3. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู

แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ขั้นท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรเู ก่ียวกับภาวะสมดุลเคมี ดงั น้ี

• เม่อื สารเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีจะมภี าวะสมดลุ เกิดขึน้ หรอื ไม อยา งไร (แนวตอบ : ภาวะสมดุลจะเกดิ ขน้ึ เม่อื อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาไปขา งหนาเทากับอัตราการ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ ายอ นกลบั )

2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 วา “เมื่อระบบเขาสูภาวะสมดุล ความเขมขนของสารตาง ๆ ในระบบจะมีคาอยางไร” ให นกั เรยี นรว มกนั ตอบคำถาม จากนนั้ ครูและนักเรยี นรว มกนั อภปิ ราย เพ่ือนำไปสูขั้นสอนตอไป (แนวตอบ : เมอื่ ระบบเขาสูสมดลุ ความเขม ขนของสารตา ง ๆ ในระบบจะมคี าคงท

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน โดยใหแตละกลุมศกึ ษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับความสมั พันธ

ระหวางอัตราสวนระหวางความเขมขนของผลิตภัณฑกับสารตั้งตน ณ ภาวะสมดุล และคาคงท่ี

สมดุล จากหนงั สือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 2. นกั เรียนนำขอ มูลทีไ่ ดจ ากการคน ควา ทำเปนรูปแบบตา ง ๆ ตามความคิดเหน็ ของแตละกลุม เชน

แผนภาพ แผนผงั เขยี นบรรยาย

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม ) ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)

3. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนมานำเสนอเรือ่ งที่ไดศึกษาคนควาขอมูลและผลงานการจัดทำขอมูล ของกลมุ ตนเองหนาช้ันเรยี นทีละกลมุ เพื่อแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ กันจนครบทุกกลุม

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบการนำเสนอหนาผลงาน)

4. ครูใหความรูเกี่ยวกับการหาคาคงที่สมดุลในปฏิกิริยาที่สารตั้งตนและผลิตภัณฑอยูในสถานะ

เดยี วกันและตางสถานะกัน รวมทัง้ หนว ยของคา คงทส่ี มดุล

5. ครูตงั้ คำถามใหนกั เรียนรวมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธร ะหวา งอัตราสว นระหวา งความ

เขมขนของผลิตภัณฑกบั สารตั้งตน ณ ภาวะสมดุล และคาคงทส่ี มดุล เชน

  1. ปฏิกิริยาทค่ี าคงที่สมดุลมีคา มากและปฏิกริ ิยาทคี่ าคงทีส่ มดลุ มีคา นอ ยแตกตางกนั อยางไร

(แนวตอบ : ปฏิกิริยาที่คาคงที่สมดุลมีคามาก แสดงวา ที่สมดุลปฏิกิริยานั้นจะมีผลิตภัณฑ

เกิดขึ้นมาก และมีสารตั้งตนเหลืออยูนอย สวนปฏิกิริยาที่คาคงที่สมดุลมีคานอย แสดงวา ที่

สมดุลปฏกิ ิริยานัน้ จะมีผลติ ภัณฑเกดิ ขน้ึ นอย และมสี ารต้งั ตนเหลืออยมู าก)

6. ครูยกตัวอยางโจทยเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางคาคงที่สมดุลกับความเขมขนของสาร โดยครู

เขียนโจทย และใหน ักเรยี นรว มกันอภปิ รายเพือ่ หาคำตอบ ดงั นี้

  1. จงเขียนคาคงท่สี มดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้ CO (g) + H2O (l) ⇌ CO2 (g) + H2 (g)

(แนวตอบ : K = [ [ 2 ] [ ] 2])

  1. จงเขยี นคา คงทีส่ มดลุ ของปฏิกริ ิยาตอไปนี้ Pb2+ (aq) + 2I- (aq) ⇌ PbI2 (s) (แนวตอบ : K = [ 2+1][ −]2) [NO2Cl]2
  2. จงเขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ยิ าเคมีทีม่ คี าคงที่สมดลุ เทากับ [NO2]2[Cl2]

(แนวตอบ : 2NO2 (g) + Cl2 (g) ⇌ 2NO2Cl (g))

ข้นั ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)

7. ครูใหนกั เรยี นจับคู โดยใหแ ตละคศู ึกษาคน ควา ขอ มลู เก่ียวกบั เรอื่ ง คา คงทส่ี มดุลกบั สมการเคมี

จากหนังสือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 แลวรว มกันแสดงความคิดเห็นจน

เกิดความเขาใจทีต่ รงกนั

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)

8. ครูยกตัวอยา งสมการเคมีหลากหลายรูปแบบ แลว ใหนักเรยี นรว มกันอภิปรายเพื่อลงขอสรปุ

เก่ียวกับคาคงที่สมดลุ กับความสมั พันธของสมการเคมใี นประเดน็ ตา ง ๆ ดังน้ี

• คา คงท่ีสมดุลของปฏิกิริยายอนกลับ

• คาคงทีส่ มดุลของปฏกิ ิรยิ าทม่ี เี ลขสมั ประสิทธโ์ิ ดยโมลตางกนั

• คาคงที่สมดุลของปฏิกริ ยิ ารวม

9. ครยู กตัวอยา งโจทยเ กย่ี วกับคาคงท่ีสมดุลกบั สมการเคมี โดยครเู ขียนโจทย และใหนักเรียนรวมกัน

อภิปรายเพื่อหาคำตอบ ดงั นี้

  1. ปฏิกิริยา SO2 (g) + 12O2 (g) ⇌ SO3 (g) มีคาคงที่สมดุลเทากับ 20.4 ที่อุณหภูมิ 700 องศา เซลเซียส จงหาคา คงท่ีสมดลุ ของปฏกิ ริ ยิ าตอไปน้ี • SO3 (g) ⇌ SO2 (g) + 21O2 (g)

(แนวตอบ : Kใหม = 1 = 1 = 4.9 × 10-2) เดิม 20.4

• 2SO2 (g) + O2 (g) ⇌ 2SO3 (g) (แนวตอบ : Kใหม = เ2ดมิ = 20.42 = 416.16)

  1. กำหนดปฏกิ ิริยาให ดงั นี้ +⇌12B21B(g()g⇌) + ปฏกิ ิริยา A (g) C (g) ; K1 = 1.8 ปฏกิ ริ ิยา X (g) Y (g) ; K2= 0.5 คาคงท่ีสมดลุ ของปฏกิ ิริยา A (g) + X (g) ⇌ C (g) + Y (g) มีคาเทาใด

(แนวตอบ : Kใหม = K1 × K2 = 1.8 × 0.5 = 0.9)

ขั้นท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)

10. ครใู หน กั เรยี นจบั คกู ับเพ่ือนทนี่ ่ังขางกนั แลว รวมกนั ฝก คำนวณเกย่ี วกบั คา คงที่สมดุล จากตัวอยาง

ท่ี 3.1-3.6 ในหนังสือเรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม)

ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู (Explain)

11. ครูสุมนักเรยี น 6 คู ออกมาแสดงวธิ กี ารคำนวณตัวอยา งแตล ะขอ หนา ชั้นเรียนใหถ ูกตอ ง โดยครู

คอยเสริมความรูในสว นที่นกั เรยี นยงั ไมเ ขาใจ

12. ครูอธบิ ายการคำนวณคาคงที่สมดลุ เมื่อกำหนดความเขม ขน ของสาร ณ ภาวะสมดุล และการ

คำนวณความเขมขนของสาร ณ ภาวะสมดุลเมื่อกำหนดคา คงท่ีสมดุล ซงึ่ มหี ลกั และขั้นตอนในการ

คำนวณหาคาคงท่ีสมดลุ ดงั นี้

• ตองทราบชนดิ ของสารต้ังตน และผลิตภัณฑใ นปฏกิ ิรยิ าและตอ งดลุ สมการใหถูกตอง

• ตอ งทราบความเขม ขนของสารตาง ๆ ท่อี ยใู นภาวะสมดุล โดยความเขม ขน ทน่ี ำมาแทนคาจะตอ ง

มีหนวยเปนโมลตอ ลูกบาศกเ ดซิเมตร

• เขยี นความสมั พนั ธของคาคงทสี่ มดุล

• คำนวณโดยการแทนคา ในสตู ร

13. ครูยกตัวอยางโจทยเกี่ยวกับคาคงที่สมดุล โดยครูเขียนโจทยและแสดงวิธีทำใหนักเรียนดูบน

กระดาน ดงั น้ี

  1. แกสแอมโมเนียสลายตวั ในภาชนะปด ขนาด 500 ลกู บาศกเ ซนติเมตร ท่ีอุณหภมู ิคา หนง่ึ ใหแกส

ไนโตรเจนและแกสไฮโดรเจน ดังสมการ

2NH3 (g) ⇌ N2 (g) + 3H2 (g)

ที่ภาวะสมดุล พบวา มีแกสแอมโมเนีย แกสไนโตรเจน และแกสไฮโดรเจนเทากับ 3.0 2.0

และ 4.0 โมล ตามลำดับ จงคำนวณหาคา คงทส่ี มดุลของปฏิกริ ิยาน้ี

วธิ ที ำ K = [N2][H2]3 [NH3]2

ท่ีภาวะสมดลุ [NH3] = 3 mol × 1000 cm3 = 6 mol/dm3 500cm3 1dm3

[N2] = 2 mol × 1000 cm3 = 4 mol/dm3 500cm3 1dm3

[H2] = 4 mol × 1000 cm3 = 8 mol/dm3 500cm3 1dm3 \= (4)(8)3 จะได K (6)2 = 56.89

ดงั น้นั คา คงทส่ี มดุลของปฏิกริ ิยานมี้ คี า เทากบั 56.89

  1. คาคงท่สี มดุลของปฏกิ ริ ิยา H2 (g) + I2 (g) ⇌ 2HI (g) มีคา เทากบั 18.0 ท่ี 25 องศาเซลเซียส

ณ ภาวะสมดุล ที่อุณหภูมิเดียวกัน พบวา ในภาชนะขนาด 1 ลิตร มีแกสไฮโดรเจนไอโอไดด

และแกสไอโอดีนอยู 0.3 และ 0.2 โมล ตามลำดับ จะมีแกสไฮโดรเจนอยูกี่โมล/ลูกบาศก

เดซิเมตร

วธิ ีทำ K = [HI]2 = 18.0 [H2][I2] [[1[IHH28]I2.]]0===0=01.1(2.13[8H((=0.2=00.]3.)03(0().0)022.23..22m)m) ool/l/ddmm33

ณ ภาวะสมดุล

จะไดวา

\= 0.025 mol/dm3

ดังน้นั จะมแี กสไฮโดรเจนอยู 0.025 โมล/ลูกบาศกเดซิเมตร

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล)

ข้นั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)

14. ครูใหนกั เรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน โดยใหแตละกลุมศึกษาคนควาขอ มูลเก่ียวกับคาคงทีส่ มดลุ

ของระบบที่เปนแกส และคาคงที่สมดุลของการละลาย จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความรูที่ไดจากการศึกษาจนมี

ความเขา ใจทตี่ รงกนั

15. ครูใหนักเรียนแตละกลุมฝกการคำนวณเกี่ยวกับคาคงที่สมดุลของระบบที่เปนแกส และคาคงท่ี

สมดุลของการละลาย จากตัวอยางที่ 3.7-3.10 ในหนังสือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี

ม.5 เลม 1

(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)

16. ครสู ุมนกั เรียน 1 กลุม ออกมาแสดงวิธกี ารคำนวณตวั อยางแตละขอหนาชัน้ เรยี นใหถูกตองโดยครู

คอยเสรมิ ความรใู นสว นท่ีนักเรยี นยังไมเ ขาใจ

17. ครูต้ังคำถามใหนักเรยี นรว มกนั อภปิ รายเกย่ี วกับ คาคงท่สี มดุล เชน

  1. คา Kc และ Kp มีความสมั พันธก ันอยางไร (แนวตอบ : Kp = Kc( )∆ )
  1. คา คงท่สี มดุลของการละลายคืออะไร และบอกใหท ราบถงึ สิง่ ใด

(แนวตอบ : คาคงท่สี มดุลของการละลาย คือ คาคงท่ีสมดุลของการละลายของสารประกอบไอ ออนิกในนำ้ เปนคาทบ่ี อกใหทราบวา สารประกอบน้นั ละลายน้ำไดมากนอยเพียงใด ที่อุณหภูมิ คงท)ี่ 18. ครูยกตัวอยางโจทยเกี่ยวกับคาคงที่สมดุล โดยครูเขียนโจทยและแสดงวิธีทำใหนักเรียนดูบน

กระดาน ดังน้ี

  1. กำหนดใหคาคงที่สมดุล (Kc) ของปฏิกิริยา N2 (g) + 3H2 (g) ⇌ 2NH3 (g) เทากับ 0.286 ที่

อุณหภมู ิ 500 องศาเซลเซียส จงหาคาคงท่สี มดุลในเทอมความดนั (Kp)

วธิ ที ำ Kp = Kc(RT)∆n \= 0.286(0.082 × 773)-2 \= 7.12 × 10-5

ดงั นน้ั คา คงทส่ี มดลุ ในเทอมความดนั (Kp) คือ 7.12 × 10-5

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ข้ันที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Expand)

19. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 อีก

ครงั้ ดงั น้ี

• คา คงที่สมดุลคอื อะไร

(แนวตอบ : คาคงที่สมดุล คือ ผลคูณของความเขมขนของสารผลิตภัณฑที่ยกกำลังดวย สัมประสิทธิ์บอจำนวนโมลสารผลิตภัณฑหารดวยผลคูณของความเขมขนของสารตั้งตนที่ยก กำลังดว ยสัมประสิทธ์บิ อกจำนวนโมลสารตั้งตน ซ่งึ จะมคี าคงท่ที ่ีอุณหภูมิหนง่ึ ) 20. ครเู ปด โอกาสใหน ักเรยี นซักถามขอ สงสยั ในเนือ้ หา เรื่อง ความสัมพนั ธร ะหวา งความเขม ขนของสาร

ตางๆ ณ ภาวะสมดุล วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ และใหความรูเพิ่มเติมในสวนน้ัน เพื่อจะใชเปน

ความรเู บือ้ งตนสำหรับการเรยี นในเน้อื หาตอ ๆ ไป 21. นักเรียนทำใบงานที่ 3.3.1 เรื่อง ความสัมพันธระหวางความเขมขนของสารตางๆ ณ ภาวะ สมดุล 22. นกั เรียนทำแบบฝกหัด ในหนงั สอื แบบฝกหดั รายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 23. นักเรียนทำ Topic Question จากหนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผลนกั เรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหนา ชั้นเรยี น

2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 3.3.1 เรื่อง ความสัมพันธระหวา งความเขมขนของสารตา งๆ ณ ภาวะสมดุล

3. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบฝก หดั 4. นกั เรยี นและครรู ว มกันสรปุ สาระสำคัญได ดังน้ี

• คาคงที่สมดุลเปนคาที่บอกใหทราบถึงทิศทางของการเกิดปฏิกิริยา คือ ถาคาคงที่สมดุลมีคา มากกวา 1 แสดงวา ณ ภาวะสมดุลเกิดปฏิกิริยาไปขางหนามากกวาปฏิกิริยายอนกลับ แตถา คา คงที่สมดลุ มีคานอ ยกวา 1 แสดงวา ณ ภาวะสมดุลเกดิ ปฏิกริ ิยายอนกลับมากกวาปฏิกิริยาไป ขา งหนา

• คา คงท่ีสมดุลของปฏิกิรยิ ายอนกลบั เปนสวนกลับกับคา คงท่ีสมดุลของปฏกิ ริ ยิ าไปขา งหนา • คาคงท่ีสมดุลของปฏิกริ ยิ าเดยี วกนั ทมี่ ตี ัวเลขที่ใชในการดุลสมการแตกตางกัน จะคาแตกตา งกนั • คา คงทส่ี มดุลของปฏิกริ ิยารวมมคี าเทากบั ผลคูณระหวา งคาคงท่ีสมดลุ ของปฏกิ ริ ิยายอยในแตล ะ ขนั้

7. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑการประเมนิ

7.1 ประเมินระหวา ง - ใบงานท่ี 3.3.1 - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ - แบบฝกหดั - รอยละ 60 ผานเกณฑ การจดั กจิ กรรม - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2 การเรียนรู เสนอผลงาน ผานเกณฑ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2

  1. ความสัมพันธ - ตรวจใบงานที่ 3.3.1 การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ

ระหวางความ - ตรวจแบบฝกหัด - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานกลุม ผานเกณฑ เขมขนของสาร - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2 คณุ ลักษณะ ผา นเกณฑ ตางๆ ณ ภาวะ อันพึงประสงค

สมดุล

  1. การนำเสนองาน - ประเมินการนำเสนอ

ผลงาน

  1. พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม

การทำงาน การทำงานรายบุคคล

รายบุคคล

  1. พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม

ทำงานกลุม การทำงานกลมุ

  1. คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย

อันพึงประสงค รับผดิ ชอบ ใฝเรียนรู

รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑการประเมิน และมงุ มน่ั ในการ ทำงาน

8. สือ่ /แหลงการเรยี นรู

8.1 สอ่ื การเรียนรู

  1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนว ยการเรียนรทู ี่ 3 สมดลุ เคมี
  1. หนงั สอื แบบฝก หัดรายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 สมดุลเคมี
  1. ใบงานท่ี 3.3.1 เรื่อง ความสมั พนั ธระหวา งความเขม ขน ของสารตา งๆ ณ ภาวะสมดุล

แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 18

วิชา เคมี 3 รหัสวชิ า ว 30223

เรอื่ ง ผลของการเปลย่ี นแปลงความเขม ขน ตอภาวะสมดุล จำนวน 2 คาบ (120 นาท)ี ผูสอน นางสาวกานตรวี สรุ วาทกลุ ใชส อน ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 5

โรงเรียนบา นแพงพิทยาคม กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

1. ผลการเรียนรู

ระบปุ จจัยท่มี ผี ลตอภาวะสมดุลและคาคงที่สมดุลของระบบ รวมท้ังคาดคะเนการเปล่ยี นแปลงที่

เกิดขึ้นเมอื่ ภาวะสมดุล ของระบบถูกรบกวน โดยใชหลักของเลอชาเตอลิเอ

2. จดุ ประสงคการเรียนรู

1. อธิบายการเปล่ียนแปลงของระบบทอ่ี ยูในภาวะสมดลุ เมอื่ ถูกรบกวนโดยการเปล่ยี นแปลงความเขมขน ได

(K)

2. เปรยี บเทยี บปรมิ าณสารตั้งตน และผลติ ภณั ฑในระบบ ณ ภาวะสมดุลเดมิ กบั ภาวะสมดุลคร้งั ใหมได (K)

3. สรุปผลของการรบกวนภาวะสมดุลของระบบโดยการเปลีย่ นแปลงความเขม ขน ที่มีผลตอ คาคงที่สมดุลได (K)

4. ทำการทดลองเพ่อื ศกึ ษาผลของการเปลยี่ นแปลงความเขม ขนทมี่ ีตอภาวะสมดุลของระบบได (P)

5. ใชเคร่อื งมือและอุปกรณทางวิทยาศาสตรไ ดอ ยางถกู ตอง (P)

6. ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนการทดลองไดอยางถูกตอง (P)

7. ต้งั ใจเรียนรูแ ละแสวงหาความรู รบั ผิดชอบตอ หนา ท่ีทไี่ ดรับมอบหมาย (A) 3. สาระการเรียนรู

สาระการเรียนรเู พ่มิ เติม สาระการเรียนรทู อ งถ่ิน

เมื่อระบบที่อยูในภาวะสมดุลถูกรบกวน โดยการ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

เปลี่ยนแปลงความเขมขนของสาร ความดัน หรือ

อุณหภูมิ ระบบจะเกดิ การเปล่ียนแปลงเพือ่ เขาสูภาวะ

สมดุลอีกครั้งตามหลักของเลอชาเตอลิเอ ทั้งนี้การ

เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง อ ุ ณ ห ภ ู ม ิ ม ี ผ ล ท ำ ใ ห  ค  า ค ง ท ี ่ ส ม ดุ ล

เปล่ียนแปลง

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารตั้งตนทำใหภาวะสมดุลเปลี่ยนแปลงไป เมื่อระบบเขาสูภาวะ

สมดลุ อีกครง้ั ความเขม ขน ของสารตา ง ๆ ณ ภาวะสมดุลจะแตกตา งไปจากความเขมขนทภ่ี าวะสมดลุ เดิม

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั รบั ผดิ ชอบ

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ รียนรู

  1. ทักษะการสังเกต 3. มงุ ม่ันในการทำงาน
  1. ทักษะการสำรวจคนหา
  1. ทักษะการวิเคราะห
  1. ทกั ษะการทดลอง
  1. ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล
  1. ทักษะการตีความหมายและลงขอ สรุป

3. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

6. กจิ กรรมการเรยี นรู

แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ขั้นที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรูเกีย่ วกบั สมบตั ติ าง ๆ ของระบบ ณ ภาวะสมดุล โดยใชคำถาม ดงั นี้

• เม่ือระบบเขาสภู าวะสมดุล ความเขมขนของสารตา ง ๆ ในระบบจะมีคาอยางไร

(แนวตอบ : เม่ือระบบเขาสูสมดุล ความเขม ขน ของสารตา ง ๆ ในระบบจะมีคา คงท่ี) 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม

1วา “ปจจยั ใดบางที่มีผลตอ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคม”ี ใหน ักเรียนรว มกนั ตอบคำถาม จากนั้นครู และนกั เรียนรว มกนั อภิปราย เพ่อื นำไปสขู น้ั สอนตอ ไป

(แนวตอบ : ปจจยั ใดบางทม่ี ผี ลตอ ตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ไดแก ความเขม ขน ของาสารตงั้ ตน พน้ื ทีผ่ วิ ของสารตง้ั ตน อุณหภมู ิ ตวั เรงปฏกิ รยิ าและตวั หนวงปฏกิ ริ ิยา) ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Explore) 1. ครใู หนักเรียนแบง กลมุ กลมุ ละ 5 คน แลว ทำการทดลอง เร่อื ง การศึกษาผลของความเขมขนตอ

ภาวะสมดลุ จากหนงั สอื เรียนรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

2. ครใู ชร ูปแบบการเรียนรูแบบรว มมอื เทคนิค LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหส มาชิกแต

ละคนภายในกลุมมบี ทบาทหนาทข่ี องตนเอง ดังนี้

• สมาชิกคนที่ 1 : ทำหนา ที่เตรยี มวสั ดุ-อุปกรณที่ใชในการทดลอง เร่ือง การศกึ ษาผลของความ เขมขน ตอภาวะสมดุล

• สมาชกิ คนที่ 2 : ทำหนา ทีอ่ า นวธิ กี ารทดลอง ทำความเขาใจ และอธบิ ายใหสมาชกิ ในกลุมฟง

• สมาชกิ คนท่ี 3 : ทำหนาท่บี ันทกึ ผลการทดลอง

• สมาชกิ คนที่ 4 และ 5 : ทำหนาท่ีนำเสนอผลการทดลอง

3. สมาชกิ ทุกคนในกลุมชว ยกนั ลงมือทำการทดลอง (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ )

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain) 4. นกั เรียนแตล ะกลมุ สงตัวแทน (สมาชกิ คนที่ 4 และ 5 ของกลุม) มานำเสนอผลการทดลอง หลงั จาก

นน้ั ใหน ักเรียนทกุ คนรว มกนั อภปิ รายผลการทดลองจนมคี วามเขา ใจทีต่ รงกนั

5. ครูและนกั เรยี นรวมกันอภปิ รายและหาขอ สรุปจากการปฏบิ ตั กิ ารทดลอง โดยใชแนวคำถาม ดังน้ี

  1. เม่อื นำสารละลาย Fe(NO3)3 มาผสมกับสารละลาย NH4SCN จะเกดิ ผลอยา งไร

(แนวตอบ : ไดสารละลายสีแดงของ (FeSCN)2+ และเมื่อความเขมขน ของสีคงท่ี แสดงวา ระบบ อยูใ นภาวะสมดุล)

  1. เมือ่ เติมสารละลาย Fe(NO3)3 ลงในระบบที่อยูในภาวะสมดลุ จะเกดิ ผลอยางไร

(แนวตอบ : เมื่อเติมสารละลาย Fe(NO3)3 ลงไป จะทำใหความเขมขนของ Fe3+ ในระบบ เพิ่มขึ้น ทำใหสารละลายมีสีแดงเขมขึ้น แสดงวา ในระบบมี (FeSCN)2+ เกิดมากขึ้น ในที่สุด ความเขม ของสจี ะคงท่ี แสดงวา ระบบเขาสสู มดุลอีกคร้งั )

  1. เมื่อเติมสารละลาย NH4SCN ลงในระบบทีอ่ ยใู นภาวะสมดุล จะเกิดผลอยา งไร

(แนวตอบ : เมื่อเติมสารละลาย NH4SCN ลงไป จะทำใหความเขมขนของ SCN- ในระบบ เพิ่มขึ้น ทำใหสารละลายมีสีแดงเขมขึ้น แสดงวา ในระบบมี (FeSCN)2+ เกิดมากขึ้น ในที่สุด ความเขมของสีจะคงที่ แสดงวา ระบบเขาสสู มดลุ อีกครงั้ )

  1. เมอื่ เติมสารละลาย Na2HPO4 ลงในระบบท่ีอยใู นภาวะสมดลุ จะเกดิ ผลอยางไร

(แนวตอบ : เมื่อเติมสารละลาย Na2HPO4 ลงไป HPO42- จะทำปฏิกิริยากับ Fe3+ เกิดตะกอน ของ FeSO4 การเติม Na2HPO4 จึงทำใหความเขมขนของ Fe3+ ในระบบลดลง ทำให สารละลายมีสีแดงจางลง แสดงวา (FeSCN)2+ เกิดปฏิกิริยายอนกลับ สลายตัวให Fe3+ และ SCN- และในท่ีสดุ ความเขมของสีจะคงที่ แสดงวา ระบบเขา สสู มดุลอีกครั้ง)

  1. จากผลการทดลองที่ไดสามารถสรปุ ไดว าอยา งไร

(แนวตอบ : การเปลยี่ นแปลงความเขมขน ของสารตัง้ ตน ทำใหภาวะสมดุลเปลี่ยนแปลงไป เม่ือ ระบบเขาสูภาวะสมดุลอีกครั้ง ความเขมขนของสารตาง ๆ ณ ภาวะสมดุลจะแตกตางไปจาก ความเขมขน ท่ภี าวะสมดลุ เดิม) (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore) 6. ครูใหนักเรียนศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงความเขม ขน ทม่ี ีผลตอ ภาวะสมดลุ จากหนงั สือเรียนรายวชิ า

เพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 แลวรวมกันแสดงความคิดเหน็ จนเกดิ ความเขาใจที่ตรงกัน

ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู (Explain) 7. ครูต้ังคำถามใหน ักเรยี นรวมกนั อภิปราย เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงความเขมขนท่ีมีผลตอภาวะสมดุล

เชน

  1. ที่ภาวะสมดุลของปฏิกิริยา C2H6 (g) ⇌ C2H4 (g) + H2 (g) เมื่อเติมแกส C2H4 ลงในระบบ

จะทำใหค วามเขมขนของสารในระบบเปลี่ยนแปลงไปอยางไร และสมดุลจะเล่อื นไปทางใด

(แนวตอบ : การเติมแกส C2H4 ลงในระบบ เปนการเพิ่มความเขมขนของแกส C2H4 ระบบจะ ปรับตัวไปในทศิ ทางที่จะลดความเขมขน ของแกส C2H4 โดยเกิดปฏิกิริยายอ นกลับมากขึ้น ทำ ใหความเขม ขน ของแกส C2H6 เพิม่ ขึ้น สว นความเขมขน ของแกส H2 ลดลง)

  1. แกสฟอสจีน (COCl2) เตรียมไดจากปฏิกิรยิ าระหวางแกสคารบอนมอนอกไซด (CO) และแกส

คลอรนี (Cl2) ในภาชนะปด เกิดภาวะสมดลุ ดงั นี้ CO (g) + Cl2 (g) + พลงั งาน ⇌ COCl2 (g)

ถา ลดปรมิ าณแกส Cl2 สมดุลจะเปล่ียนแปลงไปอยางไร (แนวตอบ : การลดปริมาณแกส Cl2 เปนการลดความเขมขนของสารตั้งตน ดังนั้น ระบบจะ ปรับตัวไปในทิศทางท่ีจะเพิ่มความเขมขนของแกส Cl2 โดยเกิดปฏกิ ิรยิ ายอนกลับมากขึน้ ทำ ใหแ กส COCl2 สลายตวั ใหแ กส CO และแกส Cl2 มากข้นึ )

  1. ที่ภาวะสมดุลของปฏกิ ิริยา 2SO2 (g) + O2 (g) ⇌ 2SO3 (g) + พลังงาน ถาเพิ่มความเขมขน

ของแกส SO2 ในระบบ จะสงผลตอ ความเขมขนของแกส SO3 อยา งไร (แนวตอบ : การเพิ่มความเขมขนของแกส SO2 ในระบบ เปนการเพิ่มความเขมขน ของสารตง้ั ตน ระบบจะปรบั ตวั เพื่อลดความเขมขน ของแกส SO2 โดยการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าไปขางหนามากขึ้น ทำใหความเขม ขนของแกส SO3 เพ่มิ ขึน้ ) (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ข้ันที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Expand) 8. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัยในเนื้อหา เรื่อง การเปลี่ยนแปลงความเขมขนที่มีผลตอ

ภาวะสมดุล วามีสวนไหนที่ยังไมเขาใจ และใหความรูเพิ่มเติมในสวนนั้น เพื่อจะใชเปนความรู

เบ้ืองตน สำหรบั การเรยี นในเน้ือหาตอ ๆ ไป 9. นกั เรียนทำใบงานท่ี 3.4.1 เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงความเขมขน ตอ ภาวะสมดลุ ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผลโดยครูประเมนิ ผลนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการ

ทำงานรายบุคคลพฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการทำกิจกรรมหนาชน้ั เรียน

2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 3.4.1 เรอ่ื ง การเปล่ยี นแปลงความเขม ขน ตอภาวะสมดุล

3. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เรอ่ื ง การศึกษาผลของความเขม ขนตอภาวะ

สมดุล

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก ารประเมิน

7.1 ประเมินระหวาง - ใบงานท่ี 3.4.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ การจัดกิจกรรม - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2 การเรียนรู ปฎบิ ัติการ ผา นเกณฑ

  1. ผลของการ - ตรวจใบงานท่ี 3.4.1 - แบบประเมนิ การ - ระดบั คณุ ภาพ 2 เสนอ ผานเกณฑ เปลี่ยนแปลง ผลงาน - ระดบั คุณภาพ 2 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ ความเขมขนตอ การทำงานรายบุคคล - ระดับคุณภาพ 2 ผานเกณฑ ภาวะ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 การทำงานกลมุ ผา นเกณฑ
  2. การทดลองเร่อื ง - ประเมนิ การปฎิบัติ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ การศกึ ษาผลของ การ อันพงึ ประสงค

ความเขมขนตอ

ภาวะสมดลุ

  1. การนำเสนองาน - ประเมินการนำเสนอ

ผลงาน

  1. พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม การทำงาน การทำงานรายบุคคล รายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรม
  2. พฤตกิ รรมการ การทำงานกลุม ทำงานกลุม - สังเกตความมวี ินยั รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู
  3. คุณลักษณะ และมงุ มัน่ ในการ อันพึงประสงค ทำงาน

8. สอื่ /แหลง การเรียนรู

8.1 สอื่ การเรยี นรู

  1. หนงั สือเรยี นรายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 สมดุลเคมี
  1. ใบงานท่ี 3.4.1 เร่อื ง การเปลยี่ นแปลงความเขมขน ตอ ภาวะสมดลุ
  1. วัสดุ-อุปกรณทใ่ี ชใ นการทดลองเรอ่ื ง การศกึ ษาผลของความเขมขนตอ ภาวะสมดุล

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 19

วชิ า เคมี 3 รหัสวชิ า ว 30223

เรื่อง ผลของการเปลย่ี นแปลงความดันและอุณหภูมติ อภาวะสมดลุ จำนวน 2 คาบ (120 นาที) ผสู อน นางสาวกานตร วี สรุ วาทกลุ ใชสอน ชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 5

โรงเรยี นบานแพงพทิ ยาคม กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

1. ผลการเรยี นรู

ระบุปจ จยั ท่ีมผี ลตอ ภาวะสมดุลและคา คงท่ีสมดุลของระบบ รวมทัง้ คาดคะเนการเปล่ียนแปลงท่ี

เกิดขึ้นเมอ่ื ภาวะสมดลุ ของระบบถูกรบกวน โดยใชห ลักของเลอชาเตอลเิ อ

2. จุดประสงคการเรียนรู

1. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงของระบบทอ่ี ยูในภาวะสมดลุ เม่อื ถูกรบกวนโดยการเปล่ยี นแปลงความดนั และ

อุณหภมู ิได (K)

2. เปรียบเทยี บปรมิ าณสารต้ังตนและผลติ ภัณฑในระบบ ณ ภาวะสมดุลเดมิ กบั ภาวะสมดุลคร้ังใหมได (K)

3. สรปุ ผลของการรบกวนภาวะสมดุลของระบบโดยการเปล่ียนแปลงความดนั และอณุ หภูมิท่ีมผี ลตอคา คงท่ี สมดุลได (K)

4. ทำการทดลองเพอ่ื ศึกษาผลของการเปลยี่ นแปลงความดันและอุณหภูมิทม่ี ีตอ ภาวะสมดุลของระบบได

(P)

5. ใชเคร่ืองมือและอปุ กรณทางวิทยาศาสตรไ ดอยางถกู ตอ ง (P)

6. ปฏิบัติตามข้นั ตอนการทดลองไดอยา งถูกตอ ง (P) 7. ตง้ั ใจเรียนรูและแสวงหาความรู รับผดิ ชอบตอหนาที่ท่ไี ดรับมอบหมาย (A) 3. สาระการเรยี นรู

สาระการเรียนรเู พมิ่ เตมิ สาระการเรยี นรูทองถน่ิ

เมื่อระบบที่อยูในภาวะสมดุลถูกรบกวน โดยการ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา เปลี่ยนแปลงความเขมขนของสาร ความดัน หรือ

อณุ หภมู ิ ระบบจะเกิดการเปลีย่ นแปลงเพอื่ เขาสูภาวะ

สมดุลอีกครั้งตามหลักของเลอชาเตอลิเอ ทั้งนี้การ

เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง อ ุ ณ ห ภ ู ม ิ ม ี ผ ล ท ำ ใ ห  ค  า ค ง ท ี ่ ส ม ดุ ล

เปลี่ยนแปลง

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

การเปลยี่ นแปลงอุณหภมู ขิ องระบบ ทำใหสมดุลของระบบถูกรบกวน และในทีส่ ดุ ระบบจะปรับตัวเพ่ือ

เขาสภู าวะสมดลุ อกี ครง้ั

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค

สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ รียนรู

  1. ทักษะการสงั เกต 3. มงุ มั่นในการทำงาน
  1. ทกั ษะการสำรวจคน หา
  1. ทกั ษะการวเิ คราะห
  1. ทักษะการทดลอง
  1. ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ มูล
  1. ทักษะการตีความหมายและลงขอสรปุ

3. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู

แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ขั้นที่ 1 กระตุน ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนักเรยี นรวมกนั อภิปรายและทบทวนความรูเ กยี่ วกับการเปลยี่ นแปลงความเขมขนท่ีมีผลตอ

ภาวะสมดุลจากผลการทดลอง เรื่องการศึกษาผลของความเขมขน ตอ ภาวะสมดุล ดังน้ี

(แนวตอบ : จากการทดลอง การเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารตั้งตนทำใหภาวะสมดุล เปลี่ยนแปลงไป เมื่อระบบเขาสูภาวะสมดุลอีกครั้ง ความเขมขนของสารตา ง ๆ ณ ภาวะสมดุลจะ แตกตางไปจากความเขม ขนที่ภาวะสมดุลเดิม) 2. ครถู ามคำถามวา “ถา ทำการเปลย่ี นแปลงความดนั และอณุ หภูมขิ องระบบ จะสง ผลตอภาวะสมดุล และคาคงที่สมดุลหรือไม อยางไร” ใหนักเรียนรวมกันตอบคำถาม ซึ่งครูยังไมตองเฉลยคำตอบท่ี ถกู ตอง จากน้ันครแู ละนกั เรยี นรวมกันอภปิ ราย เพือ่ นำไปสขู ั้นสอนตอไป

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore) 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวทำการทดลอง เรื่อง การศึกษาผลของความดันและ อุณหภมู ิตอ ภาวะสมดลุ ตอนท่ี 1 และ 2 จากหนงั สอื เรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 2. ครใู ชรูปแบบการเรียนรแู บบรวมมอื เทคนคิ LT มาจัดกระบวนการเรยี นรู โดยกำหนดใหส มาชิกแต

ละคนภายในกลุมมบี ทบาทหนา ทขี่ องตนเอง ดงั น้ี

• สมาชิกคนท่ี 1 : ทำหนาทเ่ี ตรียมวสั ดุ-อุปกรณท ี่ใชใ นการทดลอง เรอ่ื ง การศกึ ษาผลของความ ดันและอุณหภูมติ อ ภาวะสมดลุ

• สมาชิกคนท่ี 2 : ทำหนาที่อานวธิ ีการทดลอง ทำความเขา ใจ และอธิบายใหสมาชกิ ในกลมุ ฟง

• สมาชกิ คนที่ 3 : ทำหนาทบ่ี ันทึกผลการทดลอง

• สมาชิกคนที่ 4 และ 5 : ทำหนา ทีน่ ำเสนอผลการทดลอง 3. สมาชิกทกุ คนในกลมุ ชวยกนั ลงมอื ทำการทดลอง

(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม ) ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)

4. นกั เรยี นแตล ะกลมุ สงตัวแทน (สมาชิกคนที่ 4 และ 5 ของกลุม ) มานำเสนอผลการทดลอง หลังจาก

นน้ั ใหนักเรยี นทุกคนรวมกนั อภิปรายผลการทดลองจนมคี วามเขาใจท่ีตรงกัน 5. ครแู ละนกั เรียนรวมกันอภปิ รายและหาขอสรุปจากการปฏิบตั กิ ารทดลอง โดยใชแนวคำถาม ดงั นี้

  1. เม่ือกดกา นหลอดฉดี ยาท่บี รรจแุ กส NO2 ลง จะเกดิ ผลอยางไร

(แนวตอบ : การกดกานหลอดฉีดยาลงเปนการลดปริมาตรของแกส NO2 ทำใหความดันและ ความเขมขนของแกส NO2 เพิ่มขึ้น แลวเกิดปฏิกิริยากลายเปนแกส N2O4 แกสจึงมีสีเขมขึ้น ตอมาสจี ะจางลงเลก็ นอ ยแลว คงท่ี แสดงวา ระบบเขา สสู มดุลอกี ครง้ั )

  1. เม่อื ดึงกานหลอดฉดี ยาท่บี รรจแุ กส NO2 ขึน้ จะเกิดผลอยางไร

(แนวตอบ : การดึงกานหลอดฉีดยาลงเปนการเพิ่มปริมาตรของแกส NO2 ทำใหความดันและ ความเขมขนของแกส NO2 ลดลง แกส N2O4 จึงเกิดปฏิกิริยาสลายตัวเปนแกส NO2 มากข้ึน แกสจึงมสี ีจางลง ตอ มาสีจะเขม ข้ึนเล็กนอ ยแลว คงที่ แสดงวา ระบบเขาสูสมดลุ อีกครงั้ )

  1. จากผลการทดลองทไี่ ดสามารถสรุปไดวาอยา งไร (แนวตอบ : การเปล่ยี นแปลงความดันของระบบ ทำใหส มดุลของระบบถกู รบกวน และในท่ีสุด ระบบจะปรับตัวเพื่อเขา สูภ าวะสมดลุ อกี คร้ัง) (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล) ข้นั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore) 6. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน แลวทำการทดลอง เรื่อง การศึกษาผลของความดันและ อุณหภูมิตอ ภาวะสมดลุ ตอนท่ี 3 จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

7. ครใู ชร ูปแบบการเรยี นรูแบบรวมมือ เทคนคิ LT มาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหส มาชิกแต

ละคนภายในกลุม มีบทบาทหนา ท่ีของตนเอง ดงั น้ี • สมาชิกคนท่ี 1 : ทำหนาทเ่ี ตรียมวสั ดุ-อปุ กรณท ่ีใชในการทดลองการทดลอง เรอื่ ง การศึกษา

ผลของความดนั และอุณหภูมติ อ ภาวะสมดุล • สมาชกิ คนที่ 2 : ทำหนา ทอ่ี า นวิธีการทดลอง ทำความเขาใจ และอธบิ ายใหสมาชิกในกลมุ ฟง

• สมาชิกคนท่ี 3 : ทำหนาทีบ่ นั ทึกผลการทดลอง

• สมาชกิ คนที่ 4 และ 5 : ทำหนา ท่ีนำเสนอผลการทดลอง

8. สมาชิกทกุ คนในกลุมชว ยกนั ลงมือทำการทดลอง

ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู (Explain) 9. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน (สมาชิกคนท่ี 4 และ 5 ของกลุม) มานำเสนอผลการทดลอง หลงั จากนั้นใหน กั เรียนทุกคนรว มกันอภิปรายผลการทดลองจนมีความเขา ใจท่ีตรงกนั

10. ครแู ละนักเรยี นรวมกันอภิปรายและหาขอ สรุปจากการปฏิบัตกิ ารทดลอง โดยใชแนวคำถาม ดังน้ี

  1. เม่อื นำหลอดทดลองท่ีบรรจุแกส NO2 ไปจุม ในนำ้ รอ น จะเกิดผลอยางไร

(แนวตอบ : เมื่อลดอุณหภูมิ แกสจะมีสีจางลง เนื่องจากแกส NO2 เกิดปฏิกิริยาไปขางหนา ได แกส N2O4 มากขนึ้ แสดงวา ภาวะสมดุลเปลีย่ นแปลงไป ตอมาสีจะเริม่ คงที่ แสดงวา ระบบเขา สูสมดลุ อกี คร้ัง)

  1. เม่ือนำหลอดทดลองทีบ่ รรจแุ กส NO2 ไปจมุ ในนำ้ เย็น จะเกิดผลอยา งไร

(แนวตอบ : เม่อื เพิ่มอุณหภูมิ แกสจะมีสเี ขมข้ึน เนอื่ งจากแกส N2O4 เกิดปฏิกิริยายอยกลับได แกส NO2 มากขนึ้ แสดงวา ภาวะสมดุลเปล่ยี นแปลงไป ตอมาสจี ะเรมิ่ คงท่ี แสดงวา ระบบเขา สู สมดุลอีกคร้งั )

  1. จากผลการทดลองทไ่ี ดส ามารถสรุปไดว า อยางไร

(แนวตอบ : การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ิของระบบ ทำใหส มดุลของระบบถกู รบกวน และในท่ีสุด ระบบจะปรับตวั เพ่อื เขา สภู าวะสมดุลอกี ครงั้ ) (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ข้ันท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore) 11. ครใู หนกั เรียนศกึ ษาเกย่ี วกับการเปลีย่ นแปลงความดนั และอุณหภมู ิท่มี ผี ลตอภาวะสมดุล จาก

หนังสือเรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

12. ครสู ุมตัวแทนนกั เรยี น 2 คน ออกมาอธิบายความรูจากเรือ่ งท่ีไดศกึ ษาไปใหเพ่ือนคนอ่ืนฟงหนา ชั้น

เรียน จากน้ันใหนกั เรียนทุกคนรวมกันแสดงความคดิ เหน็ จนเกดิ ความเขาใจท่ีตรงกนั ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain)

13. ครูตั้งคำถามใหนักเรียนรวมกันอภิปราย เรื่อง การเปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิที่มีผลตอ

ภาวะสมดลุ เชน

  1. การเปลีย่ นแปลงความดนั สงผลภาวะสมดุลอยา งไร

(แนวตอบ : เมื่อเพ่มิ ความดนั สมดลุ จะเลอื่ นไปทางดานทีม่ จี ำนวนโมลของแกสนอ ยกวา แตเมื่อ ลดความดัน สมดลุ จะเลื่อนไปทางดา นท่ีมีจำนวนโมลของแกสมากกวา แตถาทั้งดานสารต้ังตน และผลติ ภณั ฑมจี ำนวนโมลเทา กัน สมดลุ จะไมเ ปล่ียนแปลง)

  1. การเปลย่ี นแปลงอุณหภมู ิสงผลภาวะสมดลุ อยา งไร

(แนวตอบ : เมื่อเพมิ่ อุณหภูมิ สมดุลจะเลอื่ นไปทางดานดดู ความรอ น แตเมอื่ ลดอณุ หภมู ิ สมดุล จะเลื่อนไปทางดา นคายความรอน)

  1. การเปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิของระบบมีผลทำใหคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา เปลี่ยนแปลงไปหรือไม

(แนวตอบ : การเปลี่ยนแปลงความดันจะไมทำใหคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงไป สวนการเปลยี่ นแปลงอุณหภูมิจะมีผลทำใหคาคงทส่ี มดุลของปฏิกริ ยิ าเปลี่ยนแปลงไป)

  1. กำหนดปฏกิ ริ ยิ าให ดงั นี้ 2HI (g) + 9.45 kJ ⇌ H2 (g) + I2 (g) เม่ือลดความดนั ของระบบ

ลง 2 เทา ของความดนั เดมิ สมดุลของระบบจะมีการเปล่ียนแปลงอยา งไร

(แนวตอบ : สมดลุ ไมเ ปลยี่ นแปลง เพราะจำนวนโมลรวมของสารต้ังตน ที่เปนแกสเทากับจำนวน โมลรวมของผลติ ภณั ฑทีเ่ ปน แกส)

  1. กำหนดปฏิกิรยิ าให ดงั นี้ H2S (g) ⇌ H2 (g) + S (s) ถาปฏกิ ิรยิ านด้ี ูดความรอ น 20.6 กิโลจูล การเพิ่มอุณหภูมิของระบบ จะทำใหสมดุลเลื่อนไปทางใด และระบบจะมีการเปลี่ยนแปลง

อยางไร

(แนวตอบ : ปฏิกิริยานี้เปนปฏิกริ ิยาดูดความรอน ดังนั้น การเพิ่มอุณหภูมิของระบบจะทำให สมดุลเล่ือนไปขางหนา สมดลุ จึงเลื่อนไปทางขวา) (หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล) ข้นั ที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) 14. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 อกี

ครง้ั ดังนี้

• การเปล่ยี นแปลงความเขมขน ความดัน หรืออณุ หภูมจิ ะมีผลตอภาวะสมดลุ อยา งไร

(แนวตอบ : การเพิ่มความเขมขนของสารตั้งตนสารใดสารหนึ่ง สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา และ เม่อื เพม่ิ ความเขมขน ของสารผลิตภัณฑสารใดสารหน่ึง สมดลุ จะเล่อื นไปทางซาย

การลดความเขมขน ของสารตงั้ ตนสารใดสารหนึ่ง สมดุลจะเล่ือนไปทางซาย และเม่ือลด ความเขม ขนของสารผลิตภณั ฑส ารใดสารหน่งึ สมดุลจะเล่ือนไปทางขวา

การเพิ่มความดันรวมของระบบ ระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลใหมเพื่อลดความดัน โดย เกดิ ปฏิกิริยาไปทางดา นท่มี จี ำนวนโมลนอ ย

การลดความดันรวมของระบบ ระบบจะปรับตัวเขาสูสมดุลใหมเพื่อเพิ่มความดัน โดย เกิดปฏกิ ิรยิ าไปทางดานทม่ี จี ำนวนโมลมาก

ปฏิกิริยาดูดความรอน ถาเพิ่มอุณหภูมิ จะทำใหปฏิกิริยาไปขา งหนา เกดิ ขึ้นไดดี สมดุล จะเลื่อนไปทางขวา แตถาลดอุณหภูมิ จะทำใหปฏิกิรยิ ายอนกลับเกิดขึ้นไดดี สมดุลจะเลื่อนไป ทางซาย

ปฏิกริ ยิ าคายความรอน ถาเพมิ่ อณุ หภูมิ จะทำใหป ฏกิ ริ ยิ ายอนกลบั เกิดขึ้นไดดสี มดุลใจะ เลื่อนไปทางซาย แตถาลดอุณหภูมิ จะทำใหปฏิกิริยาไปขางหนาเกิดขึ้นไดดี สมดุลจะเลื่อนไป ทางขวา) 15. ครูเปด โอกาสใหน กั เรียนซักถามขอสงสัยในเน้อื หา เร่ือง การเปล่ียนแปลงความดนั และอณุ หภูมิที่มี

ผลตอภาวะสมดลุ วา มีสวนไหนทย่ี งั ไมเขาใจ และใหค วามรูเพม่ิ เติมในสวนนั้น เพอื่ จะใชเปน ความรู เบ้ืองตน สำหรับการเรียนในเนื้อหาตอ ๆ ไป

16. นักเรียนทำใบงานที่ 3.5.1 เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงความดันและอุณหภูมิตอ ภาวะสมดุล

17. นักเรียนทำแบบฝกหัด ในหนงั สอื แบบฝกหัดรายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

18. นกั เรยี นทำ Topic Question จากหนังสือเรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1

ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูประเมินผลโดยครูประเมินผลนักเรียน โดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการ

ทำงานรายบุคคลพฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนา ชน้ั เรียน

2. ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานท่ี 3.5.1 เร่ือง การเปลยี่ นแปลงความดนั และอณุ หภูมิตอ ภาวะ

สมดุล

3. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝกหัด

4. ครวู ดั และประเมนิ ผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เรอ่ื ง การศกึ ษาผลของความดันและอณุ หภูมิ

ตอภาวะสมดลุ

7. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วธิ กี าร เครื่องมือ เกณฑก ารประเมิน

7.1 ประเมนิ ระหวา ง

การจดั กจิ กรรม

การเรียนรู

  1. ผลของการ - ตรวจใบงานที่ 3.5.1 - ใบงานท่ี 3.5.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ

เปลยี่ นแปลง - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝก หดั - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ

ความเขมขนตอ

ภาวะ

  1. การทดลองเร่ือง - ประเมนิ การปฎิบัติ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2

การศกึ ษาผลของ การ ปฎิบตั ิการ ผานเกณฑ

ความดนั และ

อุณหภูมิตอ ภาวะ

สมดุล

  1. การนำเสนองาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2

ผลงาน เสนอผลงาน ผา นเกณฑ

  1. พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2

การทำงาน การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

รายบคุ คล

  1. พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2

ทำงานกลุม การทำงานกลมุ การทำงานกลมุ ผานเกณฑ

รายการวดั วิธกี าร เครือ่ งมอื เกณฑก ารประเมนิ

  1. คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คุณลกั ษณะ ผานเกณฑ อันพึงประสงค และมงุ มั่นในการ อนั พึงประสงค ทำงาน

8. สื่อ/แหลงการเรียนรู

8.1 สอ่ื การเรียนรู

  1. หนังสือเรยี นรายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนว ยการเรียนรูท่ี 3 สมดลุ เคมี
  1. หนงั สอื แบบฝก หดั รายวิชาเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนวยการเรียนรูที่ 3 สมดุลเคมี
  1. ใบงานที่ 3.5.1 เรอื่ ง การเปลย่ี นแปลงความเขมขนตอภาวะสมดลุ
  1. วัสด-ุ อุปกรณทใ่ี ชในการทดลองเรอื่ ง การศกึ ษาผลของความดันและอณุ หภูมติ อ ภาวะสมดุล

แผนการจัดการเรยี นรูที่ 20

วิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว 30223

เรอ่ื ง สมดุลเคมใี นชีวติ ประจำวัน จำนวน 2 คาบ (120 นาท)ี ผูสอน นางสาวกานตรวี สุรวาทกลุ ใชส อน ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5

โรงเรยี นบานแพงพิทยาคม กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

1. ผลการเรยี นรู

ยกตัวอยา งและอธิบายสมดลุ เคมีของกระบวนการทเี่ กิดขนึ้ ในส่งิ มชี ีวิต ปรากฏการณใ นธรรมชาติและ

กระบวนการในอุตสาหกรรม

2. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธบิ ายการนำหลกั สมดลุ เคมีมาประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวันได (K)

2. ส่ือสารเก่ียวกับการนำหลกั สมดุลเคมมี าประยุกตใชในชีวติ ประจำวนั ได (P)

3. ตงั้ ใจเรียนรแู ละแสวงหาความรู รับผิดชอบตอ หนา ที่ทไ่ี ดร บั มอบหมาย (A)

3. สาระการเรยี นรู

สาระการเรยี นรูเพิ่มเตมิ สาระการเรยี นรูท องถนิ่

ความรูเกี่ยวกับสมดุลเคมีสามารถนำมาใชอธิบาย พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา

กระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณใน

ธรรมชาตแิ ละกระบวนการในอตุ สาหกรรม

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

ความรูเกี่ยวกับสมดุลเคมีสามารถนำมาใชอธิบายกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณใน

ธรรมชาตแิ ละกระบวนการในอุตสาหกรรม

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค

สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ยั รับผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเรยี นรู 3. มงุ มั่นในการทำงาน

  1. ทักษะการสังเกต
  1. ทกั ษะการสำรวจคนหา
  1. ทักษะการวิเคราะห
  1. ทกั ษะการทำงานรว มกนั 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ

6. กจิ กรรมการเรยี นรู

แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) 1. ครกู ระตนุ ความสนใจของนกั เรยี นเกี่ยวกับเรอ่ื ง สมดุลเคมีในชีวติ ประจำวัน โดยใชค ำถามเพอื่

กระตนุ นกั เรยี น ดังน้ี

  1. ใหน กั เรยี นยกตวั อยา งสมดลุ เคมใี นชีวติ ประจำวนั

(แนวตอบ : พจิ ารณาคำตอบของนักเรียน โดยขึน้ อยูกับดุลยพนิ ิจของครูผูสอน ยกตัวอยางเชน กระบวนการหายใจและแลกเปลี่ยนแกส สมดลุ ของแคลเซยี มในรา งกาย ปรากฏการณหินงอก หินยอย) ขนั้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore) 1. ครใู หนกั เรียนแบง กลุม กลมุ ละ 5 คน โดยใหแตล ะกลมุ ศกึ ษาคน ควาขอ มูลเกย่ี วกบั เรื่อง สมดุลเคมี

ในสงิ่ มีชีวติ และสิ่งแวดลอม จากหนงั สือเรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 2. นักเรียนนำขอ มลู ทไ่ี ดจากการคนควา ทำเปนรูปแบบตา ง ๆ ตามความคดิ เหน็ ของแตละกลุม เชน

แผนภาพ แผนผัง เขยี นบรรยาย

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม) ข้ันที่ 3 อธิบายความรู (Explain)

3. นักเรยี นแตล ะกลมุ สงตัวแทนมานำเสนอเร่ืองท่ีไดศ กึ ษาคนควา ขอ มูลและผลงานการจัดทำขอมลู

ของกลมุ ตนเองหนาช้ันเรียนทีละกลุม เพอ่ื แลกเปล่ียนความคิดเห็นกันจนครบทกุ กลุม (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ บบการนำเสนอหนา ผลงาน) 4. ครูต้ังคำถามใหนกั เรยี นรว มกนั อภปิ ราย เร่อื ง สมดุลเคมใี นส่งิ มชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ ม เชน

  1. หนาที่หลกั ของเฮโมโกลบนิ คืออะไร และสามารถเขียนสมการแสดงปฏกิ ริ ิยาทเ่ี กดิ ข้ึนไดอ ยา งไร

(แนวตอบ : หนาที่หลักของเฮโมโกลบิน คือ ลำเลียงออกซเิ จนไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกาย สามารถเขียนสมการแสดงปฏกิ ิริยาได ดงั น้ี

Hb + O2 ⇌ HbO2 เฮโมโกลบิน อกกซีเฮโมโกลบนิ )

  1. คา คงทีส่ มดุลของปฏกิ ิรยิ าในขอ 1) มีคาเทา ใด (แนวตอบ : K = [ [ ] [ 2 2]])
  2. อธิบายเก่ียวกับการรกั ษาสมดุลของแคลเซยี มในเลือด

(แนวตอบ : ถาแคลเซียมในเลือดสูง จะเกิดการกระตุนใหตอมไทรอยดหลัง่ ฮอรโมนแคลซิโท นนิ เพ่ือลดระดับแคลเซียมในเลอื ด แตถา แคลเซยี มในเลอื ดต่ำ จะเกดิ การกระตุน ใหต อ มพารา ไทรอยดห ลงั่ พาราทอรโ มน เพ่อื เพิ่มระดบั แคลเซยี มในเลอื ด)

  1. สารประกอบคารบอนจะมหี ลกั การหมุนเวยี นกลบั สบู รรยากาศและแหลงน้ำไดอ ยางไร

(แนวตอบ : สารประกอบคารบอนจะมีหลักการหมุนเวียนกลับสูบรรยากาศและแหลงน้ำได โดยกระบวนการหายใจ การเผาไหม และการเนา เปอย)

  1. จงเขยี นสมการแสดงสมดุลของปฏกิ ริ ยิ าการเกิดหนิ งอกหนิ ยอ ย (แนวตอบ : CaCO3 (s) + CO2 (g) + H2O (l) ⇌ Ca2+ (aq) + 2HCO3- (aq)

Ca(HCO3)2) (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore) 5. ครูใหนกั เรยี นแบงกลมุ กลมุ ละ 3 คน โดยใหแ ตล ะกลุมศกึ ษาคน ควา ขอมูลเกย่ี วกบั เรื่อง สมดุลเคมี ในอตุ สาหกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 6. นักเรียนนำขอ มูลท่ไี ดจ ากการคนควาทำเปนรปู แบบตาง ๆ ตามความคิดเห็นของแตละกลมุ เชน แผนภาพ แผนผงั เขียนบรรยาย (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม) ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู (Explain) 7. นกั เรยี นแตละกลุม สง ตวั แทนมานำเสนอเรือ่ งท่ีไดศ ึกษาคน ควา ขอ มูลและผลงานการจดั ทำขอมูล ของกลมุ ตนเองหนา ชั้นเรียนทีละกลุม เพอื่ แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กันจนครบทุกกลมุ (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบการนำเสนอหนาผลงาน) 8. ครูต้ังคำถามใหน กั เรียนรวมกันอภปิ ราย เรอ่ื ง สมดุลเคมีในอุตสาหกรรม เชน

  1. การเตรียมแกสแอมโมเนยี ในอุตสาหกรรมใชก ระบวนการใด และเตรียมไดอ ยางไร

(แนวตอบ : การเตรียมแกสแอมโมเนียในอุตสาหกรรมใชกระบวนการฮาเบอร ซึ่งสามารถ เตรียมไดโ ดยนำแกส ไนโตรเจนมาทำปฏิกริ ยิ ากับแกสไฮโดรเจน ทอ่ี ณุ หภมู ิ 500 องศาเซลเซียส ความดัน 350 บรรยากาศ โดยมเี หลก็ เปนตวั เรงปฏกิ ริ ิยา)

  1. จงเขียนปฏิกิริยาแสดงการเตรียมแกสซัลเฟอรไตรออกไซด และถาตองการใหเกิดแกส แกสซลั เฟอรไตรออกไซดม ากข้นึ ตองทำอยางไร (แนวตอบ : ปฏกิ ริ ยิ าการเตรยี มแกสซลั เฟอรไตรออกไซดเ ปน ดังนี้

2SO2 (g) + O2 (g) ⇌ 2SO3 (g) + 197 kJ จะเห็นวา ปฏิกิริยานี้เปนปฏกิ ริ ยิ าคายความรอน และสารตัง้ ตนมีจำนวนโมลของแกสมากกวา ผลิตภัณฑ ดังนั้น ถาตองการใหเกิดปฏิกิริยาไปขางหนามากขึ้น จะตองเพิ่มความดันและลด อณุ หภูม)ิ

  1. จงเขยี นปฏิกิริยาแสดงการสงั เคราะหเพชรจากแกรไฟต และถาตองการใหเ กดิ เพชรมากขึ้นตอง ทำอยา งไร (แนวตอบ : ปฏิกริ ยิ าการสังเคราะหเพชรจากแกรไฟตเ ปน ดงั น้ี

C (แกรไฟต) + 1.9 kJ ⇌ C (เพชร)

จะเหน็ วา ปฏิกิริยาน้ีเปน ปฏิกริ ิยาคายความรอ น ดงั นน้ั ถาตอ งการใหเ กดิ ปฏิกิริยาไปขางหนา มากขน้ึ จะตอ งเพิม่ อุณหภูม)ิ

  1. จงระบุภาวะท่ีเหมาะสมในการสงั เคราะหเ พชร

(แนวตอบ : ภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะหเพชร คือ ที่อุณหภูมิประมาณ 2,000 องศา เซลเซียส ความดัน 50,000-100,000 บรรยากาศ และมีโครเมียม เหล็ก หรือแพลทินัมเปน ตัวเรง ปฏิกิรยิ า) (หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) 9. นกั เรียนทำ Topic Question จากหนังสอื เรยี นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 10. นักเรียนทำแบบฝก หดั ในหนังสือแบบฝกหดั รายวชิ าเพ่ิมเติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 11. ครูใหนักเรียนแตละคนพิจารณาวาจากหัวขอทีเ่ รียนมา หากสวนใดที่นักเรียนยังมีขอสงสัยใหครู

อธบิ ายเพิ่มเติมเพอื่ ใหนักเรียนเขา ใจ 12. นักเรียนอาน summary ประจำหนวยการเรียนรูท่ี 3 สมดุลเคมี เพื่อเปนการทบทวนความเขาใจ

ในเนื้อหาท่เี รียนมา

13. นักเรียนทำ Self Check จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 เพ่ือ

ตรวจสอบตนเอง

14. นกั เรียนทำ Unit Question 3 จากหนงั สือเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 15. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

13. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน โดยใหแตละกลุมจัดทำสมุดเลมเล็ก หนวยการเรียนรูที่ 3

สมดุลเคมี เพือ่ เปนการสรปุ ความเขา ใจทีไ่ ดรบั จากการเรียนแลว สงเปน การบา นในคาบเรียนตอไป ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครปู ระเมินผลนกั เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนาชน้ั เรียน

2. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบฝกหัด

3. ครูตรวจสอบผลจากการทำ Self Check

4. ครูตรวจสอบผลจากการทำ Unit Question 3

5. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบทดสอบหลังเรยี น

7. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก ารประเมิน

7.1 ประเมนิ ระหวาง - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผานเกณฑ การจดั กจิ กรรม - ระดับคณุ ภาพ 2 การเรียนรู - แบบประเมินการ ผา นเกณฑ เสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2

  1. สมดุลเคมใี น - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ

    การทำงานรายบคุ คล - ระดับคุณภาพ 2 ชวี ติ ประจำวัน ผานเกณฑ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2

    1. การนำเสนองาน - ประเมนิ การนำเสนอ การทำงานกลมุ ผานเกณฑ - แบบประเมิน ผลงาน คุณลักษณะ - ประเมนิ ตามสภาพจรงิ อนั พึงประสงค
    2. พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 - แบบทดสอบกอน ผานเกณฑ การทำงาน การทำงานรายบคุ คล เรียน หนวยการเรียนรู ท่ี 3 สมดลุ เคมี รายบุคคล - แบบประเมินชน้ิ งาน/
    3. พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม ภาระงาน(รวบยอด)

ทำงานกลุม การทำงานกลมุ

  1. คุณลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั

อนั พงึ ประสงค รบั ผดิ ชอบ ใฝเรยี นรู

และมุงมั่นในการ

ทำงาน

7.2 การประเมินหลงั เรยี น

- แบบทดสอบหลงั - ตรวจแบบทดสอบ

เรียน หนวยการ หลงั เรียน หนวยการ

เรยี นรูท่ี 3 เรยี นรูท่ี 3 สมดุลเคมี สมดลุ เคมี

7.3 ประเมินชิ้นงาน/ - ตรวจสมุดเลม เลก็ ภาระงาน(รวบ

ยอด)

- สมดุ เลม เล็ก หนวยการเรียนรทู ่ี 3

หนวยการเรยี นรู สมดุลเคมี

ท่ี 3 สมดุลเคมี

8. สอ่ื /แหลงการเรยี นรู

8.1 ส่ือการเรียนรู

  1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนว ยการเรียนรูที่ 3 สมดุลเคมี
  1. หนงั สือแบบฝกหัดรายวิชาเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร เคมี ม.5 เลม 1 หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 สมดลุ เคมี