ประเทศเยอรม นใช ว ฒ ม.ปลายได ม ย

รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี สรปุ ผลการวจิ ยั ผลการวจิ ยั เรอื่ งการศกึ ษาและพัฒนาองค์ความรู้รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ใน สถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สรุปได้ดังนี ้ 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ที่เป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมต่อการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีดังนี้ 1) รัฐธรรมนญู สหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนั หมวด 1 สิทธมิ ูลฐาน มาตราที1่ , 2, 6, 7, 9, และ 12 2) ระบบประกนั สงั คมของเยอรมนี 3) สทิ ธแิ ละหนา้ ทขี่ องเดก็ 4) กฎระเบยี บสำหรบั การอยรู่ ว่ มกนั ระหว่างเพ่ือนบ้าน (บ้านเช่า) 5) กฎหมายท่ีว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับของรัฐ 6) กฎระเบียบ เกยี่ วกับการท้งิ ขยะ 7) กฎระเบียบเกย่ี วกบั การรกั ษาสงิ่ แวดล้อม และ 8) มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏบิ ตั ิท่ีใชใ้ นการพัฒนาอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศของเยอรมน ี 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมการเสริมสร้างวินัยใน สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) หลักสูตรระดับอนุบาลสำหรับเด็กท่ีมีอายุสามขวบถึงหกขวบ ในโรงเรียนอนุบาล 2) หลักสูตรระดับประถมศึกษา 3) หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 4) หลักสตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายสามญั และ 5) หลกั สตู รการศกึ ษาสาขาวิชาชีพ 3. แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ 1) แนวทาง และกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอนุบาล 2) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัย ในโรงเรียนประถมศึกษา 3) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น 4) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 5) แนวทางและกระบวนการเสริมสรา้ งวนิ ัยในโรงเรียนสาขาวิชาชีพ 4. สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) ความร่วมมือ จากครอบครวั ในการเลยี้ งลกู 2) ความรว่ มมอื ในการปลกู ฝงั วนิ ยั ของชมุ ชนและสงั คม 3) การไดร้ บั ความร่วมมือจากผู้ปกครองในการปลูกฝังวินัยอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่โรงเรียนอนุบาล โรงเรียน การศึกษาภาคบังคับ และโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 4) ความร่วมมือของ สภาหอการค้า อุตสาหกรรมและบริษัท โรงงาน และสถานประกอบการในการปลูกฝังวินัยในการทำงานในการ จดั การศกึ ษาระดับอาชีวศกึ ษา 5. สภาพระบบกลไกและความร่วมมือในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดแ้ ก่ 1) การประเมนิ ผลเพอ่ื การเลอ่ื นชน้ั จากชนั้ อนบุ าลขนึ้ ไปเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา 2) การรว่ มมอื ระหว่างผู้ปกครองและโรงเรียนในการพัฒนาวินัยนักเรียน 3) การแก้ไขปัญหาทางด้านวินัยเมื่อ เผชิญสถานการณ์ยุ่งยากในโรงเรียนภาคบังคับ 4) มาตรการเม่ือมีปัญหาทางวินัยในโรงเรียน 188 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี การศกึ ษาภาคบงั คบั 5) การปฏบิ ตั ขิ องผปู้ กครองในการสนบั สนนุ ใหบ้ ตุ รหลานประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น 6. กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคล มวี ินยั ของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนมี ี 6 กลมุ่ ประกอบด้วย 1) กลมุ่ แนวคิดทฤษฎพี ัฒนาการทางความคิด ได้แก่ ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรม ของเพยี เจต(์ Piaget) และทฤษฎพี ัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบริ ก์ (Kohlberg) 2) กลุ่มแนวคิดจิตพสิ ยั 3) กลมุ่ แนวคิดพฤตกิ รรมนยิ ม 4) กลมุ่ แนวคิดจิตพฤติกรรมศาสตร์ 5) กลมุ่ แนวคิดสังคมวทิ ยา และ 6) กลมุ่ แนวคิดทางศาสนา การอภปิ รายผล ผ้วู ิจยั ใคร่อภปิ รายผลการวิจยั ดงั ต่อไปน้ ี 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบท่ีเก่ียวข้องของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่ เป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมต่อการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระบบประกันสังคมของเยอรมนี สิทธิและหน้าที่ของเด็ก กฎระเบียบสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างเพ่ือนบ้าน (บ้านเช่า) กฎหมายที่ว่าด้วยการศึกษา ภาคบงั คับของรัฐ กฎระเบยี บเกี่ยวกับการทง้ิ ขยะ กฎระเบยี บเก่ียวกับการรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม และ มาตรฐาน กฎระเบยี บ และแนวทางปฏิบัตทิ ใ่ี ช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของเยอรมน ี ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจากในการท่ีจะเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นั้น จะต้องมีนโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมต่อการเสริมสร้าง วินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงจะทำให้การเสริมสร้างวินัยให้แก่ผู้เรียนประสบ ความสำเรจ็ อยา่ งยงั่ ยนื ดงั ท่ี สทุ ธวิ รรณ ตนั ตริ จนาวงศ์ และศศกิ าญจน์ ทวสิ วุ รรณ (2552) กลา่ ววา่ รูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมในกลุ่มเด็กเยาวชนและข้าราชการภาครัฐ คือ การกำหนดนโยบาย แห่งชาติในการส่งเสริมคุณธรรมเยาวชน โดยรัฐบาลจัดประชุมบุคลากรภาครัฐภาคเอกชน ประชาชน เยาวชน และทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องพิจารณานาหลักธรรมของทุกศาสนา หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง หลักการศึกษา มาร่วมกันกำหนดเป็นนโยบายวาระแห่งชาติในการส่งเสริม คณุ ธรรมของเยาวชน โรงเรยี นนำนโยบายแหง่ ชาตมิ ากำหนดเป็นนโยบายการสง่ เสรมิ คุณธรรมใน โรงเรียนการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าประสงค์เก่ียวกับการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ 189 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี โรงเรยี นกำหนดมาตรฐานคณุ ธรรมของผบู้ รหิ าร ครู นกั เรยี นโดยองคก์ รหลกั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรบั ผดิ ชอบ มีคณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรศาสนา ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน ผู้บริหาร และคร ู การกำหนดยทุ ธศาสตร์ ในโรงเรยี นทเ่ี กีย่ วข้องกบั การสง่ เสรมิ คุณธรรมเยาวชน คือ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การกำหนดกฎระเบยี บทส่ี ง่ เสริมคณุ ธรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การจัดกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การใช้สอ่ื ปลกุ กระแสคุณธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างเครือขา่ ยคณุ ธรรม สิ่งเหลา่ นี้จะช่วยพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ใหแ้ ก่เยาวชนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากน้ี พินโย พรมเมือง, ปราณี คืมยะราช และทองคำ เกษจันทร์ (2559) ท่ีได้ กล่าวว่า เนื่องจากกระบวนการ KIT MODEL สามารถพัฒนาพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมได้ ฉะน้ัน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทางการศึกษา เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย เปน็ ตน้ ควรมนี โยบายในการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โดยใชก้ ระบวนการ KIT MODEL ซงึ่ อาจจะ บูรณาการกระบวนการ KIT MODEL ให้เข้ากับบริบทของแต่โรงเรียนในแต่ละพื้นท่ีก็ได้ เพราะ ผลจากการวิจัย พบว่า การบูรณาการกระบวนการ KIT MODEL เข้ากับบริบทของโรงเรียน สามารถท่ีจะพัฒนาพฤติกรรมทางด้านคุณธรรมจริยธรรมได้ กล่าวคือ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดสว่างคงคา ใช้กิจกรรมการแบ่งเขตพ้ืนที่รับผิดชอบในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผลจาก การใช้กิจกรรมน้ีผสมผสมกับกระบวนการ KIT MODEL มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมทางด้าน คุณธรรมจริยธรรมอย่ใู นระดบั ปานกลางในทิศทางบวก โรงเรียนดอนไทรงามพิทยาคมใช้บทละคร ซึ่งเป็นไปตามหลักการของกระบวนการ KITMODEL และให้บทบาทกลุ่มผู้นาเยาวชนมีบทบาท ที่สำคัญเกือบทุกด้าน อีกท้ังยังน้อมหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางใน การจัดการเรียนการสอนและการดาเนินชีวิตอีกด้วย ผลการใช้กิจกรรม KIT MODEL สร้าง ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดและมคี วามสัมพนั ธก์ บั พฤติกรรม ทางด้านคุณธรรมจริยธรรมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง และวิทยานาฏศิลปะกาฬสินธุ์ใช้ กิจกรรมกติกาสร้าง ความเป็นระเบียบวินัยในการอาศัยอยู่หอพัก การเดินเข้าแถว การถอด รองเท้า โดยมีกลุ่มผู้นำเยาวชนเป็นควบคุมดูแล พบว่า ความมีวินัยมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม ทางด้านคุณธรรมจริยธรรมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง คือ รักษ์สิ่งแวดล้อม พอเพียง และเสียสละ เพ่ือสว่ นรวม 190 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี การกำหนดกฎเกณฑ์และนโยบายดังกล่าวข้างต้นยังสอดคล้องกับการวิจัยของสุขุม คำแหง ปริญญา ทองสอน และผลาดร สุวรรณโพธิ์ (2555) เร่ือง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรณีศึกษาโรงเรียนมกุฎเมือง ราชวิทยาลัย มีความมุ่งหมายในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรณีศึกษาโรงเรียนมกุฎเมืองราชวิทยาลัย จังหวัดระยอง ผลการวจิ ยั ข้อหนง่ึ พบว่า ความตอ้ งการจำเป็นของผูม้ สี ่วนเกยี่ วข้องกับการพฒั นาพฤติกรรมการมี คุณธรรมและจริยธรรมสำหรบั นกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 คือ การพฒั นาให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายแห่งชาติ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 2. การจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน ได้แก่ 1) หลกั สตู รระดับ อนุบาลสำหรับเด็กที่มีอายุสามขวบถึงหกขวบในโรงเรียนอนุบาล 2) หลักสูตรระดับประถมศึกษา 3) หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 4) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ และ 5) หลักสูตรการศึกษาสาขาวิชาชีพเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริม การเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน ท้ังน้ี อาจเนอื่ งมาจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานของ ประเทศเยอรมนีช่วยส่งเสริมบรรยากาศท่ีดีในชั้นเรียนและสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียน ที่ส่งผลให้นักเรียนมีระเบียบวินัย สอดคล้องกับแนวคิดของนายแพทย์เกษม วัฒนชัย, 2549 หน้า 1) ซึ่งกล่าวว่า ปัจจัยและเป้าหมายในการออกแบบการศึกษาควรให้สอดคล้องกับประเทศ และสอดคล้องกับการศึกษาระดับย่อย สำหรับ การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนั้น ไม่เฉพาะ มงุ่ การพฒั นาทางกาย หรอื สมองเทา่ นนั้ แตย่ งั รวมถงึ อารมณแ์ ละทกั ษะทางดา้ นสงั คมดว้ ย ทสี่ ำคญั คือการพัฒนาทางด้านจริยธรรม ส่วนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานน้ัน วัตถุประสงค์ของการจัด การศึกษาในระดับดังกล่าวเพื่อสร้างพลเมืองที่เหมาะสมกับประเทศชาติในอนาคต เช่น เมื่อเด็ก สำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วก็จะได้พลเมืองไทยท่ีดีในอนาคต โดยมีทั้งความรู้ ปัญญา ทักษะ งาน ชีวิต ตลอดจนเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรมและจริยธรรม สำหรับการจัดการอาชีวศึกษา จำเป็นต้อง กำหนดให้ชัดเจนว่าอยู่ที่การผลิตบุคลากรด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสายช่างฝีมือ ช่างด้านเทคนิค รวมท้ังการผลิตนักเทคโนโลยีผู้ชำนาญการ ส่วนการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาน้ัน นอกเหนือ จากการผลิตความรู้ และเทคโนโลยีใหม่แล้ว ยังรวมไปถึงการผลิตผู้รู้ นักวิชาการ นักวิชาชีพ ชั้นสูง เพ่ือให้บริการแก่สังคม ทำนุบำรุงและเผยแพร่วัฒนธรรมของชาติ ส่งเสริมสันติภาพ และ อนุรักษ์พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสอดคล้องกับแนวคิดของแอนเดอร์สันและเฟลมมิ่ง (Anderson & Fleming, 1970) ท่ีกลา่ ววา่ บรรยากาศในชั้นเรียนดงั ต่อไปน้ชี ว่ ยเสรมิ สรา้ งวินยั ในชั้นเรียน 1) การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม การเรียนรู้ เช่น มีหนังสือ เคร่ืองมือ วัสดุ ฯลฯ พร้อมให้ใช้งานได้ตลอดเวลา 2) บรรยากาศในห้องเรียนมีความเป็นกันเอง ความรู้สึกใกล้ชิด 191 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี สนิทสนม ความคุ้นเคยของนักเรียนในห้องเรียน 3) การมีการแบ่งกลุ่มนักเรียนเพ่ือทำกิจกรรม การเรียนต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 4) การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และกิจกรรม การเรียนที่มีรูปแบบที่สามารถปฏิบัติได้และมีประโยชน์ต่อนักเรียน 5) การดำเนินกิจกรรม การเรียนเป็นไปอย่างมีลำดับขั้นตอน ไม่ล่าช้า มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และ เหมาะสม 6)การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และมีความ พยายามท่ีจะลดความขัดแย้งระหว่างกัน 7) ผู้สอนและผู้เรียนทราบวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ อย่างชัดเจน 8) การสรา้ งความเป็นธรรมในชั้นเรยี น และไมม่ กี ารเลือกปฏบิ ัตติ ่อผู้เรียนของผสู้ อน 9) ผู้เรียนได้มีโอกาสทำกิจกรรมท่ีท้าทายความสามารถอยู่เสมอ 10) การสร้างความต่ืนตัวและ ขจัดความเฉ่ือยชาที่เป็นสาเหตุของความเบ่ือหน่ายต่อการเรียนการสอน 11) การตัดสินผลของ การทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ควรมาจากผเู้ รยี นเปน็ สว่ นใหญ่ 12) ไมส่ ง่ เสริมการแบง่ พรรค แบง่ พวกใน กลุ่มผู้เรียน 13) ผู้เรียนมีความพึงพอใจกิจกรรมการเรียนการสอนในช้ันเรียน 14) การมีเสรีภาพ อย่างมขี อบเขต ไมป่ ล่อยปละละเลยจนขาดระเบยี บวินัย และขาดความรบั ผิดชอบ 3. ผลสำเร็จในการจัดการศึกษาอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนการศึกษา ภาคบังคับ และโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของเยอรมนีสอดคล้องกับแนวคิดของกลาสเซอร์ (Glasser, 1969 อ้างถึงใน Tauber, 2007) เชื่อว่าโรงเรียนต้องเป็นสถานท่ีที่ดีและมีความ ยุติธรรม จึงจะเป็นโรงเรียนท่ีไม่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมและระเบียบวินัย ซึ่งจะทำให้สามารถ บรหิ ารโรงเรยี นได้อยา่ งประสบความสำเร็จ ถ้านักเรยี นรบั ร้วู า่ โรงเรยี นท่เี ขาเลือกเรยี นเปน็ สถานท่ี ท่ีดีสำหรับเขา ก็จะไม่มีแรงกระตุ้นที่จะทำพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง โรงเรียนท่ีดีตามแนวคิดของ กลาสเซอร์จะต้องมีลักษณะดังนี้ 1) ผู้บริหารโรงเรียน ครู พนักงานทุกคนมีความกระตือรือร้น ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื มสี ว่ นรว่ มในการสอนใหน้ กั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในตนเอง 2) มกั ไดย้ นิ เสียงหัวเราะทแ่ี สดงออกมาจากความสนกุ สนานอย่างแทจ้ รงิ ซึ่งนำไปสู่ความร้สู ึกผกู พันดว้ ยความ เอื้ออาทรของบุคคลในการทำงานท่ีเก่ียวข้อง 3) มีการติดต่อส่ือสาร มีการพูดคุยกัน และมีการ วางกฎระเบียบร่วมกัน 4) โรงเรียนท่ีดีจะต้องมีกฎข้อบังคับที่มีเหตุผลชัดเจนเป็นส่วนสำคัญที่จะ ช่วยให้นักเรียนกลายเป็นผู้ท่ีมีความรับผิดชอบอย่างพอเพียง และนักเรียนต้องรู้กฎระเบียบท่ี กำหนดไว้ เนื่องจากมีการแสดงกฎระเบียบเหล่านั้นไว้อย่างชัดเจน และเป็นสิ่งท่ีกระทำตามได้ อย่างง่ายๆ กฎระเบียบจะต้องเขียนไว้ในคู่มือนักเรียน ส่งไปให้ผู้ปกครองที่บ้าน เขียนติดแสดงไว้ ตามทางเดิน ในห้องเรียน และสถานท่ีที่สามารถเห็นได้ชัดเจน รวมทั้งนักเรียนควรต้องมีบทบาท ในการตั้งกฎระเบียบหรือเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบเม่ือจำเป็น ทำให้นักเรียนมีแรงจูงใจที่จะปฏิบัติ ตามกฎระเบยี บและเกิดความรูส้ กึ เปน็ เจ้าของ การมีส่วนรว่ มของชุมชนและสังคม ประชาชนเป็น แบบอย่างท่ีดีของการมีวินัย และการรับผิดชอบต่อสังคมของคนเยอรมันช่วยหนุนการเสริมสร้าง วินัยในสถานศึกษาสอดคล้องกับท่ีสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2537) ได้กล่าว 192 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี ถึงบุคคลและสถาบันต่างๆ ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาส่งเสริมวินัยในตนเองสำหรับเด็กและ เยาวชน ได้แก่ 1) สถาบันครอบครัว บิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดูถือเป็นบุคคลและสถาบันท่ีสำคัญ ท่ีสุด และเป็นแหล่งแรกท่ีจะทำหน้าที่ในการปลูกฝัง หล่อหลอม ถ่ายทอดคุณธรรม จริยธรรม รวมท้ังระเบียบวินัยให้แก่สมาชิกในครอบครัวท้ังโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งได้จากการอบรม สั่งสอนและการกระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีเพ่ือให้เด็กเกิดการเลียนแบบ 2) ญาติผู้ใหญ่และ สมาชิกอ่ืนๆ ในครอบครัว จะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อการปลูกฝังและหล่อหลอมจริยธรรมต่างๆ ให้แก่เด็กเช่นกันด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมท่ีน่ายกย่องมากกว่าที่จะได้จากการอบรมส่ังสอน 3) เพอ่ื น จะเป็นผูท้ ่มี บี ทบาทสำคญั ในการกำหนดค่านยิ มทางจริยธรรมตา่ งๆ เชน่ กนั ซง่ึ วัยรนุ่ มกั จะมีการกระทำพฤติกรรมที่คล้อยตามเพ่ือน มีการร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ และเกิดความเข้าใจ ซึ่งกันและกัน 4) พระสงฆ์หรือผู้นำศาสนา จะเป็นผู้ที่อบรมส่ังสอนคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่ ประชาชนทั้งเดก็ และผใู้ หญใ่ นทอ้ งถิ่นนนั้ ๆ ซึ่ง การปฏิบัตขิ องพระสงฆห์ รอื ผ้นู ำทางศาสนา จะมี อิทธิพลต่อการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมแก่บุคคลในท้องถิ่นนั้นด้วย 5) ส่ือมวลชนทุก รูปแบบ มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการปลูกฝังหรือเปลี่ยนแปลงเจตคติ ตลอดจนรูปแบบพฤติกรรม ของเด็กโดยเฉพาะวินัยในตนเอง ซ่ึงถ้าส่ือมวลชนเหล่านี้เพิกเฉยหรือไม่รับผิดชอบต่อการปลูกฝัง จริยธรรมท่ีดีให้แก่เด็ก ก็อาจเป็นเคร่ืองทำลายหรือขวางก้ันการปลูกฝังหล่อหลอมให้เด็กเป็นผู้มี จริยธรรมอันดีงาม โดยเฉพาะวินัยในตนเองด้วย 6) โรงเรียนหรือสถานศึกษา ซึ่งรวมถึงการจัด สภาพแวดล้อมในสถานศึกษา การบรหิ าร และ การให้บรกิ ารตา่ งๆ การเป็นตัวอย่างอนั ดงี ามของ ครู อาจารย์ การเรียนการสอนวิชาต่างๆ ตามหลักสูตร การเรียนการสอนท่ีเกี่ยวกับจริยศึกษา ได้แก่ สังคมศึกษา ตลอดจนการจัดกิจกรรมต่างๆ ในสถานศึกษาก็มีอิทธิพลต่อ การปลูกฝังและ สร้างเสริมจริยธรรมทด่ี โี ดยเฉพาะวนิ ยั ในตนเอง 7) สถาบนั อาชีพ การเข้าสอู่ าชีพใด ๆ ของบุคคล ย่อมมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนปฏิบัติสำหรับกลุ่มอาชีพน้ันๆ ซึ่งจะช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ และปรับตัวอยู่ร่วมในกลุ่มอาชีพดังกล่าวได้ในท่ีสุด ดังนั้น สถาบันอาชีพแต่ละอาชีพจึงมีส่วน สำคัญในการเสริมสร้างวินัยให้กับผู้ประกอบอาชีพดังกล่าว 8) สถาบันการเมืองซึ่งหมายถึงคณะ รัฐบาลและพรรคการเมือง มีส่วนสำคัญในการกำหนดนโยบายและแนวทางในการบริหาร ประเทศ ตลอดจนควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของข้าราชการให้ตอบสนองต่อนโยบาย ดังนั้น การดำเนินการเก่ยี วกบั การเสริมสรา้ งวนิ ัยของคนในชาติ จึงเป็นส่ิงสำคัญท่ีสถาบันการเมอื งควรมี บทบาทด้วยเช่นกัน สอดคล้องกับผลการวิจัยของปัญญาวดี ชมสุวรรณ (2552) ท่ีได้ศึกษาปัจจัย บางประการที่มีอิทธิพลต่อความมีวินัยในตนเองของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 ซึ่งปัจจัยบางประการที่ศึกษา ได้แก่ สัมพันธภาพระหว่าง นักเรียนกับครู สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับเพื่อน สัมพันธภาพภายในครอบครัว การปฏิบัติ ตนเป็นแบบอย่างของผู้ปกครอง และความมีคุณธรรมประจำใจ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทั้งห้า 193 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี ปัจจัยดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับความมีวินัยในตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ สัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับครูส่งผลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ต่อความ มีวินัยในตนเองจำนวนสองด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนตามระเบียบของสังคม และด้าน ความต้ังใจจรงิ นอกจากน้ียังสอดคล้องกับการวิจัยของ สุขุม คำแหง ปริญญา ทองสอน และผลาดร สุวรรณโพธิ์ (2555) วิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับ นกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 กรณีศึกษาโรงเรียนมกุฎเมอื งราชวิทยาลยั มคี วามมุง่ หมายใน การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรณศี กึ ษาโรงเรียนมกุฎเมอื งราชวทิ ยาลัย จังหวัดระยอง ผลการวิจัยข้อสองพบวา่ การมีหลกั สูตร การฝึกอบรมคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคุณภาพและ การพัฒนาพฤติกรรมการมีคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีระดับคุณลักษณะที่พึงประสงคร์ ะดบั เพมิ่ ขนึ้ 4. แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ได้แก่ 1) แนวทาง และกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอนุบาล 2) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัย ในโรงเรียนประถมศึกษา 3) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น 4) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัย ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 5) แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอาชีวศึกษา ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากโรงเรียน ทุกระดับได้แก่ โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย และโรงเรียนอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีให้ความรู้ พัฒนาทักษะ และปลูกฝังคุณธรรมเพื่อหล่อหลอมผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และเป็นคนดีของสังคม สถานศกึ ษาจึงเปน็ องคก์ ารสำคญั ใน การปลูกฝังวินยั ใหแ้ ก่เดก็ และเยาวชน เน่อื งจากสถานศึกษา เปน็ สถานท่ที ี่นักเรยี นตอ้ งไปใช้ชวี ิตวนั ละหลายช่วั โมงเพ่อื เรยี นให้จบการศึกษา ซงึ่ ตลอดเวลาที่ใช้ ชีวิตอยู่ในสถานศึกษา สภาพแวดล้อมต่างๆ ของสถานศึกษาล้วนมีอิทธิพลต่อการเรียนการสอน รวมทั้งส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจของผู้เรียน และถ้าสถานศึกษาได้ปลูกฝังวินัยให้แก่ ผู้เรียนแล้ว จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถจดจำแบบอย่างวินัยที่ดีท่ีสถานศึกษาจัดขึ้นในสถานศึกษา เพอ่ื นำไปเปน็ พน้ื ฐานในการดำรงชวี ติ ดงั ท่ี ณฐั ธรี า สมบรู ณ์ (2552 หนา้ 12) กลา่ ววา่ การเสรมิ สรา้ ง ความมีวินัยควรเร่ิมต้ังแต่เด็กอนุบาล เป็นภาระที่สำคัญย่ิงของครูอนุบาลที่ต้องอบรมและปลูกฝัง วนิ ยั และฝกึ หดั ใหเ้ ดก็ อนบุ าลทอี่ ยใู่ น ความดแู ลอยา่ งสมำ่ เสมอและตอ่ เนอ่ื ง เดก็ อนบุ าลจะเรยี นร ู้ เกี่ยวกับการมีวินัยได้ดีจากการชมเชยและให้รางวัลมากกว่าการลงโทษ ครูอนุบาลจะใช้วิธีจูงใจ มากกว่าการบังคับและต้องอาศัยเวลา ครูอนุบาลจะเปิดโอกาสให้เด็กอนุบาลได้ลงมือกระทำด้วย ตนเอง รจู้ ักช่วยเหลือตนเอง รจู้ กั การอดทน รอคอย รูจ้ ักการมีวนิ ยั ทำตนใหเ้ ปน็ สมาชิกทดี่ ีของ 194 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี กลมุ่ จนกระทง่ั เดก็ คนุ้ เคยและสามารถทำไดด้ ว้ ยตนเองกลายเปน็ ความมวี นิ ยั ในตนเอง ซงึ่ สง่ ผลตอ่ บุคลิกภาพที่ดีเมอ่ื เตบิ โตข้นึ คงศกั ดิ์ รนิ ทา, ไพศาล วรคำและปิยะธิดา ปัญญา (2557 หน้า 147) กล่าวว่า “สถาบันการศึกษาหรือโรงเรียนนับเป็นสถานท่ีแห่งที่สองที่สำคัญอย่างมากต่อการ พัฒนาความมีวินัยในตนเองของเด็ก เนื่องจากเด็กต้องอยู่ในโรงเรียนถึงสัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 7-8 ชั่วโมง ครูจึงมีบทบาทสำคัญในการจัดสภาพแวดล้อมเพ่ือเสริมสร้างวินัยในตนเองให้กับเด็ก โดยจัดเตรียมห้องเรียนและหลักสูตรให้เหมาะสมเพ่ือให้เด็กได้มีความเจริญงอกงามทางอารมณ์ และสังคม อันจะส่งผลให้เด็กเป็นผู้มีวินัยในตนเองอีกด้วย สอดคล้องกับผลการวิจัยของประสิทธ์ิ ทองภู, วรวรรณ อุบลเลิศ และสุทัศน์ แก้วคำ (2014 หน้า 2174) ท่ีได้ทำการวิจัย เรื่อง การดำเนินงานเสริมสร้างวินัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านผือสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 2 พบวา่ นกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ทมี่ ปี ญั หาวนิ ยั เกยี่ วกบั ด้านการแต่งกาย การตรงต่อเวลา การทำความเคารพ และการเข้าแถว เมื่อทางโรงเรียนได้จัด กจิ กรรมอบรมคณุ ธรรม กจิ กรรมร่วมจติ รว่ มใจ กิจกรรมนักเรียนต้นแบบ กจิ กรรมคลนิ กิ นกั เรยี น กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน และกิจกรรมครูประจำหมู่บ้านให้แก่นักเรียน ปรากฏว่านักเรียนมีวินัยใน ตนเองมากข้นึ และสอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั ของอาจรยิ พงษ์ คำตน๋ั (2554 หนา้ 120) ทไี่ ดท้ ำการ วิจัย เร่ือง การปฏิบัติตนด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาในเขตจงั หวดั นครปฐม พบวา่ แนวทางในการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม ที่พงึ ประสงค์ของโรงเรยี นมธั ยมศึกษาในเขตจงั หวดั นครปฐม มี 5 แนวทาง ได้แก่ 1) การพัฒนา ดว้ ยกระบวนการในการจดั การเรยี นการสอน 2) การพฒั นาดว้ ยการเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี 3) การพฒั นา ด้วยการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์ 4) การพฒั นาด้วยการ จัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน และ 5) การพัฒนาด้วยการสร้างความมีส่วนร่วม นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551 หน้า 103-105) ได้ทำการวิจัย เร่ืองรายงานการวิจัย ประเมินผลคุณธรรม 8 ประการของผู้เรียน พบว่าสถานศึกษามีอิทธิพลต่อคะแนนคุณธรรมของ ผู้เรียนโดยสถานศึกษาท่มี อี ทิ ธิพลมากทส่ี ุด ได้แก่ สถานศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา อิทธพิ ลของ สถานศกึ ษาจะลดน้อยลงในระดบั การศึกษาทีเ่ พิ่มข้นึ จนกระทง่ั น้อยทสี่ ุดในระดับมหาวทิ ยาลยั 5. สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ 1) ความร่วมมือ จากครอบครวั ในการเลยี้ งลูก 2) ความร่วมมอื ในการปลูกฝังวินยั ของชุมชน และสงั คม 3) การได้ รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการปลูกฝังวินัยอย่างต่อเนื่องต้ังแต่โรงเรียนอนุบาล โรงเรียน การศึกษาภาคบังคับ และโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 4) ความร่วมมือของ สภาหอการค้า อุตสาหกรรมและบริษัท โรงงาน และสถานประกอบการในการปลูกฝังวินัยในการทำงานใน การจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากครอบครัวคนเยอรมันให้ความสำคัญกับ 195 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี การเล้ียงดูลูก คนเยอรมันเชื่อว่ารูปแบบการอบรมเล้ียงดูลูกที่มีประสิทธิภาพสามารถหล่อหลอม ใหเ้ ดก็ และเยาวชนเปน็ ผู้มคี วามสามารถในการปรบั ตวั มีพฤตกิ รรมทางสงั คมทเ่ี หมาะสม มคี วาม สามารถในการกำกับตนเอง และมีความฉลาดทางอารมณ์ สอดคล้องกับคำกล่าวของนภเนตร ธรรมบวร (2541 หน้า 2) ที่ว่า พัฒนาการเด็กท่ีดีเร่ิมต้นจากครอบครัว เด็กจะเติบโตมีคุณภาพ ชีวิตและบุคลิกภาพเช่นไร จะเป็นคนดีมุ่งทำประโยชน์แก่สังคมหรือจะเป็นคนด้อยสมรรถภาพ สร้างปัญหาแก่ตนและสังคม ส่วนหน่ึงย่อมข้ึนอยู่กับสภาพครอบครัวและวิธีการอบรมเล้ียงดูจาก บุคคลในครอบครัวเป็นสำคัญ เพราะนอกจากครอบครัวจะถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแล้ว ยังทำหน้าที่ดูแลเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนเติบโตพ่ึงตนเองได้ เป็นแบบอย่างท่ีหล่อหลอมความรู้สึก นึกคิด พฤติกรรม ตลอดจนจิตสำนกึ ของความเป็นมนษุ ย์ทีส่ มบรู ณ์ ปลกู ฝังค่านิยม ความรัก และ คุณค่าของการมีชีวิต ด้วยเหตุนี้การอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวจึงมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อ พัฒนาการด้านต่างๆ และเป็นสิ่งแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลครอบคลุมชีวิตมากกว่าส่ิงอื่นใด และผู้ท่ีมี อิทธิพลที่สำคญั ทส่ี ุดตอ่ การอบรมเลี้ยงดลู ูก คือ บิดามารดา หรือผูป้ กครอง และยังสอดคลอ้ งกบั คำกล่าวของพรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์และคณะ (2545 หน้า 2-3) ท่ีกล่าวไว้ว่า จากการศึกษา ทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์ท้ังในอดีตและปัจจุบัน ผนวกกับทฤษฎีและงานวิจัยทางการอบรมเลี้ยงดู อาจกล่าวได้ว่า ปัจจัยที่สำคัญที่จะสามารถยกระดับมาตรฐานทรัพยากรมนุษย์ของประเทศใน ดา้ นคุณธรรม ความมรี ะเบยี บวนิ ัย ความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ท่ี การเสียสละ และเห็นผลประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัวนั้นจะกระทำได้โดยผ่านกระบวนการของรูปแบบการอบรมเล้ียงดู และ ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับสมาชิกของครอบครัวท้ังส้ิน ผลจากการศึกษาเอกสารและการ สัมภาษณ์ชาวเยอรมันล้วนแต่ได้รับข้อมูลอย่างชัดเจนว่าการอบรมเล้ียงดูของคนเยอรมันนั้น คนเยอรมันสนับสนุนให้เด็กมีพัฒนาการตามวุฒิภาวะ ไม่เร่งรัดให้เด็กเรียนหนังสือก่อนวัยอันควร พ่อแม่ชาวเยอรมันจะอนุญาตให้เด็กมีอิสระตามควรแก่วุฒิภาวะ แต่ในขณะเดียวกันพ่อแม ่ ชาวเยอรมันก็จะกำหนดขอบเขตพฤติกรรมของเด็ก และกำหนดให้เด็กเชื่อฟังและปฏิบัติตาม แนวทางที่พ่อแม่กำหนดไว้อย่างมีเหตุผล พ่อแม่ชาวเยอรมันให้ความรักความอบอุ่นและใส่ใจ ต่อเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กเป็นตัวของตัวเอง รับฟังเหตุผลจากเด็ก และสนับสนุนให้เด็กมีส่วนร่วม ในการคิดตัดสินใจเร่ืองต่างๆ ของครอบครัว แนวทางการเลี้ยงลูกของคนเยอรมัน ประกอบด้วย การส่งลูกไปเรียนในโรงเรียนอนุบาลจะเน้นให้ลูกมีวินัยในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับเพื่อนที่โรงเรียน การส่งเสริมให้ลูกรู้จักป้องกันตนเองจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ที่บ้านโดยการสอนให้ลูกรู้จัก วิธีการควบคุมอย่างถูกต้อง การฝึกให้ลูกทำส่ิงต่างๆ ด้วยตนเอง ชาวเยอรมันให้ความสำคัญกับ เหตกุ ารณ์ 3 เหตกุ ารณ์ ได้แก่ การเล่อื นช้นั เรียนจากช้นั อนุบาลไปเรียนระดับประถมศกึ ษา วนั ที่ ลกู อายุครบ 14 ปี และวันท่ลี กู แตง่ งาน พ่อแม่พาลกู ออกไปวง่ิ เล่นขา้ งนอกทกุ วัน พอ่ แมส่ อนให้ รจู้ ักการแบง่ งาน ทำงานเปน็ ทีม และสงสยั ก็ตอ้ งถาม เอาใจใส่และเขา้ ใจลูก และพอ่ แม่เล้ียงลูกให้ 196 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี เจริญเติบโตในส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติ สอดคล้องกับทฤษฎีการเกิดวินัยในตนเองของเมาเรอร์ (Mowrer, 1950 อ้างถึงใน ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2527) ท่ีเชื่อว่าการเกิดวินัยในตนเองของ บุคคลนั้น จะมีพื้นฐานมาต้ังแต่ระยะแรกเกิดจนกระท่ังโต โดยที่ความสัมพันธ์ระหว่างทารกกับ บิดา มารดา หรือผู้เลี้ยงดู ถือว่าเป็นสิ่งท่ีมีความสำคัญมากท่ีจะทำให้เกิดความสามารถในการให้ รางวัลตนเองหรือความสามารถในการควบคุมตนเองเม่ือโตขึ้น เด็กจะเกิดการเรียนรู้จากบิดา มารดาหรือผู้เลี้ยงดู โดยที่การเรียนรู้น้ีจะเกิดในสภาพอันเหมาะสมเท่านั้น และได้รับการบำบัด ความต้องการต่าง ๆ เช่น ความหวิ และความสขุ สบายต่าง ๆ ทำใหเ้ ดก็ รูส้ กึ พงึ พอใจ มีความสขุ ซงึ่ ความรกั ความผูกพันของเดก็ จะนำไปสูก่ ารปฏิบัติตามคำอบรมส่งั สอน เกดิ พฤติกรรมการเลียน แบบการกระทำหรือคำพูดทั้งในทางที่ดีและไม่ดีของผู้ท่ีตนรักและพึงพอใจจะกลายเป็นลักษณะที่ เด่นชัดในจิตสำนึกของบุคคลนั้น เมาเรอร์เชื่อว่า ลักษณะท่ีแสดงถึงการบรรลุวุฒิภาวะทางจิตใจ ของบุคคลนั้นจะปรากฏขึ้นในเด็กท่ีมีอายุประมาณ 8-10 ปี และจะพัฒนาต่อไปจนสมบูรณ์เมื่อ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สามารถควบคุมการปฏิบัติตนอย่างสมเหตุสมผลในสถานการณ์ต่างๆ ตาม ทฤษฎีของเมาเรอร์ การเกิดวินัยในตนเองจนกลายเป็นผู้ที่บรรลุวุฒิภาวะทางจิตน้ัน จะต้องเร่ิม ต้นจากการเล้ียงดูในวัยทารกอย่างมีความสุข ความอบอุ่นและผ่านการอบรมสั่งสอน หรือการ เลียนแบบที่ดีงามจากผู้ท่ีเลี้ยงดูตน จึงจะพัฒนาเป็นลักษณะท่ีเด่นชัดในจิตสำนึกของบุคคลนั้น และกลายเป็นพฤติกรรมท่ีถูกต้อง และมีเหตุผลของบุคคลนั้น ดังที่ ดุลยา จิตตะยโศธร (2552 หน้า 185) กล่าวว่า รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่เป็นรูปแบบการอบรมเล้ียงดูท่ีมี ประสิทธิภาพสามารถหล่อหลอมให้เด็กและเยาวชนเจริญเติบโตเป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ ดังนั้น ความร่วมมือจากครอบครัวในการเล้ียงลูกจึงช่วยหนุนการเสริมสร้างวินัยของนักเรียนในสถาน ศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ชุมชนเป็นสังคมท่ีมีอิทธิพลต่อค่านิยมและพฤติกรรมของนักเรียน บุคคลทุกคนในชุมชน มีส่วนร่วมใน การดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาตนในแนวทางท่ีเหมาะสม สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ (2547 อา้ งถงึ ใน คำพี ตรงกลาง, 2551 หนา้ 26-27) กำหนดไว้ว่า ชุมชนควรมีบทบาทดังน้ี 1) จัดสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอ้ือต่อการพัฒนา นักเรยี น 2) ช่วยสอดล่องดูแลนกั เรียน 3) เป็นแหล่งเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาศกั ยภาพนกั เรียน 4) สรา้ ง ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน 5) ให้ข้อมูลข่าวสารพฤติกรรมของนักเรียนกับสถาน ศึกษา และ 6) เข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา นอกจากน้ี ยังได้กำหนดไว้ด้วยว่าสถานศึกษา ควรประสานความรว่ มมอื ทัง้ ภาครฐั และเอกชน เชน่ กรมสุขภาพจติ ศนู ย์อนามัยเขต สาธารณสุข จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล องค์การบริหารส่วนท้องถ่ิน การปกครองพิเศษ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สื่อมวลชน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ องค์กรเอกชน องค์กรอสิ ระ ซึง่ มีความสามารถใหก้ ารสนับสนนุ และให้ 197 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี ความร่วมมือ ดังน้ี 1) ให้คำปรึกษาแนะนำเก่ียวกับพฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆ 2) สอดส่องดูแลให้ความช่วยเหลือเด็กและเยาวชนทั้งด้านความปลอดภัยและการแก้ปัญหา พฤตกิ รรม 3) รว่ มมอื กับสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ นักเรยี นให้ได้รับการพัฒนาตามศกั ยภาพ ของแต่ละบุคคล 4) เป็นแหล่งการเรียนรู้และฝึกงาน และเพ่ิมพูนประสบการณ์แก่นักเรียนตาม ความรู้ ความสามารถ ความสนใจ และความถนัด 5) ติดตามผล สะท้อนปัญหา และแสดง ความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 6) ให้ ความร่วมมือและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์และน่าสนใจ และ 7) ให้การสนับสนุนและเป็นเครือข่ายในการพัฒนาและขยายผลการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือ นักเรียนอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าชุมชนของประเทศเยอรมนีได้ปฏิบัติตามบทบาทและหน้าท่ี ของชุมชนอย่างสมบูรณ์ จึงอาจกล่าวได้ว่าความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีช่วยหนุนการสร้างเสริมวินัยในสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกบั การวิจัยของสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ และคณะ (2551 หนา้ 244-251) ที่ไดศ้ กึ ษา รูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติแล้วพบว่าแนวทางในการส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรมให้แก่ สังคม ได้แก่ “...6) การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายต่าง ๆ ในสังคม ได้แก่ เครือข่ายพ่อแม ่ ผู้ปกครอง องค์กร ภาคเอกชน มูลนิธิท้ังในและนอกประเทศ 7) การกำหนดนโยบายให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งรวมกันจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม โอกาสท่ีจะเสริมสร้างให้ คุณธรรมที่เหมาะสมเกิดข้ึนในประเทศชาติก็สำเร็จได้ง่ายข้ึน 8) การเสริมแรงด้วยการส่งเสริม และให้กำลังใจแก่คนดีมีคุณธรรมโดยหน่วยงานและทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องต้องส่งเสริมสนับสนุน ใหเ้ กียรติ ให้กำลงั ใจ และปกปอ้ งคนดีมคี ุณธรรม...” 6. สภาพระบบกลไกและความร่วมมือในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดแ้ ก่ 1) การประเมนิ ผลเพอ่ื การเลอื่ นชนั้ จากชนั้ อนบุ าลขน้ึ ไปเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา 2) การรว่ มมอื ระหว่างผู้ปกครองและโรงเรียนในการพัฒนาวินัยนักเรียน 3) การแก้ไขปัญหาทางด้านวินัยเมื่อ เผชิญสถานการณ์ยุ่งยากในโรงเรียน ภาคบังคับ 4) มาตรการเมื่อมีปัญหาทางวินัยในโรงเรียน การศกึ ษาภาคบังคบั และ 5) การปฏิบตั ิของผปู้ กครองในการสนับสนุนใหบ้ ตุ รหลานประสบความ สำเร็จในการเรียน ทงั้ น้ี อาจเนื่องมาจากสภาพระบบกลไกและความร่วมมอื ในการเสริมสรา้ งวินัย ในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานดังกล่าว สอดคล้องกับหลักการเสริมสร้างวินัยในตนเองของพิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2537 หน้า 23-27) ท่ีกล่าวไว้ว่า การเสริมสร้างวินัยนักเรียนยึดตามหลักการดังนี ้ 1) หลักการป้องกนั (Prevention) การเสรมิ สร้างวินัยนักเรยี นตามหลักการข้อน้ี คือ เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หน้ กั เรียนประพฤตผิ ดิ วินัย โดยมีความเชือ่ พนื้ ฐานวา่ การป้องกนั ดกี วา่ การแกไ้ ขเยยี วยา โดย ดำเนนิ การป้องกันด้วยวธิ ีการหลาย ๆ อย่าง 2) หลกั การควบคมุ (Control) การเสริมสร้างวนิ ัย นักเรียนตามหลักการข้อน้ี คือ เพ่ือควบคุมให้นักเรียนประพฤติปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของ 198 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี โรงเรยี น โดยดำเนนิ การควบคมุ ดแู ล หรอื ชกั จงู ใหน้ กั เรยี นประพฤตติ ามสงิ่ ทกี่ ำหนดไว้ (3) หลกั การ แก้ไข (Correction) การเสริมสร้างวินัยนักเรียนตามหลักการข้อนี้ คือ เพ่ือแก้ไขปรับปรุง การประพฤติผิดวินัยของนักเรียน โดยดำเนินการลงโทษ หรือแก้ไขปรับปรุงพฤติกรรมแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสม 4) หลักการพัฒนาและส่งเสริม (Development) การเสริมสร้างวินัย นักเรียนตามหลักการข้อน้ี คือ เพ่ือส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้วยการให้นักเรียนประพฤติดี ย่ิงข้ึนและมากขึ้น โดยโรงเรียนจัดสภาพแวดล้อม หรือกิจกรรมต่างๆ ท่ีเอื้อต่อการพัฒนาและ การส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 5) หลักการจูงใจ (Induction) การเสริมสร้างวินัยนักเรียน ตามหลักการข้อน้ี คือ เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้เกิดการกระตุ้นจากภายในของนักเรียน ด้วย การดำเนินการโดยใช้สิ่งตอบแทนในเรื่องคะแนนความประพฤติ คำชมเชย หรือรางวัลที่สำคัญ กว่าทรัพย์สินท่ีตีราคาไม่ได้ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา 6) หลักการประเมินผล การปฏิบัติงาน (Performance) การเสริมสร้างวินัยนักเรียนตามหลักการข้อน้ี คือ เพื่อประเมิน สมรรถภาพที่ได้พัฒนานักเรียน หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักเรียนให้เปลี่ยนแปลงไป ตามระเบียบแบบแผนท่กี ำหนดการพฒั นาไว้ และติดตามผลการพัฒนาต่อไป กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคลมีวินัย ของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนมี ี 6 กลมุ่ ประกอบด้วย 1) กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎีพัฒนาการ ทางความคิด ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของเพียเจต์ (Piaget) และทฤษฎีพัฒนาการ ทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก (Kohlberg) 2) กลุ่มแนวคิดจิตพิสัย 3) กลุ่มแนวคิดพฤติกรรมนิยม 4) กล่มุ แนวคิดจติ พฤติกรรมศาสตร์ 5) กล่มุ แนวคิดสังคมวิทยา และ 6) กลุ่มแนวคดิ ทางศาสนา ท้ังนี้ อาจเน่ืองมากจากปัจจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้ชาวเยอรมันมีวินัยในตนเองทุกปัจจัย ได้แก่ 1) นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง 2) การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน 3) แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) สภาพความ ร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคม และ 5) สภาพระบบกลไกและความร่วมมือในการเสริมสร้าง วินัยในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นปัจจัยในการพัฒนาความมีวินัยของนักเรียนในสถานศึกษา ข้ันพื้นฐานของประเทศเยอรมนีสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค ์ The Six E’s of Character Education ของรียอง (Ryan, 2002) ท่ไี ด้เสนอแนวทางการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6 ประกอบที่เรียกว่า The Six E’s of Character Education ได้แก่ 1) การยกตัวอย่างและปฏิบตั เิ ปน็ แบบอยา่ ง (Example) การยกตัวอยา่ งของการประพฤตปิ ฏิบัติ ท่ีสะท้อนคุณลักษณะที่พึงประสงค์นอกเหนือจากการอบรมส่ังสอนโดยยกตัวอย่างพฤติกรรมที่ดี และไมด่ ี พรอ้ มทัง้ ผลของการปฏิบตั ิใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ รวมถึงการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีของ ครูเพ่ือให้นักเรียนเห็น การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีถือเป็นการยกตัวอย่างที่ดีที่สุดท่ีนักเรียน สามารถเห็นและเลียนแบบการกระทำ และ ความประพฤติตา่ ง ๆ ได้โดยตรง 2) การอธิบายโดย 199 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ใช้เหตุผล (Explanation) การอธิบายการปฏิบัติที่ดีโดยใช้เหตุและผลในการอธิบายเป็นการ พัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ท่ีดี อาจมีการกระตุ้นให้เกิดการวิพากษ์หรือสนทนาเกี่ยวกับ คุณลักษณะท่ีดีและที่ไม่ดี พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบเพ่ือสร้างความตระหนักและการปรับ พฤติกรรม อันสะท้อนถึงคุณลักษณะของเด็กออกมา การอธิบายโดยใช้เหตุผลดีกว่าการควบคุม ความประพฤติโดยเน้น การท่องกฎแล้วปฏิบัติตามกฏ 3) การเชิญชวนให้ทำความดี (Exhortation) การเชิญชวนโดยใช้การเสริมแรงทางบวกควบคู่กับการพัฒนาความกล้าหาญเชิง จรยิ ธรรม (Moral courage development) โดยใหก้ ลา้ ทำในส่ิงท่ถี ูกตอ้ ง ไม่อายหรอื กลัวท่ีจะ ทำในส่ิงที่ควร 4) การจัดสิ่งแวดล้อมเชิงคุณธรรม (Ethos of Ethical Environment) ส่ิงแวดล้อมเชิงคุณธรรมเอ้ือต่อการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ไม่มีสิ่งย่ัวยุให้ไปในทางเส่ือม โดยเฉพาะในห้องเรียนซ่ึงเป็นสังคมย่อยเล็ก ๆ ท่ีนักเรียนจะต้องสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ครูสามารถจำลองสังคมใหญ่เข้ามาไว้ในห้องเรียนได้โดยสร้างบรรยากาศเชิงคุณธรรม 5) การจัด ประสบการณ์ใหส้ มั ผัสกบั สงั คมภายนอก (Experience) การเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้สมั ผสั สงั คม ภายนอกอย่างจริงจังนอกโรงเรียน จะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้และซึมซับแนวคิดในการปฏิบัติตนท่ี พงึ ประสงค์ และ 6) การคาดหวงั ความเปน็ เลศิ (Expectations of Excellence) การวางเปา้ หมาย ของตนเองของนักเรียนเป็นเสมือนการกำหนดหลักชัยในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของตนเองให้ดยี ่งิ ๆ ข้ึนไป นอกจากน้ี แนวทางในการพัฒนาวินัยของเยอรมนียังสอดคล้องกับหลักการพัฒนา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้รวบรวมไว้ จำนวน 11 หลักการ (2551 อา้ งถงึ ใน ร่งุ ฤดี กลา้ หาญ, 2558 หนา้ 20-22) ได้แก่ หลกั การที่ 1 สง่ เสรมิ และให้ความสำคัญกบั คา่ นิยมเชิงจริยธรรม โดยทำให้นกั เรียนเห็นความสำคัญของการมจี รยิ ธรรม ที่เป็นคุณสมบัติของคนดีหรือคนท่ีมีคุณลักษณะท่ีดี หลักการที่ 2 ให้นิยามคำว่า “คุณลักษณะ” ให้เข้าใจง่าย โดยรวมความหมายในเชิงความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมเข้าเป็นองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของ “คณุ ลักษณะ” หลกั การที่ 3 ใช้วิธีการพฒั นา “คณุ ลักษณะ” ทเ่ี ปิดโอกาสให้นักเรยี น ได้พัฒนาตนเองโดยตรงอย่างรอบด้านและมีประสิทธิภาพ หลักการท่ี 4 สร้างเครือข่ายโรงเรียน และชุมชนใน การพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียน หลักการท่ี 5 เปิดโอกาสและจัดประสบการณ์ การแสดงออกในทางคุณธรรมให้แก่นักเรียน หลักการท่ี 6 ผนวกการพัฒนาคุณลักษณะของ นักเรียนเข้ากับหลักสูตรวิชาการที่สอน หลักการที่ 7 พยายามส่งเสริมแรงจูงใจในตัวนักเรียน หลักการที่ 8 จัดให้บุคลากรทางการศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาคุณลักษณะที่ดีเช่นเดียวกับที่พัฒนา นกั เรยี น หลักการที่ 9 ส่งเสรมิ การเป็นผนู้ ำในด้านคุณธรรมของนักเรียนและให้การสนบั สนุนการ พฒั นาคุณลักษณะอย่างต่อเนอ่ื ง หลักการที่ 10 จดั ใหส้ มาชิกในครอบครวั และชมุ ชนมีสว่ นรว่ มใน การสรา้ งคณุ ลกั ษณะท่ีดีให้แกน่ กั เรยี น หลักการท่ี 11 ประเมนิ คณุ ลักษณะต่างๆ ของนักเรยี นทงั้ 200 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี โรงเรียน และประเมินผล การดำเนินการของบุคลากรของโรงเรียนในการพัฒนาคุณลักษณะ ตา่ ง ๆ ของนกั เรยี น อย่างไรก็ตามแม้ว่าปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคลมีวินัยของประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีแต่ละปัจจัยจะใช้แนวคิดทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแตกต่างกัน เช่น แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรียนอนุบาลยึดตามทฤษฎีพัฒนาการทาง จริยธรรมของโคลเบิรก์ (Kohlberg) ทเ่ี ชอ่ื ว่าพฒั นาการทางจรยิ ธรรมของบุคคลจะเปน็ ไปตามขนั้ และข้ึนอยู่กับพัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลน้ัน หรือการแก้ไขปัญหาทางด้านวินัยเมื่อเผชิญ สถานการณ์ยุ่งยากในโรงเรียนภาคบังคับยึดตามแนวคิดจิตพฤติกรรมศาสตร์ ซ่ึงมุ่งเน้นที่จะศึกษา ถึงสาเหตุของพฤติกรรมของบุคคลตามรูปแบบปฏิสัมพันธนิยมและศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทำให้ บุคคลแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ หรอื การปฏิบัติของผู้ปกครองในการสนับสนนุ ให้บตุ รหลานประสบ ความสำเร็จในการเรียนยึดตามกลุ่มแนวคิดสังคมวิทยาท่ีใช้กระบวนการขัดเกลาทางสังคมผ่าน ตวั แทนทางสงั คมทสี่ ำคัญ ไดแ้ ก่ พอ่ แม่ ครู เพื่อน เป็นต้น แม้วา่ ในการพฒั นาจริยธรรมดา้ นวนิ ัย นักเรียนจะใช้วิธีการที่แตกต่างกัน แต่กระบวนการพัฒนานักเรียนก็มีลักษณะท่ีสอดคล้องกับงาน วิจยั หลายเรือ่ งทีใ่ ช้กระบวนการพัฒนานักเรยี นตา่ งกัน แตก่ ็ประสบความสำเร็จเชน่ เดยี วกัน ความสอดคล้องกับงานวิจัยที่เก่ียวข้องก็พบว่าการพัฒนาวินัยของประเทศเยอรมนี สอดคล้องกับงานวิจัยในประเทศไทย ได้แก่ การวิจัยของไพศาล ม่ันอกและไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557) ที่ศึกษาเร่ือง การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ผลการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม พบว่า ในการวางแผนใช้ กลยุทธ์ 5 อย่าง คือ การเข้าค่าย การสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม วันพุธพบพระละกิเลส ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในชีวิตประจาวัน และศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด หรือพระมหา สายณั ห์ วงศ์สุรนิ ทร์ (2558 หนา้ 141 – 142) ไดท้ ำการวิจยั เร่อื ง การพฒั นารปู แบบการจัดการ เรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพ่ือพัฒนาความมีวินัยของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษา พบวา่ รปู แบบการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคิดจติ ตปญั ญาศกึ ษา เพื่อพัฒนาความมีวินัยของนักเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษามี ประสทิ ธิภาพ 201 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำผลการวจิ ยั ไปใช ้ 1. ประเทศไทยมนี โยบายรฐั บาล รฐั ธรรมนญู กฎหมาย กฎ ระเบยี บต่างๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กับการรักษาระเบียบวินัยเด็กและเยาวชนท่ีเป็นปัจจัยช่วยหนุนเสริมต่อการเสริมสร้างวินัยใน สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจำนวนมาก แต่ยังขาดการปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการรักษาระเบียบวินัยเด็กและเยาวชน ดงั กลา่ วอย่างเคร่งครดั ดงั นัน้ สิง่ ท่ีสังคม ชุมชน และสถานศึกษาพึงปฏบิ ตั ิ คอื การเปลยี่ นแปลง ค่านิยมของผู้นำทุกคนให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ระเบยี บต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการรกั ษาระเบยี บวนิ ยั โดยผ้นู ำรฐั บาล ผู้บังคับบญั ชา หน่วยงานของรัฐ เจ้าของหน่วยงานในภาคเอกชน ผู้นำศาสนา ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้นำชุมชน และหัวหน้าครอบครัวทุกคนจะต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของการรักษาระเบียบวินัย และ กระตุ้นให้บุคคลท่ีอยู่ภายใต้การดูแลของผู้นำเหล่าน้ันปฏิบัติตนตามระเบียบวินัยอย่างมีเหตุผล หากผู้นำทุกฝ่ายปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของการรักษาระเบียบวินัยและกระตุ้นบุคคลท่ีอยู่ภายใต้ การดูแลของผู้นำอย่างจริงจังและต่อเนื่อง คนไทยจะเป็นคนที่มีระเบียบวินัยอย่างแน่นอน และ สังคมไทยจะเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย สิ่งเหล่านี้เห็นได้จากผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัย เก่ียวกับการพัฒนาระเบียบวินัยนักเรียนท่ีประสบความสำเร็จ การศึกษาคลิปวิดีโอ และ การสัมภาษณ์ชาวเยอรมัน รวมทั้งประสบการณ์ของผู้วิจัยเองพบว่านโยบายรัฐบาล รัฐธรรมนูญ กฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการรักษาระเบียบวินัยเด็กและเยาวชนที่เป็นปัจจัย ช่วยหนุนเสริมต่อการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อประมาณย่ีสิบ ปีท่ีผ่านมาผู้นำของประเทศไทยก็เคยสามารถเปลี่ยนค่านิยมของคนไทยเกี่ยวกับการห้ามสูบบุหร่ี ในท่สี าธารณะ ปัจจุบนั น้ีคนท่ีสบู บุหรี่มกั จะตอ้ งหลบซ่อนในการสูบบหุ รี่ และไม่กล้าสบู บุหร่ใี หค้ น อื่น ๆ เห็น เพราะได้รับการแสดงความรังเกียจจากสังคม ดังน้ัน หากผู้นำในประเทศไทยทุกคน มคี วามตงั้ ใจจรงิ ในการปลกู ฝงั คา่ นยิ มเกยี่ วกบั ความมวี นิ ยั ของคนไทย ยอ่ มสามารถทำไดเ้ ชน่ เดยี วกบั การเปลี่ยนค่านิยมของการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ค่านิยมเก่ียวกับระเบียบวินัยท่ีคนไทยควร เปล่ียนแปลงเป็นอันดบั แรก คือ วินัยจราจร เน่อื งจากเป็นปัญหาท่ีรนุ แรงมากในประเทศไทย 2. กระทรวงศึกษาธิการจะต้องเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาการรักษาระเบียบวินัย ของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยจะต้องเร่งรัดให้สถานศึกษาพัฒนาระเบียบวินัย ของผู้บริหาร ครู และบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้เรียน พัฒนาหลักสูตร รายวิชาท่ีมีการบูรณาการการรักษาระเบียบวินัย การจัดการเรียนรู้ตามรายวิชาที่เน้นการรักษา ระเบียบวินยั การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นที่เนน้ การรักษาระเบยี บวนิ ยั และการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ 202 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ท่ีส่งเสริมการรักษาระเบียบวินัยในสถานศึกษา เช่นเดียวกับสถานศึกษาระดับการศึกษาของ ประเทศเยอรมนี เนอื่ งจากผลการวจิ ยั ครง้ั นพี้ บวา่ การจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน และระบบกลไกและความร่วมมือในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานช่วย หนุนเสรมิ การสรา้ งเสริมวนิ ยั ในสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 3. กระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลต่าง ๆ ท้ังของรัฐและของเอกชนจะต้องเป็น หน่วยงานหลักใน การพัฒนาวิธีการอบรมเลี้ยงดูเด็กให้มีระเบียบวินัยให้แก่บิดามารดาของเด็ก ผู้เล้ียงดูเด็ก และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในศูนย์ดูแลเด็ก เน่ืองจากผลการวิจัยครั้งน้ีพบว่า การอบรมเล้ียงดูเด็กช่วยหนุนเสริมการสร้างเสริมวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในประเทศเยอรมน ี 4. กระทรวงมหาดไทยจะต้องเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาระเบียบวินัยให้แก่ ขา้ ราชการในหนว่ ยงานของรัฐ พนักงานในหน่วยงานเอกชน ผบู้ รหิ ารหน่วยงานในสว่ นกลางและ ภูมิภาค และผนู้ ำในชมุ ชนตา่ ง ๆ ในระดบั ท้องถ่ิน เนือ่ งจากผลการวิจยั ครงั้ นพ้ี บว่า สภาพความ ร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในการเสริมสร้างวินัย ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 5. กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพาณิชย์จะต้องเป็นหน่วยงานหลักในการ พฒั นาการรักษาระเบียบวนิ ัยให้แก่ผูบ้ ริหารหน่วยงานเอกชน โรงงาน บริษัท และสถานประกอบ การเป็นผู้นำในการรกั ษาระเบยี บวินัยของผู้บริหารและพนกั งานทกุ คน เนอื่ งจากผลการวจิ ัยคร้ังน้ี พบว่า สภาพความร่วมมือของทุกภาคสว่ นของสังคม ได้แก่ หน่วยงานเอกชน โรงงาน บริษัท และ สถานประกอบการของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ขอ้ เสนอแนะในการทำวิจัยต่อไป 1. ควรทำวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาแนวปฏิบัติ แนวทาง หลักการ กระบวนการ รูปแบบ กลยุทธ์ กลไก โครงการ และกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของหน่วยงานต่างๆ ท้ัง ภาครฐั ภาคชุมชน และภาคเอกชนในแตล่ ะพื้นท่ ี 2. ควรทำวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาบุคคลต้นแบบในการพัฒนาแนวปฏิบัติ แนวทาง หลักการ กระบวนการ รูปแบบ กลยุทธ์ กลไก โครงการ และกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของหน่วยงานต่างๆ ในแต่ละพ้ืนท่ี 3. ควรทำวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาผู้เรียนในระดับต่างๆ ท่ีเป็นต้นแบบในการพัฒนา แนวปฏิบัติ แนวทาง หลักการ กระบวนการ รูปแบบ กลยุทธ์ กลไก โครงการ และกิจกรรม การพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมของหนว่ ยงานต่าง ๆ ในแต่ละพน้ื ท ่ี 203 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี บทที่ 6 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ผลจากการวิจัยเร่ืองการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้รูปแบบและกลไกการเสริมสร้าง วินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ผู้วิจัย ใคร่สรุปรูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของ ประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนีได้ ดงั นี ้ รูปแบบการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์ สาธารณรฐั เยอรมนี ประกอบด้วยองคป์ ระกอบหลกั 6 องค์ประกอบหลกั ไดแ้ ก่ 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เก่ียวข้องกับการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับ การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2. มาตรฐานการศกึ ษา หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 3. แนวทางและกระบวนการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 4. สภาพความร่วมมือของทุกภาคส่วนของสังคมในการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 5. สภาพระบบกลไกและความร่วมมอื ในการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 6. กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับปัจจัยท่ีสร้างความเข้มแข็งให้บุคคล มีวนิ ยั 204 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทั้งนี้ ในแต่ละองค์ประกอบหลัก มีองค์ประกอบย่อยดังน ้ี 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เก่ียวข้องกับการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มอี งคป์ ระกอบยอ่ ย ได้แก่ 1.1 รัฐธรรมนูญสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมัน หมวด 1 สิทธมิ ูลฐาน มาตราท่ี 1, 2, 6, 7, 9 และ 12 มาตราท่ี 1 ทกุ คนมเี กียรตภิ มู ทิ ่ีผใู้ ดจะละเมดิ ไม่ได ้ มาตราที่ 2 ทุกคนมีสทิ ธิทจ่ี ะพฒั นาบคุ ลกิ ภาพของตนเองไดโ้ ดยเสร ี มาตราท่ี 6 การอบรมและเลยี้ งดบู ุตรเป็นสทิ ธิและภาระหนา้ ที่ของบดิ ามารดา มาตราท่ี 7 ระบบการศกึ ษาท้ังหมดอยู่ภายใต้การควบคมุ ของรฐั และการอบรม ทางศาสนา เปน็ สว่ นหนึ่งของหลักสูตรปกติในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรยี นเทศบาล มาตราท่ี 9 คนเยอรมนั มีสทิ ธทิ ี่จะจดั ตงั้ สมาคมหรอื สโมสร มาตราท่ี 12 คนเยอรมันมีสิทธิโดยเสรีที่จะเลือกอาชีพ หรือวิชาชีพ ที่ทำงาน และท่ีรับการฝึกอบรม 1.2 ระบบประกนั สงั คมของเยอรมนี - สิทธิประโยชนส์ ำหรบั บตุ ร - สทิ ธปิ ระโยชนส์ ำหรบั บดิ ามารดา - การลาหยุดเพ่ือเลยี้ งดบู ตุ ร - เงนิ ชว่ ยเหลือสำหรบั เลย้ี งดูบุตร - เงนิ เสรมิ สำหรบั บุตร 1.3 สิทธิและหน้าท่ีของเดก็ - กฎหมายแพง่ มาตรา 1 สทิ ธิของบคุ คลเริม่ ต้นตัง้ แต่วนั ท่เี ด็กลมื ตาดูโลก - กฎหมายแพ่งมาตรา 2 ข้อ 2 ระบุไว้ว่า เด็กมีสิทธิได้รับรางวัลเม่ือเก็บ ของมีค่าแล้วนำไปคืน มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย มีสิทธิเรียกร้องค่าเล้ียงดูจากพ่อแม่ซ่ึงไม่ได ้ อย่ดู ว้ ยกนั กบั ลูก มสี ทิ ธิขอเงินชว่ ยคา่ เล่าเรยี นจากรัฐบาล - กฎหมายเยอรมันระบสุ ิทธแิ ละหน้าท่ขี องเดก็ อายุ 7-10 ปี ไว ้ 1.4 กฎระเบยี บสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างเพอื่ นบา้ น (บ้านเช่า) - หา้ มการทำเสยี งดงั รบกวนเพอ่ื นบ้าน - ห้ามรบกวนเวลาการพกั ผ่อนของเพือ่ นบ้าน - แจง้ ใหเ้ พือ่ นบา้ นทราบล่วงหน้าเมือ่ จะจดั งานสังสรรคท์ บ่ี ้าน - หา้ มทำกลิ่นเหม็นรบกวนเพอ่ื นบา้ น 205 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - ไม่ปล่อยให้เด็กเล่นในสถานที่ท่ีไม่ใช่สนามเด็กเล่นและต้องเก็บของเล่นให้ เรียบรอ้ ย 1.5 กฎหมายทีว่ ่าด้วยการศกึ ษาภาคบังคบั ของรัฐ - เดก็ ต้องเข้าเรียนการศกึ ษาภาคบังคับเมือ่ มีอายคุ รบตามเกณฑ์ท่ีรฐั กำหนด - เดก็ ต้องเขา้ เรยี นในโรงเรียนในเขตทตี่ นพำนกั - ผ้ปู กครองจะถูกลงโทษหากไม่ส่งเดก็ เข้าเรียนการศึกษาภาคบงั คบั 1.6 กฎระเบียบเก่ยี วกับการทง้ิ ขยะ - ทุกคนจะต้องท้ิงขยะให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ และทุกบ้านจะต้องแยกขยะ ก่อนนำไปทง้ิ - คนในบา้ นจะตอ้ งจ่ายคา่ เก็บขยะใหก้ ับเทศบาล - บ้านใดทิ้งขยะไม่ตรงตามประเภทของถังขยะ ถ้าพบหลักฐานจะต้องจ่าย คา่ ปรับสูงมาก 1.7 กฎระเบียบเกี่ยวกับการรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม - เมอ่ื คนเยอรมันไปซอื้ ของจะตอ้ งเตรยี มถุงผ้าหรือกระเป๋าไปดว้ ย - ร้านคา้ และหา้ งสรรพสนิ ค้าจะคืนเงินใหล้ กู ค้าเม่อื นำขวดพลาสตกิ ไปคนื 1.8 มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติท่ีใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนเิ วศของเยอรมนี - การกำหนดระดับมาตรฐานดา้ นสง่ิ แวดล้อม - การขนสง่ สาธารณะทค่ี ำนึงถึงคณุ ภาพในการใช้พลงั งานอย่างยั่งยนื - การออกแบบอาคารที่คำนงึ ถึงการลดการใช้พลังงาน - การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน - การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจโดยพิจารณาโอกาสในการจ้างแรงงานในชุมชน ท้องถน่ิ - การสร้างรายได้เสรมิ โดยการจดั ตง้ั สหกรณ ์ - การดูแลเรื่องสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน - การพจิ ารณาการใช้ประโยชน์จากท่ีดินใหม้ ีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ 2. มาตรฐานการศกึ ษาหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มีองคป์ ระกอบยอ่ ย ได้แก่ 2.1 หลกั สตู รระดับอนบุ าลสำหรับเดก็ ทมี่ อี ายสุ ามขวบถงึ หกขวบในโรงเรยี นอนุบาล - ความสามารถทางสงั คม - ความสามารถแหง่ ตน - ความสามารถเฉพาะดา้ น 206 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี 2.2 หลักสตู รระดบั ประถมศึกษา - ทกั ษะพ้นื ฐาน - วิชาเสริม - นกั เรยี นจะเรียนรูแ้ ละทำความเข้าใจโลกรอบตวั เรียนรู้เทคนิคการทำงาน - นักเรียนจะตอ้ งรับผิดชอบทำแบบฝึกหัดด้วยตนเอง 2.3 หลักสตู รระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น - การจัดให้นักเรียนเลือกเข้าเรียนในสาขาต่างๆ 4 สาขา ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของ ความสนใจส่วนบคุ คลและผลการเรยี น - การจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนรูจ้ ักทำงานอย่างเป็นอิสระด้วยตนเองมากขน้ึ - นกั เรยี นจะได้รบั การตระเตรยี มเพอื่ การเลือกสาขาวิชาชพี - นักเรยี นบางสาขาวิชาชพี จะตอ้ งฝกึ งานด้วย 2.4 หลกั สตู รมธั ยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ - การเรียนวิชาพ้ืนฐาน (Grundkurse) มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เรียนรู้ถึงวิธีคิด วิเคราะห์และการสร้างงาน ทางวิชาการ ให้รู้ถึงข้อมูลที่แท้จริงและปัญหาท่ีซับซ้อนของความรู้ท่ี สอนในวชิ าหน่งึ ๆ - การเรยี นวชิ าหลกั หรือวชิ าเอก (Leistungskurse) การสอนวิชาในกลมุ่ น้จี ะ เนน้ เนื้อหาท่มี ากและลึกกว่าในกลุม่ วิชาพืน้ ฐาน โดยนำเสนอให้เรียนรู้ถงึ ทฤษฎแี ละแบบแผนตาม หลกั วิชาการของสาขาวชิ า - การสอนรวมท่เี รียกวา่ Zentralabitur ซง่ึ เปน็ การสอบข้อเขียนโดยใชข้ ้อสอบ เดียวกัน เม่ือสอบผ่าน จะได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย และมีศักดิ์และสิทธิท่ีจะเข้า เรยี นในระดับอุดมศกึ ษาในมหาวิทยาลัย 2.5 หลักสูตรการศกึ ษาสาขาวชิ าชีพ - การเรียนในระบบ Dual System คือ เรยี นในโรงเรียนอาชวี ศึกษา 1 – 2 วนั และไปฝึกงานในสถานประกอบการ เม่ือครบกำหนดตามหลักสูตรก็จะต้องมีการสอบภาคทฤษฎี ที่โรงเรียนอาชีวศึกษา และสอบภาคปฏิบัติที่สถานประกอบการ เมื่อสอบผ่านก็จะได้รับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ - การเรียนในโรงเรียนอาชีวศึกษา มีการฝึกงานในโรงเรียนโดยมีครูฝึกจาก สถานประกอบการไปฝึกให้ที่โรงเรียน ก่อนสำเร็จการศึกษาจะต้องมีการสอบทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏบิ ตั ิ เมอื่ สอบผา่ นก็จะไดร้ ับประกาศนียบัตรวิชาชพี 207 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี 3. แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มอี งคป์ ระกอบ ย่อย ไดแ้ ก ่ 3.1 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในโรงเรยี นอนบุ าล - การเล่นและการเรียน - รปู แบบการทำงาน - การรว่ มมอื กนั ระหวา่ งผู้ปกครองและครู 3.2 แนวทางและกระบวนการเสริมสร้างวินัยในโรงเรยี นประถมศกึ ษา - การสอนเกี่ยวกบั ศาสนาในชั้นเรียน - การใหก้ ารบ้าน - การจดั ทำรายงานผลการเรียนเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร - กิจกรรมเสรมิ ทางการศึกษาและการใช้เวลาวา่ ง - การประชมุ ผ้ปู กครอง - การเปน็ ตวั แทนผปู้ กครอง - การเข้าพบพดู คยุ หารือเกย่ี วกบั ตัวเด็กทุกภาคเรยี น 3.3 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สร้างวินัยในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ - โรงเรยี นจะจัดใหน้ ักเรียนเขา้ เรยี นตามรปู แบบตา่ งๆ ทงั้ 4 แบบ ตามเง่อื นไข ความสามารถของเด็กโดยดูจากผลการเรียนของนักเรียน และนักเรียนจะได้รับการช่วยเหลือโดย การจัดให้มีการสอนพิเศษและมชี ้ันพิเศษ - นกั เรยี นจะต้องปฏิบัตติ ามกฎของห้องเรียนอยา่ งเคร่งครัด - ใหน้ ักเรียนรจู้ ักทำงานอยา่ งเปน็ อิสระด้วยตนเองมากข้นึ - โรงเรียนสนับสนุนกระบวนเลือกอาชีพบนพื้นฐานของความสนใจส่วนบุคคล จุดแข็ง และผลการเรียนของนักเรียนแต่ละคน โดยมีผู้ปกครอง ครูประจำชั้น และศูนย์แนะแนว และให้คำปรึกษาดา้ นอาชพี - ครูประจำช้ันจะให้ข้อมูลแก่นักเรียนและผู้ปกครองเก่ียวกับการเลือกอาชีพ และการหาสถานท่ีเรยี นสำหรับการเรยี นวิชาชพี - นักเรียนเรยี นอยู่ในเกรด 9 จะเข้าสู่กระบวนการของการเล่อื นช้ัน - สำหรับนักเรียนที่มีปัญหาในบางด้าน ผู้ปกครองอาจจะขอให้ครูที่ได้รับ การฝกึ ฝนมาเป็นพเิ ศษเป็นผ้สู อน โดยใหห้ นว่ ยงานที่เช่ียวชาญเฉพาะทางจะเป็นผู้พิจารณา - การสอนเป็นกรณีพิเศษ อาจจะดำเนินการไปในระหว่างที่นักเรียนเรียนอยู่ใน ชน้ั เรียนหรอื ในกลุ่ม นอกเวลาเรียนในชั้นก็ได ้ 208 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวนิ ยั ในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี - สำหรับนักเรียนที่มีพรสวรรค์เป็นพิเศษทั้งหญิงและชาย ทางโรงเรียนก็มี โปรแกรมพิเศษให ้ - หากนักเรียนมีความรู้ไม่เพียงพอท่ีจะเข้าเรียนอาชีวศึกษาได้ในสาขาที่ ต้องการหลังจากเรียนจบเกรด 11 แล้ว นักเรียนสามารถเข้าเรียนเกรด 12 เพื่อเตรียมตัวในการ ประกอบอาชีพได้ 3.4 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สร้างวินัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย - นกั เรียนจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของห้องเรยี นอยา่ งเครง่ ครดั - นักเรียนจะตอ้ งตัง้ ใจเรยี นเพอ่ื ใหส้ อบผ่านระบบการสอบรวม - หากนักเรียนมีผลการเรียนไม่ดีเพียงพอก็จะต้องเปลี่ยนไปเรียนทาง อาชีวศกึ ษาแทน 3.5 แนวทางและกระบวนการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในโรงเรยี นสาขาวชิ าชีพ - นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียนอย่างเคร่งครัดในช่วงที่ เรียนในโรงเรียน - นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด ในช่วงที่ฝกึ งานอยทู่ ่ีสถานประกอบการภายใต้การดูแลของครูฝึกประจำสถานประกอบการ - ก่อนที่นักเรียนจะเรียนจบ นักเรียนจะต้องผ่านการสอบภาคทฤษฎี และ การสอบภาคปฏบิ ัตทิ ไี่ ดร้ บั การรับรองจากสภาหอการค้าของวชิ าชพี ท่ีฝึกงาน 4. สภาพความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นของสงั คมในการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน มอี งคป์ ระกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 4.1 ความร่วมมือจากครอบครวั ในการเลี้ยงลกู 4.2 ความรว่ มมอื ในการปลูกฝังวินยั ของชุมชน และสงั คม 4.3 การได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองในการปลูกฝังวินัยอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ และโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 4.4 ความร่วมมือของสภาหอการค้าอุตสาหกรรมและบริษัท โรงงาน และ สถานประกอบการในการปลูกฝังวนิ ัยในการทำงานในการจดั การศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษา 5. สภาพระบบกลไกและความรว่ มมอื ในการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มอี งคป์ ระกอบย่อยไดแ้ ก ่ 5.1 การประเมินผลเพือ่ การเล่อื นชัน้ จากชน้ั อนบุ าลข้ึนไปเรียนช้นั ประถมศกึ ษา - การร่วมมือกัน - การเลื่อนไปเข้าเรยี นในปกี ารศึกษาที่ 1 ของชนั้ ประถมศกึ ษา 209 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี - การตัดสินใจเกยี่ วกบั เส้นทางการเรียนของเด็ก - เอกสารบนั ทกึ ระดับพัฒนาการของเดก็ 5.2 การรว่ มมือระหวา่ งผปู้ กครองและโรงเรียนในการพัฒนาวนิ ัยนกั เรียน - การรว่ มมอื กัน - การให้ข้อมลู ขา่ วสารซง่ึ กนั และกนั - การตดั สินใจสำคัญ - การมสี ่วนร่วม 5.3 การแกไ้ ขปญั หาทางดา้ นวนิ ยั เม่ือเผชิญสถานการณ์ย่งุ ยากในโรงเรยี นภาคบังคบั - ผู้ปกครองและครูผู้สอนติดต่ออีกฝ่ายหน่ึงพูดคุยปรึกษาหารือกันถึง สถานการณ์ทีก่ ำลังเปน็ ประเด็นปญั หา - ถ้าหากว่าผู้ปกครองและครูผู้สอนไม่สามารถหาทางออกได้ ก็ให้มีการพูดคุย กันระหว่างผปู้ กครอง ครผู ้สู อน และฝา่ ยบรหิ ารของโรงเรียน - ถ้าหากว่าไม่อาจจะหาทางแก้ไขท่ีเป็นท่ีพอใจได้ ให้นำเรื่องเข้าแจ้งต่อ คณะกรรมการโรงเรียนได้ 5.4 มาตรการเมอื่ มีปญั หาทางวินัยในโรงเรยี นการศึกษาภาคบงั คบั - นักเรียนทุกคนจะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์สำหรับการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน (ประกอบด้วยกฎเกณฑ์เมอื่ อยใู่ นโรงเรียน และกฎของห้องเรยี น) และจะต้องปฏิบตั ิตามคำสง่ั ของ ครูผสู้ อน ผบู้ ริหารโรงเรยี น และพนกั งานโรงเรยี น - หากมีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎซ้ำแล้วซ้ำอีก หรือละเมิดกฎอย่างรุนแรง ทางโรงเรียนจะแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ และจะต้องปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีต้องปฏิบัติเมื่อมี สถานการณย์ งุ่ ยากในโรงเรียนภาคบังคับ - หากการใช้มาตรการที่ได้ตกลงกันไว้แล้ว ไม่นำไปสู่การเปล่ียนแปลงในทาง ทดี่ ีขึ้น ทางโรงเรียนอาจขอความชว่ ยเหลือจากผเู้ ช่ยี วชาญ - หากพฤติกรรมของนักเรียนคนใดส่งผลกระทบกระเทือนต่อโรงเรียนอย่าง รุนแรง จนทำให้ไม่สามารถจะดำเนินการเรียนการสอนไปตามปกติได้ คณะกรรมการโรงเรียน สามารถมหี นงั สอื ตกั เตือนเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรได้ - ถ้าไม่เลิกพฤติกรรมเช่นนั้น คณะกรรมการโรงเรียนสามารถส่ังให้นักเรียน พกั การเรียนได้นานถงึ สบิ สองสปั ดาห ์ - ในกรณีที่นักเรียนถูกส่ังพักการเรียน ผู้เชี่ยวชาญท่ีได้รับมอบหมายจาก โรงเรียนจะได้ร่วมกันกับผู้ปกครองและโรงเรียนจัดหากิจกรรมท่ีเหมาะสมให้นักเรียนทำใน ระหวา่ งทีถ่ ูกพักการเรยี นต่อไป 210 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี 5.5 การปฏิบัติของผู้ปกครองในการสนับสนุนให้บุตรหลานประสบความสำเร็จใน การเรียน - แสดงความสนใจ ได้แก ่ ก. การรักษาความสัมพันธ์กับครูผู้สอนและเข้าร่วมกิจกรรมทุกอย่างของ โรงเรยี นเท่าทจี่ ะเปน็ ไปได ้ ข. การให้บุตรหลานเล่าให้ฟังว่าได้เรียนรู้และได้ประสบการณ์อะไรบ้างท่ี โรงเรยี น - สรา้ งแรงจงู ใจและคอยช่วยเหลอื สนบั สนนุ ไดแ้ ก ่ ก. ควรดูแลบุตรได้นอนหลับอย่างเต็มอิ่ม รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่า และมาโรงเรียนพร้อมกบั อาหารว่างในประเป๋า ข. อย่าขับรถมาส่งบุตรท่ีโรงเรียน แต่ควรจะฝึกเดิน หรือถีบจักรยายมา โรงเรยี นกบั บตุ ร จนกวา่ เขาจะสามารถเดินหรือขีจ่ ักรยานมาโรงเรยี นตามลำพงั ค. ดูแลให้บุตรทำการบ้านให้เสร็จเรียบร้อย และให้บุตรเตรียมกระเป๋า สำหรับเรยี นวันต่อไปให้เรยี บรอ้ ย ง. จงมีความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะเรียนรู้ของบุตร จงปล่อยให้เขาทำ สิ่งต่าง ๆ ดว้ ยตวั เขาเองให้มากทีส่ ุดเท่าที่จะมากได ้ จ. ชมเชยบุตรเมื่อเขาแสดงให้เห็นว่าเขาพยายามที่จะเรียนรู้ และชมเชย ความอดทนของเขาเมือ่ เขาประสบปญั หา ฉ. อย่าตำหนิบุตรเมื่อเขาทำอะไรผิดพลาด แต่ควรช่วยเขาตรึกตรองว่าเขา สามารถเรยี นรู้อะไรได้บ้างจากความผดิ พลาดนนั้ - สง่ เสรมิ ภาษาและประสบการณ์ใหแ้ กบ่ ุตรหลาน ไดแ้ ก ่ ก. พดู คุยกบั บตุ รให้มากเล่าเรือ่ งต้งั แตเ่ ม่ือเขายังเป็นทารก หรอื เลา่ ใหเ้ ขาฟงั ว่าท่านกำลังทำอะไรอยู่ หรืออธิบายโลกที่อยู่รอบๆ ตัวเขาให้เขาฟังด้วย จงฟังเขาพูดด้วยความ อดทนและตอบคำถามของเขา เลา่ นทิ านต่างๆ ให้เขาฟัง และอ่านหนังสอื ให้เขาฟงั ด้วย ข. ทำกิจกรรมร่วมกับบุตร พาเขาไปในสถานท่ีต่างๆ บุตรของท่านจะได้ เรยี นรโู้ ลกด้วยสัมผัสต่างๆ ทุกสมั ผัส และเขา้ ใจความสัมพันธข์ องส่งิ ตา่ งๆ ค. พาบุตรของท่านไปห้องสมุดอย่างสม่ำเสมอและกระตุ้นเขาให้รักการอ่าน หนงั สือ - วางกฎระเบยี บการใชส้ ่อื ใหม่ ๆ ได้แก ่ ก. อย่าติดตั้งเครื่องรับโทรทัศน์และคอมพิวเตอร์ในห้องเด็ก แต่ให้ตั้งในห้อง สำหรับทุกคนในครอบครัว 211 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี ข. ให้ความสนใจกิจกรรมการเล่นอินเทอร์เน็ตของบุตร และให้เขาแสดง ให้ท่านดูว่ากำลังเล่นเกมส์ใด และมีเวทีการส่ือสารและเว็บไซต์ใดบ้างท่ีเขาเข้าไปดูหรือร่วม สนทนาดว้ ย ค. ตกลงกับบุตรของท่านเรื่องการบริโภคส่ือ โดยวางกฎเกณฑ์สำหรับ การปฏิบัตแิ ละผลทีจ่ ะตามมาหากฝ่าฝนื กฎเกณฑ์นนั้ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน ง. ระมัดระวังปฏิบัติตามอายุท่ีกำหนดไว้ในรายการโทรทัศน์หรือเกมส์ คอมพวิ เตอร ์ จ. สนับสนุนให้บุตรของท่านได้ใช้เวลาว่างทำกิจกรรมกับครอบครัวหรือกับ เด็กในวัยเดียวกัน และให้เขาไดอ้ อกกำลังกายกลางแจง้ อย่างสม่ำเสมอ 6. กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎที ่ีเก่ยี วขอ้ งกบั ปัจจัยทสี่ ร้างความเข้มแขง็ ให้บุคคล มวี นิ ยั มี 6 กลุ่ม 6.1 กลุ่มแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด ได้แก่ ทฤษฎีพัฒนาการทาง จรยิ ธรรมของเพยี เจต์ (Piaget) และทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก (Kohlberg) 6.2 กล่มุ แนวคดิ จติ พิสัย 6.3 กลุ่มแนวคิดพฤติกรรมนิยม 6.4 กล่มุ แนวคดิ จิตพฤตกิ รรมศาสตร ์ 6.5 กลุม่ แนวคิดสงั คมวทิ ยา 6.6 กลุ่มแนวคดิ ทางศาสนา รายละเอียดของรูปแบบและกลไก ดังปรากฎในตารางที่ 7 212 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี ตารางที่ 7 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมนี องคก์ าร การดกำลเ นไกิน การ หน่วยงาน องคป์ ระกอบของรปู แบบ ผ้ดู ำเนินการ 1. นโยบายรัฐบาล กฎ ระเบียบที่เกีย่ วขอ้ งกบั การเสริมสร้าง วินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 1.1 รฐั ธรรมนญู สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนั หมวด 1 สทิ ธมิ ลู ฐาน มาตรา 1 ทุกคนมีเกยี รตภิ มู ิทีผ่ ้ใู ดจะละเมิดไม่ได้ รฐั บาลกลาง สนับสนนุ รฐั บาลของรัฐ สนบั สนนุ มาตรา 2 ทกุ คนมสี ทิ ธิที่จะพัฒนาบคุ ลิกภาพของตนเองไดโ้ ดยเสร ี รัฐบาลกลาง สนับสนนุ รฐั บาลของรัฐ สนับสนนุ สถานศกึ ษา สนับสนุนและ ลงมอื ปฏิบตั ิ มาตรา 6 การอบรมและเลี้ยงดบู ตุ รเปน็ สทิ ธิและภาระหนา้ ท่ี บดิ ามารดา อบรมและเล้ียงดูลกู บิดามารดา รัฐบาลกลาง สนับสนนุ รฐั บาลของรฐั สนบั สนุน มาตรา 7 ระบบการศึกษาทงั้ หมดอยู่ภายใตก้ ารควบคมุ ของรัฐ รฐั บาลกลาง สนบั สนนุ และการอบรมทางศาสนา เป็นส่วนหน่ึงของหลกั สตู รปกติ รัฐบาลของรฐั ควบคมุ ในโรงเรยี นรฐั บาลและโรงเรยี นเทศบาล สถานศึกษา ลงมอื ปฏิบตั ิ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง สนบั สนนุ มาตรา 9 คนเยอรมนั มสี ิทธิทีจ่ ะจัดตั้งสมาคมหรอื สโมสร รัฐบาลกลาง สนบั สนุน รฐั บาลของรัฐ สนบั สนนุ และควบคุม ชาวเยอรมัน จดั ต้งั สมาคมหรอื สโมสร มาตรา 12 คนเยอรมนั มีสิทธิโดยเสรที จ่ี ะเลือกอาชพี หรอื วชิ าชีพ รัฐบาลกลาง สนบั สนนุ ทที่ ำงาน และทรี่ บั การฝกึ อบรม รัฐบาลของรัฐ สนับสนุน สถานศกึ ษา สนบั สนุนและ ผปู้ กครอง ลงมือปฏิบตั ิ เด็กและเยาวชน สนบั สนุนลงมอื ปฏบิ ัต ิ 213 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี ตารางที่ 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน ผดู้ ำเนนิ การ องคป์ ระกอบของรปู แบบ รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรัฐ สนบั สนนุ และ 1.2 ระบบประกันสังคม สถานประกอบการ ลงมือปฏิบตั ิ ผู้ประกนั ตน สนบั สนนุ และ ลงมือปฏิบัติ ดำเนินการ เพอื่ รกั ษาสทิ ธ ิ 1.3 สิทธแิ ละหน้าที่ของเด็ก รัฐบาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรฐั สนบั สนนุ ควบคุม สถานศึกษา สนบั สนุน สอนเดก็ พ่อแม่ ผปู้ กครอง เดก็ และเยาวชน และเยาวชน และควบคุม สนบั สนุน สอนลกู และควบคุม รักษาสทิ ธิและลงมอื 1.4 กฎระเบียบสำหรบั การอยู่รว่ มกันระหว่างเพอ่ื นบา้ น ปฏบิ ตั ิตามหน้าท ี่ รัฐบาลกลาง กำหนดนโยบาย รฐั บาลของรัฐ สนบั สนนุ ควบคุม พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบ และสอนลกู 1.5 กฎหมายทว่ี า่ ด้วยการศกึ ษาภาคบงั คบั ของรฐั สถานศึกษา สอนเด็กและเยาวชน เดก็ และเยาวชน เรยี นรู้ ปฏบิ ตั ติ าม กฎระเบยี บ รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรฐั สนับสนนุ ควบคมุ สถานศึกษา จดั การศกึ ษาให้เด็ก พ่อแม่ ผปู้ กครอง เด็กและเยาวชน และเยาวชน ปฏิบัตติ ามกฎหมาย ไปเขา้ เรียนระดบั การศึกษาภาคบังคบั 214 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ตารางที่ 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน ผ้ดู ำเนินการ องค์ประกอบของรูปแบบ รัฐบาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรฐั กำหนดแนวปฏิบัต ิ 1.6 กฎระเบยี บเกีย่ วกับการท้งิ ขยะ ลงมอื ปฏิบตั ิ และควบคุม สถานศกึ ษา ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ และสอนเดก็ และเยาวชน พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ เดก็ และเยาวชน และสอนลูก ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ 1.7 กฎระเบยี บเกีย่ วกบั การรักษาส่งิ แวดลอ้ ม รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รฐั บาลของรัฐ กำหนดแนวปฏบิ ัต ิ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ และควบคมุ สถานศกึ ษา ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ และสอนเด็ก และเยาวชน พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ เด็กและเยาวชน และสอนลกู ปฏิบัตติ าม 1.8 มาตรฐาน กฎระเบยี บ และแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ใี ชใ้ นการพฒั นา กฎระเบียบ อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ รัฐบาลกลาง กำหนดนโยบาย รฐั บาลของรัฐ กำหนดแนวปฏบิ ัต ิ ลงมือปฏบิ ัต ิ และควบคุม สถานศึกษา ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ และสอนเด็ก และเยาวชน พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ เด็กและเยาวชน และสอนลกู ปฏิบัติตามกฎระเบียบ 215 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี ตารางที่ 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกิน การ หน่วยงาน องคป์ ระกอบของรูปแบบ ผดู้ ำเนนิ การ 2. มาตรฐานการศกึ ษา หลักสูตรการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 2.1 หลักสูตรระดบั อนุบาลสำหรบั เดก็ ทีม่ อี ายุสามขวบถึงหกขวบ รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย ในโรงเรยี นอนบุ าล รัฐบาลของรัฐ กำหนดหลักสูตร สถานศึกษา และควบคุม จัดการเรยี นการสอน ตามหลักสูตรและสอน เดก็ ระดบั อนุบาล พ่อแม่ ผ้ปู กครอง สอนวนิ ยั ใหค้ วามรว่ มมอื กบั สถานศึกษา เดก็ เรียนและฝกึ ปฏิบัติ ในการรักษาวนิ ยั 2.2 หลักสูตรระดับประถมศกึ ษา รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรฐั กำหนดหลกั สูตร สถานศกึ ษา และควบคมุ จดั การเรียนการสอน ตามหลกั สูตรและสอน เด็กระดับอนุบาล พอ่ แม่ ผูป้ กครอง สอนวนิ ยั ใหค้ วามรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษา เดก็ เรียนรู้ ฝกึ ปฏิบัติ รกั ษาวนิ ยั 2.3 หลักสตู รระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รัฐบาลของรฐั กำหนดหลกั สตู ร และ สถานศึกษา ควบคุมจัดการเรยี น การสอนตามหลักสูตร และสอนเดก็ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ สถานประกอบการ/ จดั ครฝู กึ และรบั นกั เรียน โรงงาน ไปฝึกงาน สอนวนิ ยั ใหค้ วามรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษาและ 216 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตารางที่ 7 (ตอ่ ) องคก์ าร การดกำลเ นไกนิ การ หน่วยงาน ผู้ดำเนินการ องค์ประกอบของรปู แบบ พ่อแม่ ผปู้ กครอง สถานประกอบการ/ โรงงาน นักเรยี น เรยี น ฝึกปฏบิ ตั ิ ฝึกงาน รักษาวนิ ัย 2.4 หลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ รัฐบาลกลาง กำหนดนโยบาย รฐั บาลของรัฐ กำหนดหลักสตู ร และ สถานศึกษา ควบคุมจัดการเรียน การสอนตามหลกั สูตร และสอนเด็กระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามญั สถานประกอบการ จัดครูฝึก และรับนักเรยี น โรงงาน ไปฝึกงาน กระทรวงวัฒนธรรม จัดทำข้อสอบกลาง พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ควบคุมวนิ ัย ให้ความ รว่ มมอื กบั สถานศึกษา สถานประกอบการ/ โรงงาน นักเรยี น เรียน ฝึกปฏิบัติ ฝกึ งาน รกั ษาวนิ ยั 2.5 หลักสตู รการศกึ ษาสาขาวิชาชีพ รฐั บาลกลาง กำหนดนโยบาย รฐั บาลของรัฐ กำหนดหลกั สตู ร และ สภาหอการคา้ ควบคมุ มสี ่วนร่วม ในการจดั ทำหลักสูตร ควบคุมคุณภาพ การฝึกงาน สถานศกึ ษา จดั การเรียนการสอน ตามหลักสูตรและ สอนเด็กภาคทฤษฎี สถานประกอบการ จดั ครูฝกึ และรบั นักเรียน โรงงาน ไปฝึกงาน 217 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี ตารางท่ี 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกนิ การ หน่วยงาน องค์ประกอบของรปู แบบ ผู้ดำเนินการ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ควบคุมวินยั ใหค้ วามรว่ มมือกับ สถานศกึ ษาและ สถานศึกษา/ โรงงาน นกั เรยี น เรียน ฝกึ ปฏิบัติ ฝึกงาน 3. แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 3.1 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในโรงเรียนอนบุ าล รัฐบาลของรัฐ กำหนดนโยบาย สถานศกึ ษา ใหค้ ำปรึกษา และควบคุม จัดทำแนวทาง ชุมชน สังคม เสริมสรา้ งวนิ ยั ท่โี รงเรียนประสานงาน พอ่ แม่ กบั ผปู้ กครอง และประเมนิ ผล ดแู ล เสรมิ สร้างวนิ ัย ทีบ่ า้ น ใหค้ วามรว่ มมอื กบั โรงเรียน ผู้ปกครอง เรยี นรู้ ฝกึ ปฏบิ ัติวินัย เดก็ 3.2 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในโรงเรียนประถมศกึ ษา รัฐบาลของรัฐ กำหนดนโยบาย สถานศกึ ษา ให้คำปรึกษา และควบคุม พ่อแม่ ผปู้ กครอง จัดทำแนวทาง เสริมสร้างวนิ ยั ทีโ่ รงเรยี น ประสานงาน กบั ผู้ปกครอง และประเมนิ ผล ชมุ ชน สังคม เสรมิ สร้างวินยั ทบ่ี ้าน ใหค้ วามรว่ มมือ กบั โรงเรียน 218 รปู แบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินยั ในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตารางที่ 7 (ต่อ) องคก์ าร การดกำลเ นไกิน การ หน่วยงาน ผดู้ ำเนินการ องค์ประกอบของรูปแบบ เดก็ เสริมสร้างวนิ ัยในชมุ ชน สังคมในลกั ษณะ ของสมาคม/สโมสร กำกบั ดแู ล เรียนรู้ ร่วมกจิ กรรม ชมุ ชน ปฏิบตั จิ นเปน็ นิสัย รฐั บาลของรฐั กำหนดนโยบาย 3.3 แนวทางและกระบวนการเสริมสรา้ งวินัยในโรงเรยี น ให้คำปรึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และควบคุม สถานศึกษา จดั ทำแนวทาง เสรมิ สรา้ งวนิ ยั ทโ่ี รงเรียน ประสานงาน กบั ผูป้ กครอง และประเมนิ ผล พอ่ แม่ ผู้ปกครอง เสรมิ สรา้ งวินัยท่ีบ้าน ให้ความรว่ มมือกบั โรงเรียน ชุมชน สังคม เสรมิ สร้างวินัยในชมุ ชน สังคมในลักษณะ ของสมาคม/สโมสร สถานประกอบการ กำกบั ดูแล โรงงาน เสรมิ สร้างวินัยในระหวา่ ง และสภาหอการคา้ การฝึกงาน ทดสอบภาคปฏิบตั ิ เรยี นรู้ รว่ มกิจกรรม ชุมชน เดก็ และเยาวชน เรยี นรู้วนิ ยั ในระหวา่ ง ฝกึ งาน ปฏิบตั ิ จนเปน็ นิสยั 219 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี ตารางท่ี 7 (ตอ่ ) องคก์ าร การดกำลเ นไกิน การ หน่วยงาน องคป์ ระกอบของรูปแบบ ผดู้ ำเนินการ 3.4 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในโรงเรยี น รฐั บาลของรัฐ กำหนดนโยบาย มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถานศึกษา ให้คำปรึกษา และควบคมุ จดั ทำแนวทาง เสริมสรา้ งวินัยทีโ่ รงเรียน ประสานงานกับ ผ้ปู กครอง และ ประเมินผล พ่อแม่ ผู้ปกครอง เสรมิ สร้างวินยั ท่บี า้ น ใหค้ วามรว่ มมอื กบั โรงเรยี น ชมุ ชน สงั คม เสริมสร้างวินยั ในชุมชน สังคมในลักษณะของ สมาคม/สโมสร สถานประกอบการ กำกบั ดแู ล โรงงาน เสรมิ สรา้ งวนิ ยั และสภาหอการค้า ในระหวา่ งการฝกึ งาน (ถ้ามี) ทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ เรียนรู้ ร่วมกจิ กรรม ชมุ ชน เยาวชน รักษาวินยั ในระหว่าง ฝกึ งาน (ถา้ ม)ี ปฏบิ ัติ จนเปน็ นิสัย 3.5 แนวทางและกระบวนการเสรมิ สร้างวินัยในโรงเรียนสาขาวิชาชีพ รฐั บาลของรฐั กำหนดนโยบาย ใหค้ ำปรกึ ษา และควบคุม สถานศึกษา จดั ทำแนวทาง เสริมสรา้ งวินัยทโี่ รงเรียน ประสานงานกบั ผู้ปกครอง และ ประเมินผล 220 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี ตารางที่ 7 (ตอ่ ) องคก์ าร การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน องคป์ ระกอบของรปู แบบ ผดู้ ำเนินการ พ่อแม่ ผ้ปู กครอง เสริมสรา้ งวินยั ท่บี ้าน ให้ความรว่ มมือ กับโรงเรียน ชมุ ชน สังคม เสรมิ สร้างวนิ ัยในชุมชน สังคมในลักษณะ ของสมาคม /สโมสร สถานประกอบการ กำกบั ดแู ลเสรมิ สรา้ งวนิ ยั โรงงาน ในระหวา่ งการฝึกงาน (ถ้ามี) และสภาหอการคา้ ทดสอบภาคปฏิบตั ิ เรียนรู้ รว่ มกิจกรรม ชมุ ชน เยาวชน รกั ษาวนิ ัยในระหว่าง ฝึกงาน (ถ้าม)ี ปฏบิ ัติ จนเป็นนสิ ัย 4. สภาพความรว่ มมือของทกุ ภาคสว่ นของสังคมในการเสริมสร้าง วินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 4.1 ความร่วมมือจากครอบครวั ในการเล้ียงลกู พ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นตวั อย่างทด่ี ี เสรมิ สรา้ งวนิ ัยทบี่ า้ น ให้ความร่วมมือ กบั โรงเรยี น 4.2 ความร่วมมือในการปลกู ฝงั วินยั ของชุมชน และสงั คม พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ใหค้ วามรว่ มมือ กับชุมชน สังคม ชุมชน สงั คม เสริมสร้างวนิ ัยในชมุ ชน สงั คมในลักษณะของ สมาคม /สโมสร กำกับดแู ล เป็นตวั อยา่ งทด่ี ี 221 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ตารางที่ 7 (ตอ่ ) องคก์ าร การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน องค์ประกอบของรูปแบบ ผดู้ ำเนินการ 4.3 ความรว่ มมือจากผู้ปกครองในการปลูกฝงั วินยั อยา่ งตอ่ เนือ่ ง พอ่ แม่ ผปู้ กครอง เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี ต้งั แต่โรงเรียนอนุบาล โรงเรยี นการศกึ ษาภาคบังคบั เสริมสรา้ งวินัยทบี่ ้าน และโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ให้ความร่วมมอื กบั โรงเรยี น โรงเรียน ประสานงาน ความร่วมมือกบั ผปู้ กครอง 4.4 ความรว่ มมอื ของสภาหอการค้าอุตสาหกรรมและบริษทั โรงงาน สภาหอการค้า ประสานงาน และสถานประกอบการในการปลกู ฝงั วินัยในการทำงาน อตุ สาหกรรม ความรว่ มมือกบั ในการจดั การศึกษาระดับอาชีวศกึ ษา บริษัท/โรงงาน/ สถานประกอบการ บริษทั /โรงงาน/ ประสานงาน สถานประกอบการ ความร่วมมือกับโรงเรียน ปลูกฝงั วินัย ในการทำงาน ใหแ้ ก่นักเรียน 5. สภาพระบบกลไกและความรว่ มมอื ในการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 5.1 การประเมนิ ผลเพือ่ การเลื่อนชั้นจากชัน้ อนบุ าลข้นึ ไปเรียน ครูประจำช้ัน / ศึกษาการปฏิบัติตน ชั้นประถมศกึ ษา โรงเรียน อย่างมีวินัยของนกั เรยี น พ่อแม่ พิจารณาผลการเรียน ของนักเรยี น ใหข้ ้อมูล แกพ่ อ่ แม่ ผ้ปู กครอง ผ้ปู กครอง ใหข้ ้อมูลแก่นกั เรียน 222 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตารางท่ี 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน องค์ประกอบของรูปแบบ ผดู้ ำเนนิ การ 5.2 การรว่ มมอื ระหวา่ งผปู้ กครองและโรงเรยี นในการพฒั นาวนิ ยั นกั เรยี น โรงเรียน เปน็ ตวั อย่างทดี่ ี สอนวนิ ัยนกั เรียน ควบคุม กำกับ ประเมนิ ผล ให้ขอ้ มูล แกพ่ อ่ แมผ่ ปู้ กครอง พอ่ แม่ ผู้ปกครอง เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดี สอนวินัยนักเรยี น ควบคมุ กำกับ ประเมินผล ใหข้ อ้ มูล แก่โรงเรียน ให้ความรว่ มมอื กับโรงเรยี น 5.3 การแกไ้ ขปญั หาทางด้านวินัยเมอ่ื เผชญิ สถานการณย์ ุ่งยาก โรงเรียน ดำเนนิ การตามขั้นตอน ในโรงเรียนภาคบงั คับ พ่อแม่ ผูป้ กครอง ใหค้ วามรว่ มมือกบั ทางโรงเรียน คณะกรรมการ ให้คำปรกึ ษา โรงเรยี น ใหค้ ำแนะนำ ประสานงาน 5.4 มาตรการเมอ่ื มีปญั หาทางวินยั ในโรงเรยี นการศึกษาภาคบงั คับ โรงเรยี น ดำเนินการตามข้ันตอน พ่อแม่ ผปู้ กครอง ใหค้ วามร่วมมือ กบั ทางโรงเรียน คณะกรรมการ ใหค้ ำปรึกษา โรงเรียน ใหค้ ำแนะนำ ประสานงาน ผู้เชีย่ วชาญจาก ให้คำปรกึ ษา รฐั บาลของรฐั แนะนำ ชว่ ยเหลือ 223 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ตารางที่ 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกนิ การ หน่วยงาน ผู้ดำเนินการ องคป์ ระกอบของรูปแบบ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ปฏบิ ัติตาม ขอ้ ควรปฏิบตั ิ 5.5 การปฏบิ ัติของผ้ปู กครองในการสนบั สนุนให้บุตรหลาน ของโรงเรยี น ได้แก ่ ประสบความสำเร็จในการเรยี น 1) การแสดงความสนใจ ตอ่ บตุ รหลาน 2) การสรา้ งแรงจูงใจและ คอยชว่ ยเหลือสนับสนุน 3) สง่ เสรมิ ภาษาและ ประสบการณ ์ แกบ่ ตุ รหลาน และ 4) วางกฎระเบยี บ การใชส้ ือ่ เทคโนโลย ี ใหม่ ๆ โรงเรียน ขึน้ อย่กู บั แนวคิด 6. กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้องกับปจั จยั ทีส่ รา้ ง พอ่ แม่ผู้ปกครอง ทฤษฎที ่โี รงเรยี นเลือกใช ้ ความเขม้ แข็งให้บคุ คลมวี ินยั แบง่ ไดอ้ อกเปน็ 6 กล่มุ ได้แก ่ 6.1 กลมุ่ แนวคดิ ทฤษฎพี ฒั นาการทางความคดิ มี 2 ทฤษฎี ไดแ้ ก ่ 6.1.1 ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของเพยี เจต์ (Piaget) โรงเรียน จัดกจิ กรรมพัฒนา พอ่ แม่ ผปู้ กครอง จริยธรรมของผูเ้ รียน ตามทฤษฎพี ฒั นา การทางจรยิ ธรรม 6.1.2 ทฤษฎพี ัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบริ ก์ (Kohlberg) ของเพยี เจต ์ โรงเรยี น จัดกจิ กรรมพัฒนา พอ่ แม่ ผปู้ กครอง จริยธรรมของผ้เู รียน ตามทฤษฎีพฒั นา การทางจริยธรรม ของโคลก์ เบิร์ก 224 รูปแบบและกลไกการเสริมสร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ตารางท่ี 7 (ตอ่ ) องคก์ าร การดกำลเ นไกนิ การ หนว่ ยงาน องคป์ ระกอบของรปู แบบ ผูด้ ำเนินการ 6.2 กลุ่มแนวคิดจิตพสิ ยั โรงเรยี น จดั กิจกรรมพฒั นา พ่อแม่ ผู้ปกครอง จรยิ ธรรมของผ้เู รยี น ที่มีลักษณะเปน็ กระบวนการทตี่ อ่ เนอ่ื ง กนั ไป เริม่ จากการ ใหบ้ ุคคลมี โอกาสรบั รู ้ และสนใจในเรือ่ งทจี่ ะ ปลูกฝัง มโี อกาส ในการตอบสนองต่อส่งิ ทสี่ นใจ เห็นคณุ ค่าของ ส่งิ ท่ปี ฏิบตั ิ และนำไป ปฏิบตั ิในชีวติ ประจำวนั อย่างสม่ำเสมอ และ การพฒั นาเป็นลกั ษณะ นสิ ยั 6.3 กลุม่ แนวคดิ พฤตกิ รรมนิยม โรงเรยี น จัดกจิ กรรมพัฒนา พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณุ ธรรมจริยธรรมของ ผู้เรยี นโดยตอ้ ง กำหนด พฤติกรรมคุณธรรม จริยธรรม ท่จี ะพัฒนา ใหช้ ดั เจน สามารถวดั และ สงั เกตได้ แลว้ ใชว้ ธิ ีการ คอื การปรบั พฤติกรรม ทอี่ าศัยตัวเสริมแรง หรอื ตวั ลงโทษเปน็ เครื่องมอื ท่สี ำคัญ 225 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี ตารางที่ 7 (ต่อ) องค์การ การดกำลเ นไกิน การ หนว่ ยงาน ผูด้ ำเนินการ องค์ประกอบของรปู แบบ โรงเรียน จัดกจิ กรรมพัฒนา พอ่ แม่ ผู้ปกครอง คณุ ธรรม ของนกั เรียน 6.4 กลุ่มแนวคดิ จติ พฤติกรรมศาสตร์ โดยศกึ ษาสาเหตขุ อง พฤติกรรมตามรปู แบบ ปฏิสัมพนั ธ์นิยมเพื่อทจ่ี ะ ค้นหาลักษณะหรือ ประเภทของพฤติกรรม ไมเ่ หมาะสมศกึ ษาสาเหต ุ ของพฤติกรรมและ ดำเนนิ การแก้ไข ตามสาเหตุ 6.5 กลุ่มแนวคดิ สังคมวทิ ยา สังคม จัดกิจกรรมพฒั นา คุณธรรมจรยิ ธรรม ของนกั เรียน ผ่านตวั แทน ทางสังคมทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ พ่อแม่ ครู เพ่อื น พระหรอื ผู้นำทางศาสนา และสอ่ื มวลชน 6.6 กลุ่มแนวคดิ ทางศาสนา ผนู้ ำศาสนา จัดกิจกรรมพัฒนา คุณธรรมนกั เรียน โดยอาศยั หลักคำสอน ทางศาสนาวธิ กี าร ท่จี ะพัฒนาก็ข้ึนอยู่กบั หลกั คำสอนของแต่ละ ศาสนาวา่ มีสาระสำคญั และมแี นวทางการปฏิบตั ิ อยา่ งไร เพ่ือให้นักเรียน เป็นผ้ทู ม่ี คี ณุ ธรรม 226 รปู แบบและกลไกการเสริมสร้างวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี บรรณานกุ รม ภาษาไทย กาญจนา ศรีกาฬสนิ ธุ.์ (2544). วินยั นกั เรยี น. สารานุกรมศกึ ษาศาสตร์ ฉบบั ท่ี 22. คณะศึกษา- ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. กลุ่มวินัยและเสริมสร้างระบบคุณธรรม กองการเจ้าหน้าท่ี สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์. (2555). รายงานการศึกษา เรื่อง ปัจจัยท่ีมีผลต่อการกระทำผิดวินัย ของข้าราชการสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2560). มาตรฐาน กฎระเบียบ และแนวปฏิบัติที่ใช้ในการพัฒนา อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ ของสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน.ี เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://ecocenter. diw.go.th/index.php/germany/107-Germany กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). หนังสือเด็กพัฒนาชีวิตเพื่อเด็กและเยาวชน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. กรกช วรรณไชย. (2559). รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการมีวินัย ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดขอนแก่น. วารสาร มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี, Supplementary. กระปกุ ดอดคอม. (2017). คำขวญั วนั เดก็ 2560 : ประวัติวันเด็กแห่งชาติ. เข้าถงึ ไดจ้ าก https:// hilight.kapook.com/view/17298 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารแหง่ รัฐเบริ ์น ก. (2013). โรงเรียนอนบุ าล : ข้อมูลสำหรบั ผู้ปกครอง. กระทรวงศึกษาธิการแห่งรัฐเบิร์น ข. (2013). การศึกษาภาคบังคับในรัฐเบิร์น : ข้อมูลสำหรับ ผู้ปกครอง. ขนั คำ เสาร์แกว้ . (2011). การศึกษาสาขาวชิ าชพี Berufsausbildung. นิตยสารดี, 6. 227 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินยั ในสถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี คงศักด์ิ รินทา, ไพศาล วรคำ และปิยธิดา ปัญญา. (2557). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมีวินัยใน ตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษา บึงกาฬ”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการ นำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ (Proceedings) เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎภาคเหนือ คร้ังท่ี 15. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม. คำพี ตรงกลาง. (2551). การศึกษาปัญหาการประพฤติผิดระเบียบวินัยของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท ี่ การศึกษานครราชสีมา เขต 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กลุ . งามตา วนินทานนท์. (2553). ชุดงานวิจัยเพ่ือสร้างดัชนีคุณภาพชีวิตครอบครัวไทยและประยุกต์ ใชผ้ ลการวจิ ยั . วารสารพฤติกรรมศาสตร,์ 16(1), 17-40. จรรยา กุลสุทธิชัย. (2547). การดำเนินงานเสริมสร้างความมีวินัยในตนเองของนักเรียนโรงเรียน บ้านสำโรง (ภิญโญ อนุสรณ์) อำเภอกะสัง จังหวัดสุรินทร์. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ชนาธปิ ทยุ้ แป. (2559). การพัฒนาวนิ ัยในตนเองของนกั เรยี นโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 3. รายงานการวจิ ัยหลกั สตู ร จิตวิทยาความม่ันคงสำหรับผู้บริหารการศึกษา สถาบันจิตวิทยาความม่ันคง สถาบัน วิชาการป้องกันประเทศ. เข้าถึงได้จาก www.ispthai.ac.th/wp-content/uploads/ 2017/1702077spt3.pdf ชาญชยั อาจนิ สมาจาร. (2544). บรรยากาศในชัน้ เรยี นและการจูงใจ. วารสารวชิ าการ, 4(4), 46. ชนาธิป ทุ้ยแป. (2559). การพัฒนาวินัยในตนเองของนักเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัด สำนักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3. งานวิจัยหลักสูตรจิตวิทยา ความม่ันคงสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันวิชาการ ปอ้ งกนั ประเทศ. ชุมพล เที่ยงธรรม. (2548). คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของประเทศ เยอรมัน. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์สง่ เสรมิ และพฒั นาพลังแผ่นดินเชิงคณุ ธรรม. ซิวเทียน. (2012). ในเยอรมนั กฎหมายบางอย่าง. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.bloggang.com/ mainblog.php/ 228 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี ซอี ารไ์ อ ก. (2015). ผลสำเรจ็ ในการพัฒนาสติปัญญาเด็กปฐมวัยของเยอรมันตอนต้น. ซีอาร์ไอ ข. (2015). ผลสำเร็จในการพฒั นาสติปญั ญาเดก็ ปฐมวัยของเยอรมนั ตอนจบ. ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). พฤติกรรมศาสตร์ เล่ม 2 จิตวิทยาจริยและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . ดวงเดอื น พนั ธุมนาวนิ . (2539). ทฤษฎีตน้ ไม้จรยิ ธรรม การวิจยั และการพฒั นาบุคคล. กรุงเทพฯ: โครงการสง่ เสรมิ เอกสารวชิ าการ สถาบันพัฒนบรหิ ารศาสตร์. ดุลยา จิตตะยโศธร. (2552). รูปแบบการอบรมเล้ียงดู: แนวคิดของ Diana Baumrind, Diana Baumrind’s Parenting Styles. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย, 29(4), 173-187. แดเนียล บูชเลอร์. (2560). บทสัมภาษณ์ชาวเยอรมันเกี่ยวกับการสร้างเสริมวินัยของนักเรียนใน สถานศึกษาระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน. ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส.์ ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทองพูล ภสู มิ , ศักด์พิ งศ์ หอมหวน และสมบัติ ฤทธเิ ดช. (2554). การพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กรณีศึกษาโรงเรียนแกดำวิทยาคาร สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มหาสารคาม เขต 1. วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม, 5(1), 175-186. ธวัช วิวัฒนปฐพ,ี ประจิตร มหาหงิ , โกศล ศรสี ังข์ และไพโรจน์ พรหมมเี นตร. (2558). รูปแบบ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามโครงการฟ้ืนฟูศีลธรรมโลก จงั หวดั อุดรธานี. สารอาศรมวฒั นธรรมวลัยลกั ษณ.์ ธิดารัตน์ ธนะคำดี. (2552). การพัฒนาแบบวัดความมีวินัยในตนเองสำหรับนักเรียนช่วงช้ันท่ี 2 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1. ปรญิ ญานิพนธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. นภเนตร ธรรมบวร. (2541). บทบาทของครอบครัวกับการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต.ิ 229 รูปแบบและกลไกการเสริมสรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมน ี นัยนา เดชะ. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ตำบลเลมด็ อำเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน.ี วทิ ยานพิ นธห์ ลกั สตู รปรญิ ญาวทิ ยาศาสตร มหาบณั ฑติ . สงขลา: สาขาวิชาการจดั การสงิ่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย. (2549). พระเทพฯ ทรงแนะนำคุณธรรมจริยธรรมสร้างสังคมแห่ง การพฒั นาท่ีย่งั ยืน กรงุ เทพฯ: หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ. นพดล กรรณกิ า. (2559). “โพลชคี้ นไร้วนิ ยั -ฝ่าฝืนกฎจราจร ตวั การรถติด หนนุ เพมิ่ โทษค่าปรบั ให้สูง” ข่าวท่ัวไป สำนักข่าวอินโฟเควสท์. เข้าถึงได้จาก http://www.ryt9.com/s/ iq01/2511678 นดิ ้าโพล. (2559). สถานการณค์ ณุ ธรรมของสงั คมไทย. ผลการสำรวจของนิด้าโพล, เขา้ ถึงได้จาก http://nidapoll.nida.ac.th/index นิติ นวรัตน์. (2554). นิสัยที่คนเยอรมันและฟินน์ได้จากโรงเรียน. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐออนไลน์. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.thairath.co.th/content/ บริษัทเซนทอร่ีจำกัด. (2017). เรียนต่อเยอรมัน ประเทศเยอรมนี เรียนภาษาเยอรมัน. เข้าถึงได้ จาก www.educatepark.com/เรียนตอ่ เยอรมนั . บรรณาธิการนิตยสาระดี. (2010). กฎระเบียบสำหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างเพ่ือนบ้าน (เช่า). นติ ยสารด,ี 2. บุญชม ศรีสะอาด. (2555). วินัยในตนเองและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง. วารสารการวัดผลการศึกษา. 17(1). เบญจมาศ คลิงเลอร.์ (2010). เยอรมน.ี เขา้ ถึงได้จาก http://www.benjamas.de.tl ปาติจจาชน (Patijjachon). (2552). “อ่านนิสยั คนเยอรมนั จากการขา้ มถนน” หนังสือเดอะเนช่ัน ออนไลน.์ กันยายน 2552. ประสิทธิ์ ทองภู. (2014). การดำเนินงานเสริมสร้างวินัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านผือสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2. Graduate Research Conferrence 2014. ประวีณ ณ นคร. (2557). “หนว่ ยที่ 10 วนิ ัยและคณุ ธรรมของข้าราชการ” เอกสารการสอนชุด วิชาการบริหารงานบคุ คลภาครัฐ. นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 230 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมน ี ประหยัด ยางกลาง. (2546). การปฏิบัติงานตามระเบียบวินัยและการส่งเสริมระเบียบวินัยของ นักเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในสังกัดสำนักงาน การประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บรหิ ารการศกึ ษา. บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ปราณี วิธุรวานิชย์. (2542). จริยธรรมกับชีวิต. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ สถาบันราชภัฎ สวนสนุ นั ทา. ณฐั ธีรา สมบรู ณ์. (2552). ผลของการจดั การชัน้ เรียนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทมี่ ตี ่อความ มีวนิ ยั ในตนเองของเด็กปฐมวยั . วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: สาขาวิชา การจดั การการปฐมวยั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฎพระนคร. ญาดา นาเชือก ก. (2010). โรงเรียนประถมศกึ ษา. นติ ยสารดี, 3. ญาดา นาเชอื ก ข. (2010). โรงเรยี นมธั ยมศึกษา ตอนที่ 1. นติ ยสารด,ี 4. ญาดา นาเชือก. (2011). โรงเรียนมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตอนที่ 2. นติ ยสารดี, 5. ญาดา นาเชือก. (2012). การศกึ ษาข้ันอุดมศกึ ษาในเยอรมน.ี เข้าถงึ ได้จาก www.d.magazine, 21-23. ญาณิศา สว่างจิตร. (2555). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนใน โรงเรียนเครือเซนต์ปอลเดอชาร์ต. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหาร การศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฎั เทพสตร.ี ฝ่ายแรงงานประจำสถานเอกอัครราชพูต ณ กรุงเบอร์ลิน. (2558). ระบบประกันสังคมของ เยอรมนี. ขา่ วแรงงาน ลำดับท่ี 35/2558. ฝา้ ย. (2014). 7 ปใี ตป้ กี อนิ ทรยี เ์ หลก็ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://chronicleofphaiy.blogspot.com/ พนัส หันนาคนิ ทร.์ (2542). การสร้างเสรมิ ลักษณะนสิ ยั . กรงุ เทพฯ: แม็คการพิมพ.์ พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ. (2558). วนิ ยั คอื พน้ื ฐานความสำเร็จ. หนงั สือ “ทันโลกทันธรรม 2” เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.kalyanamitra.org/th/article_detail.php พระมหาสายัณห์ วงศ์สุรนิ ทร,์ บญุ เรือง ศรีเหรญั และอษุ า คงทอง. (2558). การพฒั นารูปแบบ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อพัฒนาความมีวินัยของนักเรียน มัธยมศึกษาในรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. สักทอง: วารสาร มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ (สทมส.), 21(3). 231 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมน ี พระมหาอาจริยพงษ์ คำตั๋น. (2554). การปฏิบัติตนด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพ้ืนฐานทางการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร. พชิ ิต ฤทธจิ์ รูญ. (2537). เทคนคิ การปกครองนกั เรยี น. สารพัฒนาหลักสตู ร 2(2), 26-27. พนิ โย พรมเมอื ง,ปราณี คืมยะราช และทองคำ เกษจนั ทร์. (2559). รายงานวิจัย เรือ่ ง การพัฒนา พฤติกรรมเชิงคุณธรรมจริยธรรมของตัวแทนผู้นำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ เยาวชนในสถานศึกษาโดยใช้ KIT MODEL. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดิน. พรทิพย์ มูลประการ. (2552). การติดตามพฤติกรรมทางสังคม หลังการเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสันป่าตองวิทยาคม จังหวัด เชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ และคณะ. (2545). รายงานการวิจัย เร่ือง การศึกษารูปแบบ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของคนไทยกับกระบวนการทางสังคมประกิตของ ครอบครวั ในปัจจบุ ันทีเ่ อื้อตอ่ การพฒั นาประเทศ. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. พรรณรุจี สะอาด. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาวินัยนักเรียนของโรงเรียนบ้านแก้ว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. พ่อบ้านเยอรมัน. (2017). แนวทางการเลี้ยงลูกแบบคนเยอรมัน. เข้าถึงได้จาก https:// phorbangerman.com เพ็ญแข ประจนปัจจนึก. (2551). การยกระดับคุณธรรม จริยธรรมของสังคมไทยเพื่อการปฏิรูป: แนวทางและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ. ไพศาล มั่นอกและไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมใน การ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็ก: กรณีศึกษาของ นักเรยี นโรงเรียนวเิ ศษชยั ชาญวทิ ยาคม. วารสารสทุ ธปิ ริทศั น์, 28(88), 99-117. เฟ่ืองอรุณ ปรีดีดิลก. (2555). การพัฒนาท่ีย่ังยืนในวิถีชีวิตชาวเบอร์ลิน. วารสารพฤติกรรม- ศาสตร์, 18(2). แฟรงค์ (นามสมมติ). (2560). บทสัมภาษณ์ชาวเยอรมันเกี่ยวกับการสร้างเสริมวินัยของนักเรียน ในสถานศึกษาระดบั อาชวี ศกึ ษา. 232 รปู แบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี มันนฮ่ี บั (MoneyHub). (2015). มองเศรษฐกิจต่างประเทศ ตอน เศรษฐกิจของเยอรมัน. เขา้ ถึง ได้จาก https://moneyhub.in.th/article/germany-economic/ มันน่ีฮับ (MoneyHub). (2016). ความมีวินัยคนในชาติ ส่งผลต่อเศรษฐกิจในประเทศอย่างไร. เข้าถึงได้จาก https://moneyhub.in.th/article/discipline-germany/ แมล่ กู สอง ก. (2010). โรงเรียนอนุบาล ตอนที่ 1. นติ ยสารด,ี 1. แมล่ ูกสอง ข. (2010). โรงเรยี นอนบุ าล ตอนท่ี 2. นติ ยสารด,ี 1. ยุภา เกิดศิริ. (2558). การพัฒนาแบบวัดความมีวินัยในตนเองสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ของ โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี. วิทยานิพนธ ์ ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิจัยประเมนิ ผลการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ .ี รุ่งฤดี กล้าหาญ, ดวงเดือน ศาสตรภัทร และพันเอกหญิงสายสมร เฉลยกิตติ. (2558). รายงาน วิจัย เร่ือง การพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินพฤติกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายของไทยในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน). แรบบิด ไฟแนนซ์ (Rabbit Finance). (2560). ล้วงความลับคนเยอรมันทำงานน้อยและได้ งานมาก. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://today.line.me/th/pc/article/ รณวรี ์ พาผล. (2556). การพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ความม่ันคงทางอารมณ์ เพือ่ การบริโภคสอ่ื และข่าวสารอย่างชาญฉลาดของเยาวชนในแขวงนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. รายงาน การวจิ ัย มหาวิทยาลยั ราชภฎั เชยี งใหม่. วิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี. (2017). เยอรมนั . เข้าถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/ วีณา ประชากูล. (2549). รายงานการวิจัย เร่ือง การพัฒนาพฤติกรรมเชิงจริยธรรมด้านความ มวี นิ ัยของนักเรยี นระดับประถมศกึ ษา. ศนู ย์วิจัยและพฒั นาแผน่ ดินเชิงคณุ ธรรม. ศศมิ า สขุ สวา่ ง. (2012). ระบบการศกึ ษาในเยอรมน.ี เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://dtan.thaiembassy.de/ sonderartike สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรุงเบอร์ลนิ . (2552). อย่เู ยอรมน:ี ค่มู อื สำหรับคนไทยฉบบั กระเป๋า. สถาบันเกอเธ่. (2560). เร่ิมต้น-ใช้ชีวิตในประเทศเยอรมนี. เข้าถึงได้จาก http://www. goethe.de/lrn/wnd/idl/grl/thindex.htm สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). ความร ู้ เบ้ืองตน้ สะเต็ม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. 233 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมน ี สมปอง ภักดีกิจ. (2552). การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียน บ้านทุ่งบก อําเภอจุฬาภรณ์สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีการศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช. สุวิมล ว่องวาณิชและคณะ. (2549). รายงานวิจัยโครงการเร่งสร้างคุณลักษณะที่ดีของเด็ก และเยาวชนไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนยค์ ณุ ธรรม) และสำนักงานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องค์การมหาชน). เสน่ห์ จามริก. (2017). German PBS Series (1) “สหพันธรัฐ: ระบบประชาธิปไตยใน โครงสรา้ ง”. สถาบนั ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ พฒั นา. สิริกร สนิ สม. (2558). ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อความมีวนิ ยั ในตนเองของนักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนนทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์. สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ และศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณ. (2552). การส่งเสริมคุณธรรมท่ีมี ประสิทธิภาพ: กรณีศึกษากลุ่มเด็ก/เยาวชนและข้าราชการภาครัฐ. รายงานการวิจัย กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม. สุขมุ คำแหง, ปรญิ ญา ทองสอน และผลาดร สุวรรณโพธ.ิ์ (2555). การพัฒนาหลักสูตรฝกึ อบรม คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3: กรณีศึกษาโรงเรียน มกุฎเมืองราชวิทยาลัย จังหวัดระยอง. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย บรู พา, 6(1), 62-73. สุเทพ แสวงธรรม. (2553). การบริหารการประพฤติผิดวินัยของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์. สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ และศศิกาญจน์ ทวิสุวรรณ (2552). การส่งเสริมคุณธรรมที่มี ประสิทธิภาพ: กรณีศึกษากลุ่มเด็ก/เยาวชนและข้าราชการภาครัฐ. รายงานการวิจัย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. เสรี พงศ์พศิ . (2558). “มีวินยั แพง แตไ่ มม่ วี นิ ยั แพงกวา่ ”. หนงั สือพมิ พส์ ยามรฐั ออนไลน์ วนั ที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2558. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.phongphit.com 234 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของประเทศสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาต.ิ (2010). รฐั ธรรมนูญสหพันธส์ าธารณรัฐเยอรมัน แปลจาก The Basic Law of the Federal Republic of Germany (revised edition : 31 December 1961) by German Information Center. ลิขสิทธ์ิภาษาไทยเป็นของ สำนักงานคณะกรรมการการวจิ ยั แหง่ ชาต.ิ สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา. (2558). คมู่ ือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2557. นนทบุรี: ห้างหุน้ ส่วนจำกัดภาพพมิ พ.์ สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน และสำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ณ นครแฟรงก์เฟิร์ต. (2559). ข้อมูลประเทศเยอรมนี (Country Profile) ประจำปี 2559. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). รายงานการวิจัยประเมินผล คุณธรรม 8 ประการของผ้เู รียน: เจตคตแิ ละพฤตกิ รรม. กรงุ เทพฯ: บริษทั เพลนิ สตูดโิ อ จำกัด. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). รายงานผลการประเมินการ บังคับใช้กฎหมายการศึกษาและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายการศึกษาให้สอดคล้องและ สนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาของชาติ ปีงบประมาณ 2559. กรุงเทพฯ: สำนักงาน เลขาธกิ ารสภาการศึกษา. หนูพัด ลูกพ่อเพิ่ม. (2012). “เยอรม้าน เยอรมัน: ความเป็นเยอรมันท่ีเห็นได้”. เร่ืองดีจากปก. นติ ยสารดี, 10. อรชร. (2010). “เรอ่ื งของขยะ”. นิตยสารดี, 2. อัญชิสา สุรีย์แสง. (2553). การใช้กิจกรรมพัฒนาความมีวินัยในตนเองของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนอรุณประดิษฐ์ จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา จติ วทิ ยาและการแนะแนว บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. อาจรยิ พงษ์ คำตนั๋ . (2554). การปฏบิ ัติตนด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทพี่ ึงประสงคข์ อง นักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร- มหาบัณฑติ . นครปฐม: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ออ้ มเดอื น สดมณี และฐาศกุ ร์ จนั ประเสริฐ. (2554). การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม: จากแนวคิด สแู่ นวทางปฏิบตั ิ. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 17(1). 235 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สรา้ งวินัยในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานของประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ภาษาอังกฤษ Amarin Baby & Kids. (2015). Way of raising kids. Retrieved, from http:// amarinbabyandkids.com/family-news/german-way-of-raising-kids/. Hurlock, Elizabeth B. (1984). Child Development. New York: McGraw-Hill. Ryan, Kevin. (2015). Character education. Retrieved, from https://www.scu.edu/ character/resources/the-six-es-of-character-education. Textor, Martin R. (2005). Elementary Education in Germany. Retrieved, from https://eric.ed.gov/?id=ED490577. Tauber. (2007). Classroom Management: Sound Theory and Effective Practice. Greenwood Publishing Group. Willkommen, H. (2007). กฎหมายเยอรมัน. Retrieved, from www.koosangkoosom. com/home. คลิปวิดที ศั น ์ ปวีณา สิงห์บูรณา ก. (2558). รายการโลก 360 องศา ชุดเยอรมนี ตอน “สร้างชาติด้วย การศกึ ษา สรา้ งการพัฒนาดว้ ยทุนมนษุ ย์” ปวีณา สงิ ห์บูรณา ข. (2558). รายการโลก 360 องศา ชุดเยอรมนี ตอน “Developing Science and Technology for the nation” ปวณี า สงิ ห์บรู ณา ค. (2558). รายการโลก 360 องศา ชดุ เยอรมนี ตอน “Dual System: When education and industry come to collaboration” ปวีณา สิงห์บูรณา ง. (2558). รายการโลก 360 องศา ชุดเยอรมนี ตอน “เท่ียวเพลินเดินชม Mannheim: City of the squares” QLF Thailand. (2556). รายการตน้ แบบการจดั การศกึ ษา: เยอรมน.ี Retrieved, from https:// www.youtube.com/watch?v=ZulqU7o1d_Y Jajar Mekatz. (2560). 10 ข้อห้าม อย่าทำในเยอรมนี. Retrieved, from https://www. youtube.com/watch?v=RzaGSu6AGBA 236 รูปแบบและกลไกการเสรมิ สร้างวินยั ในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของประเทศสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี Exchast Channel A. (2559). พราวบ้าพาทัวร์โรงเรียน : เรื่องท่ีตอ้ งร้เู กี่ยวกบั โรงเรียนที่เยอรมนั และยุโรป. Retrieved, from https://www.youtube.com/watch?v= nlkz9TA1b5c Exchast Channel B. (2559). พราวบ้าพาทัวร์โรงเรียน: โรงเรียน high school ท่ีเยอรมัน. Retrieved, from www.learningenglishvideo.info/video/germany-high.../ edn_8Jr-YA 237