ประว ต ศาสตร ชาต ไทย ม อะไรบ าง

ชือ่ กลมุ ผเู รยี น................................................ชนั้ .....................แผนกวชิ า...................................

ขอท่ี รายการประเมิน/หวั ขอ ประเมนิ ระดบั คะแนน ๑ การวางแผนกระบวนการทาํ งาน ๔๓๒๑ ๒ การแบง หนา ทก่ี ารปฏิบัติงานตามกจิ กรรม ๓ การมีสวนรว มของสมาชิกในการปฏบิ ัตงิ าน ๔ การปฏิบัตงิ านตามระยะเวลาท่กี ําหนด ๕ การนาํ เสนอผลการปฏบิ ตั ิงาน

รวม

(.............................................................) ผูประเมิน

ตัวอยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวิชาประวัตศิ าสตรชาตไิ ทย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

เกณฑการใหระดบั คะแนนการสงั เกตการปฏิบตั ิงานและการนาํ เสนอ รายการประเมิน เกณฑพ ิจารณาใหค ะแนน ๔๓๒๑ ๑. การวางแผน มกี ารกําหนด มกี ารกาํ หนด มกี ารกาํ หนด มีการกําหนด กระบวนการ กจิ กรรมการปฏิบตั ิ กิจกรรมการปฏบิ ัติ กิจกรรมการปฏิบัติ กิจกรรมการปฏิบตั ิ ทํางาน ไวชัดเจน ไวชัดเจน ไวชดั เจนแตไ ม ไวแตไ มช ดั เจน ไม ตามลําดับข้ันตอน ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอน ตามลาํ ดับขน้ั ตอน ตามลาํ ดับข้นั ตอน และตรงตาม แตไมต รงตาม และไมตรงตาม และไมตรงตาม วัตถุประสงค วตั ถปุ ระสงค วัตถุประสงค วัตถุประสงค ๒. การแบง หนาที่ มกี ารกาํ หนด มกี ารกําหนด มกี ารกาํ หนด มกี ารกาํ หนด การปฏิบัตงิ าน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ตามกิจกรรม บทบาทหนา ท่ี บทบาทหนา ท่ี แตก าํ หนดบทบาท ยงั ไมชดั เจน ชดั เจนและแบง ชดั เจนแตแ บง หนา ท่ไี มช ดั เจน กาํ หนดบทบาท หนา ที่รับผดิ ชอบ หนา ทีร่ ับผดิ ชอบ และแบงหนา ท่ี หนา ทไี่ มช ัดเจน ครบทุกคน ไมค รบทกุ คน รบั ผิดชอบไมค รบ และแบง หนา ท่ี ทกุ คน รบั ผิดชอบไมค รบ ทุกคน ๓. การมีสวนรว ม มกี ารเปดโอกาสให มีการเปดโอกาสให มกี ารเปดโอกาสให สมาชกิ ในกลุมบาง ของสมาชกิ ใน ทุกคนในกลุมรว ม ทกุ คนในกลมุ รวม ทกุ คนในกลุมรวม คนรว มแสดงความ การปฏิบตั งิ าน แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคิดเห็น คิดเหน็ และไม รวมตัดสนิ ใจและ รว มตัดสินใจแตไ ม แตไมร วมตดั สนิ ใจ รว มตัดสนิ ใจและ รว มสรปุ ผล มีสว นรวมสรุปผล และไมม ีสว นรวม ไมม ีสว นรวม สรุปผล สรปุ ผล ๔. การปฏิบตั ิงาน งานเสรจ็ เรียบรอย งานเสร็จเรยี บรอย งานเสร็จเรยี บรอ ย งานเสร็จแตไ มค อย ตามระยะเวลา สมบูรณ ครบถว น สมบูรณ ครบถว น แตไมคอยสมบรู ณ เรยี บรอ ยไม ท่ีกําหนด ภายใน แตเ สร็จหลงั และเสร็จหลงั สมบรู ณแ ละเสร็จ กําหนดเวลา กาํ หนดเวลา กําหนดเวลา หลงั กําหนดเวลา ๕. การนาํ เสนอผล พดู ไดต รงประเดน็ พดู ไดต รงประเดน็ พดู ไดตรงประเด็น พูดไดต รงประเดน็ การปฏบิ ัติงาน ครอบคลมุ ทกุ ครอบคลุมทกุ ครอบคลุมทุก แตไ มครอบคลมุ ทุก หวั ขอ พูดไดตาม หัวขอ พูดไดต าม หวั ขอ แตพดู ไม หัวขอ พูดไมเปนไป หลกั ภาษา เสยี งดงั หลักภาษา แตเสียง เปนไปตามหลกั ตามหลกั ภาษา ชดั เจน ไมค อ ยดงั ภาษา และเสียงไม และเสียงไมคอ ยดัง คอ ยดัง

ตัวอยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๐

แบบประเมนิ ผลงาน กิจกรรมที่ ๑.๑

วนั ท.ี่ ...........เดือน............................พ.ศ................ เวลา................น. ถึง เวลา................น. ช่อื กลมุ ผเู รียน................................................ชั้น.....................แผนกวิชา...................................

ขอท่ี รายการประเมิน/หัวขอประเมนิ ระดับคะแนน ๑ หัวของานวจิ ัยทางประวตั ิศาสตร ๓๒๑ ๒ ขน้ั ที่ ๑ การกาํ หนดเปา หมาย ๓ ข้นั ท่ี ๒ การคนหาและรวบรวมหลกั ฐาน ๔ ขั้นท่ี ๓ การวิเคราะหห ลักฐาน ๕ ขน้ั ที่ ๔ การสรปุ ขอเท็จจรงิ ๖ ข้นั ที่ ๕ การนําเสนองานวิจัยทางประวัติศาสตรท ีศ่ ึกษา

รวม

(.............................................................) ผูประเมนิ

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑

เกณฑก ารใหร ะดับคะแนนการการตรวจผลงาน

รายการประเมนิ เกณฑพจิ ารณาใหคะแนน หวั ของานวิจยั ทาง ๓ ๒๑ ประวตั ศิ าสตร กาํ หนดหวั ขอ ชัดเจนและ กําหนดหัวขอ ชดั เจนแต กาํ หนดหัวขอไม ข้นั ที่ ๑ การกําหนด ลาํ ดบั กอนหลงั ไมลาํ ดบั กอ นหลัง ชัดเจน เปาหมาย มกี ารกําหนดเร่ืองที่ มกี ารกําหนดเรอื่ งท่ี มกี ารกําหนดเรื่องที่ ศึกษา ระบุชว งเวลา ศึกษา ระบุชว งเวลา ศกึ ษา ระบุชว งเวลา ขัน้ ที่ ๒ การคนหาและ ระบุสมยั และสาเหตุของ ระบุสมยั แตไ มระบุ แตไมระบสุ มยั และไม รวบรวมหลกั ฐาน การศกึ ษา สาเหตุของการศึกษา ระบุสาเหตุของ การศึกษา ขน้ั ท่ี ๓ การวิเคราะห มีการระบุข้นั ตอนการ มีการระบุขัน้ ตอน มีการระบุขั้นตอน หลกั ฐาน คนควา ขอมลู และ คน ควาขอมลู แตไมระบุ คน ควาขอมูลแตไ ม ขน้ั ท่ี ๔ การสรปุ รวบรวมขอ มูลขัน้ ตน ขั้น การรวบรวมขอ มูล ชัดเจน ระบุการ ขอเทจ็ จรงิ รอง ข้ันตนข้นั รอง รวบรวมขอมูลข้นั ตน ขั้นที่ ๕ การนาํ เสนอ ข้นั รองไมเปน ไปตาม งานวจิ ยั ทาง ขนั้ ตอน ประวตั ิศาสตรท ศ่ี กึ ษา วเิ คราะหหลักฐานตาม วิเคราะหหลกั ฐานตาม วิเคราะหห ลกั ฐานตาม เปา หมายไดค รบถวนได เปาหมายไดครบถวน เปาหมายไมครบถว น ชัดเจน แตไ มช ัดเจน และไมช ดั เจน สรปุ ผลการวิเคราะห สรุปผลการวิเคราะห สรปุ ผลการวิเคราะห หลักฐานตามเปา หมาย หลักฐานตามเปา หมาย หลกั ฐานตาม ไดค รบทกุ ขอ และ ไดครบทุกขอ แตไม เปาหมายไมครบทกุ ชัดเจน ชดั เจน ขอ และไมชดั เจน มกี ารนําเสนอเรอ่ื งท่ี มีการนําเสนอเร่อื งท่ี มีการนาํ เสนอเร่ืองที่ ศึกษาและสรปุ ศกึ ษาและสรปุ ศึกษาแตไ มส รุป ขอเทจ็ จริงจากการ ขอเทจ็ จริงจากการ ขอเท็จจริงจากการ วิเคราะหตามเปา หมาย วเิ คราะหตามเปาหมาย วิเคราะหต าม ตามลาํ ดบั ขนั้ ตอน แตไ มตามลาํ ดบั ขั้นตอน เปา หมายและไม ตามลาํ ดบั ข้ันตอน

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรช าตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒ การเมือง การปกครองของไทย ๑๒

หนวยการเรียน เรื่องการเมืองและการปกครองของไทยใชเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู จาํ นวน ๓ ชัว่ โมงในการศกึ ษาเปรียบเทียบการเมืองและการปกครองไทยสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ รตั นโกสินทร เก่ียวกับ การดํารงความเปนชาติไทย ระบอบการปกครอง ความเสียสละและวีรกรรมของ บรรพบุรุษไทยที่มีสวนปกปองประเทศชาติ รวมถึง พระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริยไทยทางดาน ความสัมพันธร ะหวางประเทศ สาระสาํ คัญ

การเมือง (Politics) หมายถึงความเกี่ยวพันกับอํานาจ และอํานาจทางการเมืองจะตองแตกตาง จากอํานาจอื่น องคกรทางการเมือง จะตองมีอํานาจปกครองเปนอธิปตย คุณลักษณะทางการเมือง ประกอบดวยปจจัยท่ีเดนชัด ๒ ประการ คือ อํานาจ (Authority) และการปกครอง (Ruling) (จรูญ สุภาพ, ๒๕๑๔ : ๒)

การปกครอง (Governments) หมายถึงการใชอาํ นาจอธิปไตยตามกฎหมายในการบรหิ าร และ การจดั การประเทศ งานประจาํ หนวยการเรียนรู

วิเคราะหจดุ เดนและขอจํากัดของการเมืองการปกครองของไทยแตละสมัย สมรรถนะประจําหนว ยการเรยี นรู

๑. แสดงความรูเ กย่ี วกบั เหตกุ ารณท างประวัติศาสตรชาติไทย ในดานการเมือง และการปกครอง ของไทยในแตล ะสมัย

๒. วเิ คราะหเ ปรียบเทียบดานการเมอื งและการปกครองของไทยในแตล ะสมัย จดุ ประสงคการเรียนรู

๑. บอกถึงเหตุการณทางการเมืองและการปกครองในประวตั ิศาสตรชาตไิ ทยแตล ะสมัยได ๒. อธบิ ายพัฒนาการทางการเมอื งและการปกครองในประวัตศิ าสตรชาตไิ ทยแตละสมัยได ๓. ลาํ ดบั เหตกุ ารณก ารเมืองและการปกครองของไทยไดถูกตอ ง ๔. วิเคราะหเ ปรยี บเทยี บเหตกุ ารณท างการเมอื งและการปกครองของประวัติศาสตรไทยในแตละ

สมัยได

ตัวอยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓

สาระการเรยี นรู การเมือง (Politics)หมายถึงความเก่ียวพันกับอํานาจ และอํานาจทางการเมืองจะตองแตกตาง

จากอํานาจอื่น องคกรทางการเมือง จะตองมีอํานาจปกครองเปนอธิปตยคุณลักษณะทางการเมือง ประกอบดวยปจจัยท่ีเดนชัด ๒ ประการ คือ อํานาจ (Authority) และการปกครอง (Ruling) (จรูญ สภุ าพ ๒๕๑๔ : ๒)

การปกครอง (Governments) หมายถึงการใชอํานาจอธิปไตยตามกฎหมายในการบริหารและ การจัดการประเทศ การปกครองของไทยมีวิวัฒนาการการเปล่ียนแปลงมาเปนลําดับขั้น ตามสมัย ต้ังแต สมัยสุโขทัยตอนตน มีการปกครองแบบพอปกครองลูก ตอมาเม่ือมีประชากรเพิ่มมากข้ึน จึงเปล่ียนเปน การปกครองแบบธรรมราชา ในสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) สวนสมัยอยุธยาปกครอง ดวยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มีสถาบันพระมหากษัตริยเปนหลักสําคัญในการปกครองอาณาจักร สว นการจัดรปู แบบการปกครองและการจดั ระเบยี บการควบคุมกําลังคน ยดึ หลักการรวมศนู ยอ าํ นาจเขา สู ราชธานี ซ่ึงรูปแบบนี้ใชมาถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทรตอนตน และ ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ แหง รัตนโกสินทร ไดปฏิรูปการปกครองประเทศเพ่ือปองกันการคุกคามจากชาติมหาอํานาจตะวันตก มีการ รวมอํานาจเขาสูสวนกลางมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อใหชาติตะวันตก อางเอาดินแดนไปยึดครอง โดยยกเลิก จตุสดมภ และใชการบริหารงานแบบกระทรวงตามแบบตะวันตก ยกเลิกหัวเมืองช้ันเอก โท ตรี จัตวา และหวั เมืองประเทศราช การปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล โดยใหขึ้นตรงตอกระทรวงมหาดไทย และ เริ่มตนใหมีการปกครองสวนทองถิ่น โดยการตั้งสุขาภิบาล จนกระท่ังถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ ไดมี การเปล่ียนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธปิ ไตย สมัยสุโขทัย

อาณาจกั รสโุ ขทยั เปนอาณาจักรของคนไทยท่ไี ดรับการสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. ๑๗๙๒ กอนหนาท่ีจะ มีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยข้ึนมานั้น สุโขทัยเปนเมืองเกาแกท่ีมีความเจริญรุงเรืองมากอนจากการ ตีความในศิลาจารึกหลักที่ ๒ (วัดศรีชุม) พอจะสรุปความไดวา เมืองสุโขทัยแตเดิมมีผูนําคนไทยชื่อ พอ ขุนศรีนาวนําถุมเปนเจา เมอื งปกครองอยู เมือ่ พระองคส ้ินพระชนม ขอมสบาดโขลญลําพง ขุนนางขอมได นํากําลังเขา ยดึ กรงุ สโุ ขทยั ไวได

เมื่อพวกขอมเร่มิ เส่ือมอํานาจลง ในป พ.ศ. ๑๗๘๐ ไดมีผูนํา ๒ ทาน คือ พอขุนบางกลางหาวและ พอขุนผาเมือง ซ่งึ เปน ผูน าํ คนไทยไดร ว มมอื กนั รวบรวมกําลังเขาขับไลขอมออกจากดินแดนแถบน้ีและต้ัง ตนเปนอิสระ พรอมกับสถาปนากรุงสุโขทัยเปนราชธานีของอาณาจักรไทยและไดสถาปนาพอขุนบาง กลางหาวขึ้นเปนกษัตริยปกครองกรุงสุโขทัยทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตยนับเปนปฐมกษัตริย แหง ราชวงศสุโขทัยหรอื ราชวงศพระรว ง นบั ตงั้ แต พ.ศ. ๑๗๙๒ เปนตน มา

ระยะเร่มิ ตนการสถาปนากรุงสุโขทยั เปน ราชธานี โดยเฉพาะสมัยพอขุนศรีอินทราทิตย บานเมือง ยังไมมั่นคงมากนัก คนไทยยังอยูกันอยางกระจัดกระจาย บางเมืองยังคงมีอิสระในการปกครองตนเอง

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๔

ไมมีการรวมอํานาจไว ณ ศูนยกลางเมืองใดเมืองหน่ึงโดยตรง บางคร้ังจึงมีการทําสงครามกันเพ่ือแยงชิง อาํ นาจและขยายอาณาเขตของเมอื ง เชน ขนุ สามชนเจา เมอื งฉอดไดยกทพั มาตีเมืองตาก

เมื่อสิ้นรัชสมัยของพอขุนศรีอินทราทิตย พระราชโอรสองคใหญ คือ พอขุนบานเมือง ไดข้ึน ครองราชย สมัยนี้สุโขทัยไดขยายอํานาจทางการเมืองดวยการทําสงครามกับหัวเมืองตาง ๆ โดยมีพระ อนชุ า คือ พระรามคําแหง เปนกําลังสาํ คัญ ซง่ึ ตอมาพระองคไ ดขนึ้ ครองราชยส บื ตอจากพอขุนบานเมือง

ในสมัยพอขุนรามคําแหง พระองคทรงเปนแมทัพไปปราบเมืองตาง ๆ จนเปนท่ีเกรงขามของ อาณาจกั รอนื่ ๆ ดงั นั้นเมอ่ื พระองคข้นึ ครองราชยจึงมหี ลายเมืองท่ียอมออนนอมเขารวมอยูกับอาณาจักร สุโขทัย โดยพอขุนรามคําแหงมหาราชมิไดสงกองทัพไปรบ ไดแก เมืองหงสาวดี เมืองสุพรรณบุรี เมือง เพชรบุรี เมืองราชบุรี เมืองหลวงพระบาง เมืองเวียงจันทน และเมืองนครศรีธรรมชาติ ทําใหอาณาจักร สุโขทยั มีอาณาเขตแผข ยายออกไปกวา งขวางมาก ดงั ปรากฏในศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ดังน้ี

ทศิ เหนือ ครอบคลมุ เมอื งแพร นาน พลวั จนถงึ เมอื งหลวงพระบาง ทศิ ใต ครอบคลุม เมืองคณฑี (กําแพงเพชร) พระบาง นครสวรรค) แพรก (ชัยนาท)

สพุ รรณบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี นครศรีธรรมราช จนถงึ แหลมมลายู ทศิ ตะวนั ออก ครอบคลมุ เมอื งสระหลวงสองแคว (พิษณุโลก) ลุมบาจาย (หลมเกา) สระคา

และขา มฝงแมนํา้ โขงไปถึงเมืองเวยี งจันทนแ ละเวยี งคํา ทิศตะวันตก ครอบคลมุ เมืองฉอด หงสาวดี จนถงึ ชายฝงทะเลดา นอาวเบงกอล เมือ่ สิ้นรัชสมัยพอขุนรามคาํ แหงมหาราช มีกษตั รยิ ขนึ้ ครองราชยอีก ๒ พระองค คือ พญาเลอไทย และพญาง่ัวนําถม แตอ าณาจักรสุโขทยั ก็เริ่มเสื่อมอํานาจลง บรรดาเมืองตาง ๆ ที่อยูภายใตการปกครอง ของสุโขทัยไดแยกตัวเปนอิสระและเมืองประเทศราชที่มีกําลังเขมแข็งตางพากันแยกตัวไมขึ้นตอกรุง สโุ ขทัย เชน เมอื งพงสาวดี เมอื งนครศรีธรรมราช เปน ตน นอกจากน้ใี นตอนปลายรัชสมัยพญางัว่ นําถมยัง เกิดจลาจลข้นึ อีก เนอื่ งจากมีการแยง ชิงราชสมบัตจิ นพญาลิไทยเจา เมอื งศรสี ัชนาลยั ตอ งยกกําลงั มาปราบ ทาํ ใหบา นเมืองสงบลง หลังทรงปราบจลาจลในกรงุ สโุ ขทยั ไดสําเร็จ พญาลิไทยไดปราบดาภเิ ษกขึ้นเปนกษัตริย ครองราช สมบัติ ทรงพระนามวา พระมหาธรรมราชาที่ ๑ พระองคทรงพยายามสรางอํานาจทางการเมือง เพ่ือ พฒั นาบานเมืองใหเขมแขง็ มาใหม อยา งไรก็ตามอาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยในรัชสมัยพระมหาธรรม ราชาที่ ๑ ก็ไดล ดลงไปมากกวา คร่ึงเม่ือเทียบกับสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ตอมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ แลว มพี ระมหากษตั ริยขึน้ ครองราชยสบื ตอ มาอีก ๓ พระองค คอื พระมหาธรรม ราชาท่ี ๒ พระมหาธรรมราชาท่ี ๓ (ไสลือไทย) และพระมหาธรรมราชาท่ี ๔ (บรมปาล) แตในชวงเวลา ดงั กลาวอาณาจกั รสุโขทัยเริม่ เสื่อมอาํ นาจ เม่ือชนชาติไทยรวมตัวขน้ึ เปน ประเทศ มีขอบเขตและดนิ แดนทแ่ี นน อนไดมีการตัง้ ราชวงศพระรวง ในสมัยสุโขทัยขึ้นมีพระมหากษัตริยที่โดดเดนในสมัยน้ันคือ พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงประดิษฐ อักษรไทย และพระยาลิไททรงพระราชนิพนธเรื่องไตรภูมิพระรวง สวนการปกครองใชรูปแบบการ ปกครองแบบพอ ปกครองลูก เมอื่ ประชากรเพิ่มมากขึน้ จงึ เปลยี่ นการปกครองแบบธรรมราชา

ตัวอยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๕

การปกครองสมัยสุโขทัย จัดรูปแบบการปกครองเปน "พอปกครองลูก" พระเจาแผนดินเปน ผปู กครองกบั ผูอ ยูใตปกครอง ไดแ กป ระชาชน มคี วามสมั พนั ธใ กลชดิ กันเสมอื นพอ กับลูก เม่ือประชาชนมี ความเดอื ดรอ นหรือประสบปญ หาใด ๆ สามารถไปรอ งทกุ ขตอ พระเจาแผน ดนิ โดยตรง

การปกครองแบบน้ี ถือวาในแตละครัวเรือนมีพอเปนหัวหนาปกครองทุกคนในครอบครัว หลาย ครัวเรอื นกจ็ ะรวมกันเปนหมูบานอยูในปกครองของ "พอบาน" (ปจจุบันเรียกวาผูใหญบาน) ประชาชนท่ี อยูในการปกครองเรียกวา "ลูกบาน" หลาย ๆ หมูบานรวมกันเปนเมืองอยูในปกครองของ "พอเมือง" หลายเมอื งรวมกันเปน ประเทศอยใู นปกครองพระเจาแผนดินซึ่งเรียกวา "พอขุน"สวนขาราชการตําแหนง ตาง ๆ เรยี กวา "ลกู ขุน"

การปกครองหวั เมือง ไดแบง หวั เมอื งออกเปน ๓ประเภท คือ หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก และ เมอื งประเทศราช

หัวเมืองช้ันใน เปนหัวเมืองสําคัญอันดับหนึ่ง เปนที่ประทับของพระเจาแผนดิน และ พระองคทรงปกครองหรือบญั ชาการเองในตําแหนงจอมทพั

หัวเมืองช้ันนอกเปนเมืองท่ีอยูหางจากเมืองลูกหลวงออกไป พระเจาแผนดินมิไดทรง ปกครองหรือบังคับบัญชาโดยตรงแตไดทรงแตงต้ังเจานายหรือขาราชการท่ีไววางพระราชหฤทัยไป ปกครองแทน

เมืองประเทศราช ไดแ ก เมอื งทพี่ ระเจา แผน ดินอืน่ ปกครองตนเอง แตต องจดั การนําเคร่ือง ราชบรรณาการมาถวายตามกาํ หนดเวลาเกิดศกึ สงครามตอ งยกกองทพั มาชว ยทําการสูรบกับขาศึก สมัยอยธุ ยา

การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา กรุงศรีอยุธยาถือกําเนิด เมื่อประมาณ พ.ศ.1893 ในบริเวณลุม แมน้ําเจาพระยาตอนลาง ซึ่งในขณะน้ัน ไดมีอาณาจักรคนไทยอ่ืน ๆ ตั้งบานเมืองเปนชุมชนที่เจริญอยู กอ นแลว ไดแ ก ละโว (ลพบุรี) อทู อง (สุพรรณภมู )ิ และอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งกําลังเสื่อมอํานาจลงมาแลว และแควน อโยธยา มีอํานาจปกครองในดินแดนลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลางจนถึงพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ สนั นิษฐานวา พระเจาอูทอง กษัตรยิ  อโยธยา สมัยน้นั ไดอพยพพาผูคนมาตง้ั เมอื งใหมท ี่ หนองโสน ซ่งึ อยู ไมไ กลจากท่ีเดิมมากนัก สถาปนาเปนกรุงศรีอยุธยา เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๓ และยกฐานะ ลพบุรี ใหเปนเมือง ลูกหลวงการสถาปนากรงุ ศรอี ยุธยาเปน ราชธานี

การถือกําเนิดของอาณาจักรอยุธยา ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ เปนชวงที่อาณาจักรสุโขทัย ซึ่งเปน อาณาจกั รของคนไทยอกี กลุม หนงึ่ ทางตอนบนของลุมแมนํ้าเจาพระยาเร่ิมเสื่อมอํานาจลง ตรงกับรัชกาล พระมหาธรรมราชาลไิ ทยแหง กรงุ สุโขทยั ในขณะทีด่ ินแดนลมุ แมน ้าํ เจาพระยาตอนลา งกย็ งั คงมแี ควนของ คนไทยต้ังบานเมืองม่ันคงเปนปกแผนอยูกอนแลว ไดแก ลพบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งตอมาถูกรวมใหเปน สวนหนึ่งของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาในท่ีสุดปจจัยที่สนับสนุนใหการสถาปนากรุงศรีอยุธยาประสบ ความสาํ เร็จ

การขยายดินแดนใหกวางขวาง ทําใหเปนศูนยกลางอํานาจทางการเมืองของคนไทย อาณาจักร อยุธยาไดขยายดินแดนออกไปอยางกวางขวาง ครอบคลุมพ้ืนที่ในเขตที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา ท้ัง

ตวั อยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๖

ตอนบนและตอนลาง กลายเปนอาณาจักรของคนไทยที่เขมแข็งท่ีสุด และเปนศูนยกลางแหงอํานาจทาง การเมืองของคนไทยในสมัยน้นั อยา งแทจรงิ มอี าณาเขต ดงั ตอไปน้ี ทิศเหนอื จรดอาณาจักรลานนา และสุโขทัย ซ่ึงเปนอาณาจักรของคนไทย ดวยกนั ตอ มาสุโขทยั ถกู ผนวกใหเปนสวนหน่ึงของอยุธยา ในขณะ ที่อาณาจักรลานนาตกอยูใตอํานาจของกรุงศรีอยุธยาและพมา สลับกัน ทิศตะวนั ออก จรดอาณาจกั ร เขมรหรือขอม ซึ่งบางสมัยตองตกเปนประเทศราช ของไทย และบางสมยั กแ็ ข็งเมอื งเปนอสิ ระ ไมข้นึ ตอ ไทย ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ จรดอาณาจักรลานชาง ซึ่งเปนอาณาจักรของชนชาติลาว มีความ เขม แข็งทางการเมืองรองจากอยธุ ยา และมีความสัมพันธที่ดตี อ กัน ทศิ ตะวนั ตก อยุธยามีอํานาจครอบครองอาณาจักรมอญ แถบเมืองหงสาวดี เมืองเมาะตะมะ เมืองทวาย เมืองตะนาวศรี และเมืองมะริด แต ตอมาก็ตอ งสูญเสียใหแ กพมา ในชว งปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ ทศิ ใต อยุธยามีอํานาจเหนือแควนนครศรีธรรมราช และหัวเมืองมะลายู บางเมอื ง เชน ปต ตานี กลันตนั และไทรบุรี เปน ตน สมยั อยุธยาประกอบดวย ๕ ราชวงศ มี พระมหากษัตริย ๓๓ ทุกพระองคทรงเสียสละเพ่ือความ ดํารงอยูของแตละสมยั พระมหากษัตริยส มัยอยธุ ยาท่คี วรกลาวถึง สมเด็จพระเจาอูทอง สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระนารายณม หาราช ปกครองสมยั อยุธยา ปกครองดวยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มีสถาบันพระมหากษัตริย เปน หลักสําคัญในการปกครองอาณาจักร สวนการจัดรูปแบบการปกครองและการจัดระเบียบการควบคุม กําลังคน ยึดหลักการรวมศูนยอํานาจเขาสูราชธานี ซึ่งรูปแบบน้ีใชมาถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร ตอนตน ไทยไดรับเอาขนบธรรมเนยี มประเพณีตาง ๆ ตลอดท้งั การจัดรูปการปกครองมาจากขอม รูปแบบ การปกครองของไทยเร่ิมเปลี่ยนแปลงเปนแบบเทวสิทธิ ซึ่งถือวา พระเจาแผนดินมีฐานะเปนเทพเจาท่ี อวตาร (แบงภาค) มาจากสวรรค และใชค ํานาํ หนาพระนามของพระเจา แผนดินเปน "สมเด็จ" รปู การปกครองแบงออกเปน ๔ แผนก เรียกวา "จตุสดมภ" คือ เวียงหรือเมือง มีเสนาบดีเปนผูบ ังคับบญั ชา เรียกวา "ขุนเวยี ง" หรอื "ขุนเมือง" มีหนาท่ีใน การปกครองทองที่ รักษาความสงบเรียบรอย ปราบปรามโจรผูราย บังคับบัญชาศาลซ่ึงพิจารณาคดี อุกฉกรรจ และจดั การเรื่องเรอื นจํา วัง มีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชา เรียกวา "ขุนวัง" มีหนาท่ีเกี่ยวกับกิจการใน ราชสํานัก รักษากฎมณเฑียรบาล จัดการพระราชพิธี และมีอํานาจพิจารณา พิพากษาคดีเก่ียวกับขาราชการสนม ฝา ยในและอรรถคดีทวั่ ไป

ตัวอยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๗

คลัง มีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชา เรียกวา “ขุนคลัง”มีหนาที่เก็บรักษา รับจายเงินใน ทองพระคลัง เก็บภาษอี ากรตดิ ตอกบั ตา งประเทศทางการคา และบงั คับบัญชาศาลซึ่งชําระความเกี่ยวกับ ราชทรัพย

นา มีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชา เรียกวา “ขุนนา” มีหนาท่ีดูแลท่ีหลวง เก็บทวงขาวคา นาจากราษฎร จัดเตรียมเสบียงอาหารและมอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดเี กี่ยวกบั ทนี่ าและสตั วที่ใชในการ ทํานา ไดแก โค กระบอื

ในรัชสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ ไดมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครองมากท่ีสุด โดย แยกราชการฝายทหารกับราชการฝายพลเรือนออกจากกัน ต้ังตําแหนงอัครมหาเสนาบดีขึ้นอีก ๒ ตาํ แหนง คือ สมหุ นายก มอี าํ นาจกาํ กบั การและบงั คับบญั ชากจิ การฝายพลเรือนท่ัวไป และสมุหกลาโหม มีอํานาจกํากับการและบังคับบัญชากิจการฝายทหาร ตําแหนงอัครมหาเสนาบดีน้ีสูงกวาเสนาบดี จตสุ ดมภ และไดเปลี่ยนช่ือ จตสุ ดมภ เสยี ใหม คอื เวยี งหรือเมืองเปนนครบาล วังเปนธรรมาธิกรณ คลัง เปนโกษาธิบดี นาเปน เกษตราธิบดี สมยั ธนบุรี

ภูมิหลังทางประวัติศาสตรเมืองธนบุรีกอน พ.ศ. ๒๓๑๐ หลังจากกรุงศรีอยุธยาตองเสียแกพมา เม่อื พ.ศ. ๒๓๑๐ แลว สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช ทรงกอบกูอิสรภาพกรุงศรอี ยุธยา จากพมา ไดส ําเร็จ พระองคกท็ รงคดิ ท่จี ะปฏิสงั ขรณพ ระนครศรีอยุธยาใหกลับคืนเปนดังเดิม แตแลวหลังจากตรวจดูความพิ นาจของเมือง ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหอพยพผูคนเคล่ือนลงมาทางใต ตั้งราชธานีใหมขึ้นที่เมือง ธนบรุ ี ณ ท่รี ิมแมน ํ้าเจาพระยา พระราชทานนามวา “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” เมื่อจุลศักราช ๑๑๓๐ ป ชวด สัมฤทธิศก ตรงกับ พ.ศ. ๒๓๑๐ จวบจนถึง พ.ศ. ๒๓๒๕ นับเปนเวลาแหงราชธานีเพียง ๑๕ ป เทา นัน้ สมยั ธนบุรี มพี ระมหากษัตริยเพียงพระองคเดยี ว คอื สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช

การปกครองสมัยธนบุรี เมื่อสิ้นสุดสมัยอยุธยาแลว สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชไดทรง สถาปนาธนบุรีเปนราชธานีแตในชวงน้ีบานเมืองตกอยูในภาวะสงครามและสภาพทางเศรษฐกิจตกต่ํา ทรงมีภาระหนักในการกอบกูเอกราชจากศัตรูและเรงสรางความเปนปกแผนภายในชาติ โดยการปราบ กก ตางๆใหห มดไป และทาํ การฟน ฟูเศรษฐกิจใหป ระชาชนพนจากสภาพความอดอยากสมัยธนบุรีรูปการ ปกครองจึงไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจากสมัยอยุธยา จะมีก็เฉพาะการปรับปรุงดานกิจการทหารเทานั้น เชน จดั ใหมกี ําลงั รบทางเรืออันเปน ตนกาํ เนิดของกองทพั เรอื ในปจ จบุ ัน เปนตน สมยั รตั นโกสินทร

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งยังดํารงพระยศเปน สมเด็จเจาพระ - ยามหากษัตริยศึกภายหลังท่ีไดทรงเลิกทัพกลับจากกรุงกัมพูชาเพราะในกรุงธนบุรีเกิดการจลาจล เมื่อถึงกรุงธนบุรีบรรดาขุนนางนอยใหญท้ังหลายก็พากันออนนอมยอมสวามิภักดิ์ เรียกรองใหแกไข วิกฤติการณ พรอมกันน้ันก็พากันอันเชิญใหพระองคเสด็จข้ึนครองราชยสมบัติเปนพระเจาแผนดินไทย สืบตอ ไป เม่อื วนั ท่ี ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ รัชกาลที่ ๑ แหงราชวงศจักรี (นับเปนวันเร่ิมตนแหงราชวงศ

ตัวอยาง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๘ จักรี ทางราชการจึงกําหนดใหวันท่ี ๖ เมษายน ของทุกป เปนวันจักรี เพื่อระลึกถึงวันแหงการ สถาปนาราชวงศจักรี)

ภายหลังเมื่อเหตุการณเขาสูภาวะปกติแลว รัชกาลที่ ๑ ทรงเห็นวากอนจะประกอบพิธี ปราบดาภิเษกเปนกษัตริยเห็นวาควรจะยายราชธานีไปอยูฟากตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยาเสียกอน โดยบริเวณที่ทรงเลือกท่ีจะสรางพระราชวังนั้น เคยเปนสถานีการคาขายกับชาวตางประเทศในแผนดิน สมเดจ็ พระนารายณม หาราช มีนามเดมิ วา “บางกอก” ซ่ึงในขณะนน้ั เปนทอ่ี ยูอ าศัยของชาวจนี เม่อื ไดทรง ชดเชยคาเสียหายใหพอสมควรแลวทรงใหชาวจีนยายไปอยูตําบลสําเพ็ง แลวโปรดเกลาฯใหสรางร้ัวไม แทนกําแพงข้ึนและสรางพลับพลาไมข้ึนช่ัวคราว หลังจากน้ันในเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๓๒๕ ขณะท่ี พระองคทรงมีพระชนมายุได ๔๕ พรรษา ไดทรงประกอบพิธีปราบดาภิเษกข้ึนเปนปฐมกษัตริยแหง ราชวงศจักรี ทรงพระนามวา “พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดีฯ” แตในสมัยปจจุบันผูคน นิยมเรียกพระนามวา “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช” และทรงสถาปนาตําแหนง วงั หนา (กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล) และตาํ แหนง วงั หลัง (กรมพระราชวงั บวรสถานพมิ ขุ )

รตั นโกสนิ ทรมกี ารต้ังราชวงศจักรีแหงรัตนโกสนิ ทร มพี ระมหากษตั รยิ ถงึ ปจ จบุ ัน ๑๐ พระองค ท่ี สําคัญ ไดแก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรัชกาลที่ ๙ และสมเด็จพระ เจา อยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รชั กาลปจจุบนั

การปกครองสมัยรัตนโกสินทร การจัดรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ ๑ ถึงสมัยรัชกาลท่ี ๕ ชวงแรก คงใชแบบจตุสดมภเชนเดียวกับท่ีเคยใชมาในสมัยอยุธยา พอถึงสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ สภาพบานเมืองเจริญขึ้นตามลําดับ กิจการบานเมืองก็เพ่ิมมากขึ้น รปู การปกครองทใี่ ชม าแตกอนไมค อยจะเหมาะสมกับกาลสมยั พระองคจึงไดทรงปฏิรูปแบบการปกครอง เสยี ใหมในป พ.ศ.๒๔๓๕ โดยทรงยกเลิกระบบจตุสดมภ แลวจัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม ขึ้นมาแทนตาม แบบอยางประเทศในยโุ รป ทั้งหมด ๑๒ กระทรวง แตละกระทรวงมเี สนาบดี เปนผูบงั คับบญั ชาสงู สดุ

ในดานการปกครองหัวเมืองไดทรงยกเลิกระบบกินเมืองจัดตั้งเปนมณฑลเทศาภิบาลเปน จังหวัด อําเภอ ตําบล และหมูบาน มีสมุหเทศาภิบาลเปนผูรับผิดชอบสูงสุดระดับมณฑล มีขาหลวง ประจําจงั หวัด นายอาํ เภอ กํานนั และผใู หญบา นตามลาํ ดบั

การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ถงึ แมจะไดมกี ารปฏริ ูปการปกครองของไทยในป พ.ศ.๒๔๓๕ ก็ตาม ระบอบการปกครอง

ของไทยก็ยังคงเปนการปกครองที่อํานาจสูงสุดรวมอยูท่ีองคพระมหากษัตริยหรือตามที่เรียกวาระบอบ สมบรู ณาญาสิทธิราชย อาํ นาจในการปกครองประเทศยังไมไ ดก ระจายไปสูประชาชน

เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ไดมีคณะบุคคลคณะหนึ่งประกอบดวยทหารบก ทหารเรือ ขาราชการพลเรือน มี พล.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาเปนหัวหนา เรียกตนเองวา “คณะ ราษฎร” ใชกําลังเขายึดอํานาจการปกครอง เพ่ือเปล่ียนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบ สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย มาเปนระบอบประชาธปิ ไตย คณะราษฎรสามารถทําการเปล่ียนแปลง ไดสําเร็จ

ตวั อยา ง แนวทางจัดการเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๙ ประเทศไทยจึงมีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยเปนประมุขต้ังแตบัดน้ันเปน ตนมา

การปกครองของไทยในปจ จบุ นั ประเทศไทยไดปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ เปนประมุขตลอดมาต้ังแต

เปลย่ี นแปลงการปกครองในพ.ศ.๒๔๗๕ คําวา “ประชาธิปไตย”แปลวา อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากปวงชน เปน

การปกครองทย่ี ึดเอาความเห็นหรือความตองการของประชาชนสวนใหญอํานาจในการปกครองประเทศ เปนของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการวิพากษวิจารณการปฏิบัติงานของรัฐบาล ตลอดจนออก เสยี ง (ผานองคการของประชาชน) ไมไ วว างใจรัฐบาล

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย กฎหมายเปน กตกิ าทีจ่ ะกําหนดบทบาทหรือขอบเขต แหงอํานาจหนาที่ของแตละบุคคล ในการดําเนินการปกครอง กฎหมายท่ีสําคัญที่สุดก็คือกฎหมาย รัฐธรรมนญู

บทบาทของทหารตอรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักรและ การจัดระเบียบสังคมให อยสู ภาวะปกติ

ตัวอยาง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๐ แนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู

กจิ กรรมการเรยี นรู ครั้งที่ ๑ จาํ นวน ๑ ชว่ั โมง ๑) ผสู อนนาํ เขา สบู ทเรียนโดยใหผ เู รยี นศกึ ษาจากวดี ที ัศนการเมอื งการปกครองไทยในอดตี ๒) ผสู อนแบงชว งเวลาในการศกึ ษาการเมอื งและการปกครองไทย ใหเหมาะสมกบั จาํ นวนกลุม

ผูเ รยี นในแตละหอ ง ๓) ผูเรียนแบงกลุมละ ๔-๖ คน และใหตัวแทนกลุมจับฉลากเลือกระยะเวลาในการศึกษา

การเมืองและการปกครองไทย ๔) ผสู อนแจกใบกิจกรรมท่ี ๒.๑ การศกึ ษาเหตุการณสาํ คัญทางการเมอื งการปกครองของไทย

พรอมทัง้ อธิบายการศกึ ษา ๕) ผเู รยี นแตล ะกลุมศกึ ษาการเมอื งและการปกครองไทยแตล ะสมัย ๖) ผสู อนสังเกตการทาํ งานกลุม และประเมินผล

กิจกรรมการเรยี นรู ครั้งท่ี ๒ จาํ นวน ๑ ช่วั โมง ๑) ผูสอนอธบิ ายความสาํ คัญของการเมืองการปกครอง ๒) ผูเรียนแตละกลุมวิเคราะหจุดเดนของรูปแบบการเมืองการปกครองของแตละสมัยตามท่ี

ไดรบั มอบหมาย ใบกจิ กรรมที่ ๒.๒ ๓) ผูสอนสังเกตการทาํ งานกลมุ ประเมนิ ผล และมอบหมายใหแตละกลุมทํากิจกรรมใบงานที่

๒.๒ กิจกรรมการเรียนรู คร้งั ที่ ๓ จํานวน ๑ ชั่วโมง ๑) ครูแจกใบกิจกรรมท่ี ๒.๒ โดยใหผูเรียนแตละกลุมการวิเคราะหขอจํากัดของการเมืองการ

ปกครองของไทยในแตละสมยั ทีก่ ลมุ ตนไดร ับ ๒) ผูเรียนแตละกลมุ นําเสนอผลงาน การเมอื งการปกครองของไทยจนครบทกุ กลุม ๓) ผูเรยี นรว มอภปิ รายและบนั ทึกผลการวิเคราะหเ ปรียบเทียบการเมืองและการปกครองไทย

ในแตล ะยคุ ๔) ผสู อนสรุปและใหผ ูเรียนรวมประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู

สือ่ และแหลงการเรียนรู ๑. วดี ีทศั นก ารเมืองการปกครองไทยในอดีต ๒. แหลง คนควา ขอมูลดานการเมืองและการปกครองไทย และ แหลง เรยี นรูอื่น ๆ เชน พิพิธภณั ฑ ๓. ใบกิจกรรมที่ ๒.๑ และ ใบกิจกรรมท่ี ๒.๒

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวิชาประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๑ การวดั และประเมนิ ผล

๑. ประเมินผลการดาํ เนนิ งานจากใบกิจกรรมที่ ๒.๑ การศกึ ษาเหตุการณสาํ คญั ทางการเมอื งการ ปกครองของไทย

๒. ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานจากใบมอบหมายงานที่ ๒.๒ วิเคราะหจดุ เดนและขอจาํ กัดของ การเมอื งการปกครองของไทย

๓. สังเกตการณป ฏิบตั งิ านกลุมและการนาํ เสนอ สง่ิ ทคี่ รตู อ งเตรียมในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู

๑.วดี ีทศั นการเมืองการปกครองไทยในอดตี ๒. แหลง คนควา ขอ มูลดานการเมืองและการปกครองไทยและ แหลง เรยี นรอู ื่น ๆ เชน พพิ ธิ ภัณฑฯ

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๒

ใบกจิ กรรมที่ ๒.๑

การศึกษาเหตุการณส ําคญั ทางการเมืองการปกครองของไทย ช้ัน......................แผนกวิชา................................................หอ ง........................... กลุมท่ี....................ชื่อกลุม ...................................................... สมาชิกกลมุ ๑........................................................................................................... ๒........................................................................................................... ๓........................................................................................................... ๔........................................................................................................... ๕........................................................................................................... คําชีแ้ จง ใหผ ูเ รยี นศึกษาเหตกุ ารณส าํ คญั ทางการเมืองการปกครองของไทย บันทกึ ผลในตาราง พระมหากษตั รยิ  หรอื บุคคลทีเ่ กย่ี วขอ ง กับ ยคุ สมัย เหตุการณส าํ คัญ เหตุการณ

…………………………………………………………… …………………………………………………………… สมัยสุโขทยั …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… สมยั อยุธยา …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… สมยั ธนบรุ ี …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… สมยั …………………………………………………………… …………………………………………………………… รตั นโกสนิ ทร …………………………………………………………… ……………………………………………………………

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๓

ใบกิจกรรมท่ี ๒.๒

วิเคราะหจุดเดน และขอ จํากดั ของการเมอื งการปกครองของไทย ชื่อ....................................นามสกลุ ................................................ ชน้ั ......................แผนกวชิ า................................................หอง........................... คําช้ีแจง ใหผ ูเรียนแตละกลมุ วเิ คราะหจ ดุ เดนและขอ จาํ กัดการเมอื งการปกครองของไทยแตล ะสมัย

ยุคสมัย รปู แบบการปกครอง จดุ เดน ขอจํากดั

๑. สโุ ขทัย แบบพอปกครองลกู ……………………………………..…… …………………………………….. ๒. อยธุ ยา แบบธรรมราชา ……………………………………..…… …………………………………….. ๓. ธนบุรี แบบเทวราชา ……………………………………..…… …………………………………….. ๔. รตั นโกสินทร แบบธรรมราชา ……………………………………..…… …………………………………….. แบบเทวราชา ……………………………………..…… …………………………………….. แบบธรรมราชา ……………………………………..…… …………………………………….. แบบเทวราชา ……………………………………..…… …………………………………….. แบบธรรมราชา ……………………………………..…… …………………………………….. แบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย ……………………………………..…… …………………………………….. แบบประชาธิปไตย ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… ……………………….……………. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… …………………………………….. ……………………………………..…… ……………………………………..

ตวั อยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรชาตไิ ทย หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๔

แบบสังเกตการปฏบิ ตั งิ านและการนําเสนอ การศกึ ษาการเมืองการปกครองของไทย วเิ คราะหจดุ เดน และขอจํากดั ของการเมืองการปกครองของไทย ชอื่ กลุม ผเู รยี น................................................ชั้น.....................แผนกวชิ า.............................................

ขอท่ี รายการประเมิน/หัวขอ ประเมนิ ระดับคะแนน ๑ การวางแผนกระบวนการทาํ งาน ๔๓๒๑ ๒ การแบง หนาท่กี ารปฏบิ ัตงิ านตามกิจกรรม ๓ การมีสวนรว มของสมาชกิ ในการปฏบิ ตั งิ าน ๔ การปฏิบตั งิ านตามระยะเวลาที่กาํ หนด ๕ การนาํ เสนอผลการปฏบิ ัติงาน รวม

(.............................................................) ผูประเมิน

ตัวอยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๕

เกณฑก ารใหร ะดับคะแนนการสังเกตการปฏิบตั ิงานและการนําเสนอ รายการประเมิน เกณฑพ ิจารณาใหค ะแนน ๔๓๒๑ ๑. การวางแผน มกี ารกาํ หนด มีการกาํ หนด มีการกําหนด มกี ารกําหนด กระบวนการ กิจกรรมการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมการปฏบิ ตั ิ ทาํ งาน ไวช ัดเจนตามลาํ ดับ ไวชัดเจนตามลาํ ดบั ไวช ดั เจนแตไ ม ไวแ ตไ มช ดั เจน ไม ขัน้ ตอนและตรง ขัน้ ตอนแตไมต รง ตามลาํ ดับข้นั ตอน ตามลาํ ดับขั้นตอน ตามวัตถุประสงค ตามวตั ถุประสงค และไมต รงตาม และไมต รงตาม วัตถปุ ระสงค วัตถปุ ระสงค ๒. การแบง มกี ารกําหนด มกี ารกําหนด มกี ารกาํ หนด มีการกาํ หนด หนา ที่การ ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ปฏิบัตงิ าน บทบาทหนาท่ี บทบาทหนาที่ แตกําหนดบทบาท ยังไมชัดเจน ตามกจิ กรรม ชัดเจนและแบง ชดั เจนแตแบง หนา ที่ไมชดั เจนและ กําหนดบทบาท หนา ทีร่ ับผดิ ชอบ หนาทรี่ ับผดิ ชอบไม แบง หนา ท่ี หนาท่ไี มชัดเจนและ ครบทกุ คน ครบทุกคน รบั ผดิ ชอบไมค รบ แบงหนา ท่ี ทกุ คน รับผดิ ชอบไมค รบ ทุกคน ๓. การมีสวนรว ม มกี ารเปด โอกาสให มกี ารเปด โอกาสให มีการเปด โอกาสให สมาชกิ ในกลมุ บาง ของสมาชิก ทกุ คนในกลุมรว ม ทุกคนในกลุมรว ม ทุกคนในกลมุ รว ม คนรวมแสดงความ ในการ แสดงความคดิ เห็น แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคดิ เหน็ คดิ เหน็ และไมร วม ปฏิบัตงิ าน รว มตัดสินใจและ รวมตดั สินใจแตไ มม ี แตไ มร ว มตดั สินใจ ตัดสินใจและไมม ี รวมสรุปผล สว นรว มสรปุ ผล และไมมสี ว นรวม สวนรว มสรปุ ผล สรุปผล ๔. การ งานเสรจ็ เรยี บรอ ย งานเสรจ็ เรียบรอ ย งานเสร็จเรยี บรอย งานเสร็จแตไมคอ ย ปฏบิ ตั งิ าน สมบรู ณ ครบถว น สมบูรณ ครบถวน แตไมค อยสมบรู ณ เรียบรอ ยไมส มบรู ณ ตาม ภายในกาํ หนดเวลา แตเ สรจ็ หลงั และเสรจ็ หลงั และเสร็จหลงั ระยะเวลาที่ กาํ หนดเวลา กาํ หนดเวลา กําหนดเวลา

กําหนด ๕. การนาํ เสนอ พูดไดต รงประเด็น พูดไดต รงประเด็น พูดไดต รงประเดน็ พดู ไดต รงประเดน็ ผลการ ครอบคลมุ ทุกหัวขอ ครอบคลมุ ทุกหัวขอ ครอบคลมุ ทกุ หวั ขอ แตไมค รอบคลมุ ทุก ปฏิบัตงิ าน พูดไดต ามหลกั พดู ไดต ามหลกั แตพ ดู ไมเ ปนไปตาม หวั ขอ พดู ไมเ ปน ไป ภาษา เสยี งดัง ภาษา แตเสียงไม หลักภาษา และ ตามหลกั ภาษา และ ชดั เจน คอยดัง เสียงไมคอยดงั เสียงไมคอ ยดัง

ตัวอยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓ เศรษฐกจิ ของไทย ๒๖

หนว ยการเรียนเรอ่ื ง “เศรษฐกจิ ของไทย” ใชเ วลาในการจดั กิจกรรมการเรียนรู จํานวน ๒ ช่วั โมงโดยใชกระบวนการประวัติศาสตรในการศึกษาเปรียบเทียบประวัติศาสตรทองถ่ิน ในแงมุมของวิถี ชีวิตของคนไทยในอดีตถึงปจจุบัน ในการประกอบสัมมาอาชีวะเพ่ือเลี้ยงชีพ วิวัฒนาการดานเครื่องมือ เครอ่ื งใช ความเจรญิ รุงเรอื งของชาติไทย สมัยสุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสินทร

สาระสาํ คัญ

การศกึ ษาดานเศรษฐกจิ เปน การศึกษาเรื่องราวเก่ียวกบั การผลติ การกระจายหรือการแลกเปล่ียน สินคา และบริการเพ่ือตอบสนองความตองการของคนไทยในอดีต การศึกษาประวัตศิ าสตรเ ศรษฐกิจจะทํา ใหท ราบถึงการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต ตลอดจนปจจัยตาง ๆ ที่สงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ และเปนแนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจของไทยตอ ไป

งานประจาํ หนว ยการเรยี นรู

วเิ คราะหเ ปรียบเทยี บสภาพเศรษฐกจิ ไทยแตละสมัย

สมรรถนะประจําหนว ยการเรยี นรู

๑. แสดงความรูเกีย่ วกบั สภาพเศรษฐกจิ ไทยในแตล ะสมัย ๒. วเิ คราะหเ ปรยี บเทยี บสภาพเศรษฐกิจไทยในแตละสมยั

จุดประสงคก ารเรียนรู

๑. อธิบายสภาพเศรษฐกจิ แตละสมยั ไดอ ยา งถูกตอง ๒. วเิ คราะหเปรียบเทยี บเศรษฐกิจไทยในแตละสมัยไดอยางถูกตอ ง ๓. สามารถปฏิบัติตนตามหลกั คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมทพ่ี ึงประสงคไ ด

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๗

สาระการเรียนรู

๑. เศรษฐกิจสมยั สโุ ขทัย สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเปนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมดังขอความปรากฏในหลักศิลา

จารึกหลักท๑่ี "…ใครจักใครค า ชา งคา ใครจักใครค ามา คาใครจกั ใครค า เงินคาทองคา คาถวยชามสังคโลก" และ "...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ํามีปลาในนามีขาว..."ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมดวยระบบ การเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ

๒. เศรษฐกิจสมยั อยธุ ยา ความอุดมสมบูรณของบริเวณที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยาตอนลาง ซึ่งเหมาะสําหรับการทํานา

ทาํ ใหอาณาจักรอยุธยาเปนแหลงเพาะปลูกที่สําคัญ นอกจากน้ีการมีทําเลท่ีตั้งที่เหมาะสมกับการคาขาย กับเมอื งตา ง ๆ ที่อยูภายในตามเสนทางแมนํ้าและการคาขายกับภายนอกทางเรือสําเภา ทําใหเศรษฐกิจ อยุธยามีพ้ืนฐานสําคัญอยูท่ีการเกษตรและการคากับตางประเทศ ตอมาไดพัฒนาเปนศูนยกลางทาง การคา ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต

๓. เศรษฐกิจสมยั ธนบุรี ชว งตน รัชกาลสภาพบา นเมืองเสยี หายจากการสงครามอยางหนัก เน่ืองจากขาดการทํานามา

นานราคาขาวสูงเกือบตลอดรัชกาล สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงสละทรัพยสวนพระองคซื้อขาวมา ใหแกราษฎรทั้งหลาย ทั้งยังกระตุนใหชาวบานเขามาอาศัยอยูในอาณาจักรดวย นอกจากน้ีพระองคยัง ทรงไดท ํานุบํารงุ การคาขายทางเรือกับตางชาติ เนื่องจากไมอาจพ่ึงรายไดจากภาษีอากรจากผูคนท่ียังคง ตั้งตวั ไมได อีกท้ังการสงเสรมิ การขายสนิ คา พ้นื เมืองยังเปนการสรางงานใหกับชาวบาน โดยพระองคได ทรงพยายามผกู ไมตรกี บั จนี เพ่อื ทจ่ี ะใหเ กิดประโยชนท างการคามากยิ่งขึ้น

ธนบุรีไดกลายมาเปนเมืองทาท่ีสําคัญที่สุดของไทยแทนอยุธยา เนื่องจากเมืองมะริดและ ตะนาวศรีไดตกเปนของพมาอยางถาวร จึงทําใหเมืองถลางไดกลายเปนเมืองทาสําคัญในการคาขายกับ ตางชาติทางฝงทะเลอันดามันแทน ซึ่งมีแรดีบุกเปนจํานวนมากเชนเดียวกับเมืองไชยาและเมืองสงขลา ไทยมรี ากฐานเศรษฐกจิ ดมี ภี มู ปิ ระเทศและภูมิอากาศเอ้ือตอการเกษตรกรรม เม่ือเวนวางจากศึกสงคราม เสบียงอาหารก็บริบูรณขึ้นดังเดิม บาทหลวงคอร ระบุวา "การที่ประเทศสยามกลับต้ังตัวไดเร็วเชนน้ี ก็เพราะความหม่ันเพียรของพวกจีนถาพวกจีนไมใชเปนคนมักไดแลวในเมืองไทยทุกวันน้ีคงไมมีเงินใช เปน แน"

๔. เศรษฐกจิ สมัยรัตนโกสินทร เศรษฐกิจไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตนประชาชนสวนใหญมีอาชีพหลักคือการเกษตรกรรม

และ มีการตดิ ตอ คาขายกบั ตางประเทศ เชน จนี ชวา มลายูและประเทศตะวนั ตก การคากับตางประเทศ สวนใหญคาขายทางทะเลโดยเรือสําเภา มีพระคลังสินคาทําหนาที่ผูกขาดการซื้อขายสินคารายไดของ แผนดินน้ันจะไดจากการเก็บภาษี ๔ ประเภทเชนเดียวกับสมัยอยุธยา คือ จังกอบ อากร สวยและฤชา

ตัวอยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๘ สินคา ทสี่ งออกขายตา งประเทศสว นใหญ ไดแก ขาว นํา้ ตาล พรกิ ไทย ดบี กุ รังนก ไมฝางโดยเฉพาะอยาง ยิ่งในสมัยรัชกาลท่ี ๓ ไดมีการทําสัญญาทางการคาระหวางไทยกับอังกฤษเม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๙ เรียกวา “สัญญาเบอรนี”และไดทําสัญญากับสหรัฐอเมริกาในทํานองเดียวกันจึงทําใหพอคาตางประเทศเขามา คาขายในกรุงเทพฯมากขึ้นทําใหไทยมีโอกาสสงสินคาออกไดมากข้ึนดังน้ันรายไดของแผนดินในสมัย รัตนโกสินทรตอนตนไดจากกิจการ ๒ ประเภทใหญๆ คือภาษีอากรที่เก็บในประเทศและภาษีขาเขา รวมทงั้ การคากบั ตางประเทศ

สมัยรัชกาลที่ ๔ ไทยทําสนธิสัญญาเบาวริงกับอังกฤษทําใหการคากับตางประเทศมีความ คลอ งตวั และมเี สรที างการคา มากข้ึนทําใหตา งประเทศสงผูแทนเขา มาทาํ สัญญาการคา กบั ไทยมากข้นึ

รัชกาลที่ ๕ ทรงเห็นความจําเปน ทจี่ ะตองปรับปรงุ วธิ ีจัดเกบ็ ภาษแี ละวิธีการบริหาร ดานภาษี อากรใหม ปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขึน้ พระองคท รงปฏิรปู ระบบเศรษฐกิจและการคลังเปน ระบบดงั น้ี

๑) ยกเลกิ ระบบการเกบ็ ภาษีอากรเดมิ โดยการวางพิกัดอัตราเกบ็ ภาษีเดยี วกนั ทุกมณฑล ๒) ทาํ งบประมาณแผนดนิ เพ่ือควบคมุ รายรบั รายจายของแผนดนิ ๓) ทําสนธสิ ญั ญาพระราชไมตรวี าดวยการคา ขาย ๔) ประกาศเปลีย่ นใชม าตรฐานเงินมาเปนมาตรฐานทองคาํ ๕) พมิ พธนบัตรใชเปนครง้ั แรกในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. ๒๔๔๕ ผลจากการปฏิรูปเศรษฐกิจของรัชกาลท่ี ๕ ดังกลาวทําใหระบบการเงินของไทยมี เสถียรภาพตามหลักมาตรฐานสากลและทําใหประเทศไทยมีรายไดเพ่ิมขึ้นฐานะการคลังมีความม่ันคง และสามารถพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ใหก าวหนา ยง่ิ ขึน้ อกี ดว ย สมยั รัชกาลที่ ๖ เศรษฐกิจเริม่ ตกตํ่าเนื่องจากเกิดอุทกภัยในป พ.ศ. ๒๔๖๑ และเกิดฝนแลงใน ป พ.ศ. ๒๔๖๒ ทําใหเกิดความเสียหายอยางมากตอการปลูกขาวทําใหขาดแคลนขาวทําใหรายได จาก การสงออกขา วลดต่ําลง สมัยรัชกาลที่ ๗ สืบเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่ํามาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๖ ทรงแกปญหา อยางเรงดว นเพื่อใหประเทศมีรายจา ยและรายรบั สมดุลกนั จึงไดดาํ เนนิ การดังนี้ ๑) ยบุ ตําแหนงหนาที่ที่ไมจ าํ เปนและปลดขา ราชการบางตาํ แหนงเพ่ือตดั ทอนรายจายของ รฐั บาล ๒) ลดเงินท่ีจะรับเขาพระคลังขางท่ีปละ ๔ ลานบาทเพื่อตัดทอนรายจายราชสํานักและ สว นพระองค ๓) เพิม่ การเกบ็ ภาษบี างประเภทเชน ภาษีเงินเดือน การแกปญหาทางเศรษฐกิจของรัชกาลท่ี ๗ยังไมสามารถทําใหฐานะการเงินของประเทศ อยใู นสภาพทีป่ ลอดภัยเพราะราษฎรวางงานขาราชการที่ถูกปลดออกจากตําแหนงก็เกิดความไมพอใจจึง เปนสาเหตทุ ท่ี ําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยในป พ.ศ. ๒๔๗๕

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒๙ ๕. เศรษฐกจิ ไทยในปจ จบุ ัน

ประเทศไทยเปนประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปด (open economy) คือเปนประเทศท่ี ตดิ ตอทาํ การซ้ือขายสินคาและบรกิ ารกบั ประเทศเพื่อนบานการคาระหวางประเทศจึงมีบทบาทสําคัญใน ฐานะกลไกในการพัฒนาและนําความเจริญรุงเรืองมาสูประเทศรวมท้ังมีสวนสําคัญในการผลักดันให เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว นับตั้งแตพ.ศ. ๒๕๐๔ ที่รัฐบาลประกาศใชแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแหงชาตฉิ บับท่ี ๑ การคาระหวางประเทศของไทยทผ่ี านมา ประเทศไทยสว นใหญ จะ ขาดดุลการคาเน่ืองจากสินคาสงออกของไทยสวนใหญจะเปนสินคาเกษตรกรรม และสินคาอ่ืน ไดแก ซีเมนต อัญมณี ช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส ผาไหมไทย แตในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ไดนําเขาสินคาเปน จํานวนมากเปนเหตใุ หเ ราขาดดุลการคา

ในรอบระยะ ๑๐ ปท ี่ผา นมาอตั ราการนาํ เขาสินคาของไทยสูงมากขึ้นเนื่องจากการเรงพัฒนา ประเทศมีความจําเปนตองนําเขาสินคาทุนมากข้ึนการบริโภคของคนในประเทศเพ่ิมข้ึนอันเน่ืองมาจาก พฤติกรรมการบรโิ ภคเลยี นแบบซง่ึ มกั จะเปนสินคา ฟุมเฟอยและมรี าคาสงู นอกจากนปี้ ระเทศไทยสงเสริม การคา เสรคี วบคมุ การนาํ เขาสนิ คา เพียงไมก่ีรายการ จงึ มีการนาํ เขาสินคาอยางมาก จากสาเหตุเหลาน้ีทํา ใหประเทศไทยขาดดุลการคา มาตลอด

๖. แนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ๖.๑ การสงเสรมิ ดา นการทอ งเท่ยี วและการบริการ ปจจุบันธุรกิจการทองเที่ยวและการบริการมีแนวโนมขยายตัวสูง ซ่ึงประเทศไทยมี

สถานที่ทองเท่ียวท่ีสามารถดึงดูดความสนใจใหนักทองเท่ียวเดินทางมาทองเท่ียวในประเทศไทยมากขึ้น กอ ใหเ กิดอาชีพดา นการบรกิ าร เชน มคั คเุ ทศก รา นอาหาร เครอ่ื งด่ืม สถานทีพ่ กั ขายของทีร่ ะลึก เปนตน รัฐควรใหการสงเสริมสนับสนุนพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยวและยกระดับผูประกอบการ ใหมีความรู ความสามารถ ในการบรหิ ารจดั การการทองเท่ยี วอยา งมคี ณุ ภาพมาตรฐาน

๖.๒ การพฒั นาผลผลิตและการใชเ ทคโนโลยีที่เหมาะสม ปจจุบันเทคโนโลยมี ีความจาํ เปน ท่จี ะตองนาํ มาใชทง้ั ในภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม

ท้ังนี้เพื่อใหตนทุนในการผลิตลดลงและเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น เชน ในดานการเกษตร ควรจะใชเครื่องทุน แรงเพื่อใหสามารถทํางานไดมาก ทันตอ เหตกุ ารณ และไมถกู กดราคาและดานอุตสาหกรรม ควรจะไดนํา เคร่ืองจักรกลมาทดแทนแรงงานคน เพื่อใหเกิดความรวดเร็วและไดมาตรฐาน ทําใหสามารถผลิตสินคา ไดม ากขึ้น และมีมาตรฐานเดียวกัน ทําใหไ มถ กู กดี กันทางการคา เปนตน

๖.๓ การนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใหเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ ของไทย เพ่อื ปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของประชาชนเพื่อลดการนําเงินออกนอกประเทศ และสงเสริมใหมี การวิจัยและตอ ยอดส่ิงประดษิ ฐ

ตวั อยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๐

แนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู

กิจกรรมการเรยี นรู ครงั้ ที่ ๑ จาํ นวน ๑ ชวั่ โมง ๑) ผูสอนนําเขาสูบทเรียนโดยเปดวีดีทัศนเก่ียวกับเศรษฐกิจไทยในอดีต ผูสอนและผูเรียน

อภิปรายรวมกนั ๒) แบง กลมุ ผูเ รียนเปน ๔ กลมุ เพอื่ ศึกษาสภาพเศรษฐกจิ ไทยแตละสมยั ประกอบดวย กลุมที่ ๑ ศึกษาสภาพเศรษฐกจิ สมัยสโุ ขทยั กลมุ ที่ ๒ ศึกษาสภาพเศรษฐกจิ สมยั อยุธยา กลุมท่ี ๓ ศกึ ษาสภาพเศรษฐกิจสมัยธนบรุ ี กลุม ท่ี ๔ ศึกษาสภาพเศรษฐกจิ สมัยรตั นโกสนิ ทร ๓) ผูเรียนแตละกลุม สง ตวั แทนจบั ฉลากเลือกหวั ขอ ทจ่ี ะศกึ ษา ๔) ผูเรียนแตละกลุมศึกษาคนควาตามหัวขอท่ีจับสลากไดจากน้ันบันทึกขอมูลลงใน ใบ

กจิ กรรมที่ ๓.๑ ๕) แตละกลุมสงตัวแทนนําเสนอผลการศึกษาตามใบกิจกรรมที่ ๓.๑ การศึกษาสภาพ

เศรษฐกิจไทย ๖) ผสู อนมอบหมายงานใหผเู รยี นศึกษาเรอื่ งการคาภายในประเทศและภายนอกประเทศจากวี

ดที ัศน กจิ กรรมการเรยี นรู ครัง้ ที่ ๒ จาํ นวน ๑ ชว่ั โมง ๑) ผสู อนนาํ เขา สูบทเรยี นโดยสนทนาซักถามถึงการดําเนินงานในหัวขอทไี่ ดร ับมอบหมาย ๒) ผูสอนแจกใบกิจกรรมที่ ๓.๒ และชี้แจงแนวทางการวิเคราะหประโยชนของการคา

ภายในประเทศและระหวา งประเทศในสมยั ตาง ๆ ๓) ตวั แทนกลุมนาํ เสนอลกั ษณะและความสาํ คัญของการคา ระหวา งประเทศแตล ะสมยั ๔) ผเู รียนสนทนา ซกั ถาม และสรปุ ประเดน็ ท่ีศึกษาพรอมบันทึกขอมลู ลงในใบกิจกรรมท่ี ๓.๒

ส่ือและแหลง การเรยี นรู ๑. วดี ีทัศนเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ ไทย ๒. เอกสารประกอบการเรียนวิชาประวัตศิ าสตรชาติไทย รหัสวิชา ๒๐๐๐๐-๑๕๐๒ ๓. แหลง ขอมลู ทางประวตั ศิ าสตร ๔. ใบกจิ กรรมที่ ๓.๑ และ ๓.๒

การวัดและประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ ผลการดาํ เนินงานกลมุ จากใบกจิ กรรมท่ี ๓.๑ การศกึ ษาสภาพเศรษฐกิจไทย ๒. ประเมินผลรายบคุ คล จากใบกิจกรรมท่ี ๓.๒ การเขียนตารางวิเคราะหเปรียบเทียบเศรษฐกิจ

ภายในประเทศและระหวางประเทศในสมัยตา ง ๆ

ตัวอยาง แนวทางจัดการเรยี นการสอนวิชาประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๑ สงิ่ ท่คี รตู อ งเตรยี มในการจดั กิจกรรมการเรียนรู

๑. วดี ที ศั นเ กยี่ วกับเศรษฐกิจไทย ๒. ใบกิจกรรมที่ ๓.๑ การศกึ ษาสภาพเศรษฐกิจไทย ๓. ใบกิจกรรมที่ ๓.๒ วเิ คราะหเ ปรียบเทียบเศรษฐกจิ ภายในประเทศและระหวางประเทศในสมัย ตาง ๆ

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวิชาประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๒

ใบกจิ กรรมที่ ๓.๑

การศึกษาสภาพเศรษฐกจิ ไทย

คาํ ช้แี จง ผูเ รียนแตละกลุมศึกษาสภาพเศรษฐกจิ ไทย ตามหวั ขอท่ีจับสลากได และบนั ทึกคาํ ตอบ ลงในตารางเศรษฐกิจไทยสมัย..................................................................

รายการ บนั ทกึ รายการ/ขอมลู ๑. ลักษณะโครงสรางทางเศรษฐกิจ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ๒. สินคา หลัก/ท่ีสาํ คัญ ....................................................................................................... (สนิ คาเขา/สินคา ออก) ………………………………………………………………………………………..... ..................................................................................……………...... ๓. การแลกเปลยี่ นสนิ คา และเงินตรา ๑.................................................................................................... ๔. รายไดของรัฐ/ประเทศ ๒.................................................................................................... ๕. เสน ทางการคา ๓.................................................................................................... ๔.................................................................................................... ๕.................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ………………………………………………………………………………………… ๑.................................................................................................... ๒.................................................................................................... ๓ …………………………………………………………………………………….. ....................................................................................................... ....................................................................................................... …………………………………………………………………………………………

ตวั อยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวัตศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๓

ใบกจิ กรรมท่ี ๓.๒

วเิ คราะหเ ปรียบเทียบเศรษฐกจิ ภายในประเทศและระหวางประเทศในสมัยตาง ๆ คําชีแ้ จง ใหผเู รยี นวิเคราะหเปรยี บเทียบเศรษฐกจิ ภายในประเทศและระหวางประเทศในสมัยตา ง ๆ

รายการ เศรษฐกิจภายในประเทศ เศรษฐกิจระหวางประเทศ

๑. สมัยสุโขทัย ………………………………………………………… ………………………………………………………… ๒. สมยั อยุธยา ………………………………………………………… ………………………………………………………… ๓. สมยั ธนบุรี ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ๔. สมยั ………………………………………………………… ………………………………………………………… รัตนโกสินทร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………. ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………

ตัวอยาง แนวทางจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๔

แบบสังเกตการปฏิบตั งิ านและการนําเสนอ การศึกษาสภาพเศรษฐกิจไทย

ช่อื กลมุ ผูเ รยี น................................................ชัน้ .....................แผนกวชิ า.....................................................

ขอ ท่ี รายการประเมนิ /หัวขอประเมิน ระดบั คะแนน ๑ การวางแผนกระบวนการทาํ งาน ๔๓๒๑ ๒ การแบงหนาท่กี ารปฏบิ ตั งิ านตามกจิ กรรม ๓ การมีสว นรว มของสมาชกิ ในการปฏบิ ัติงาน ๔ การปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่กําหนด ๕ การนาํ เสนอผลการปฏบิ ตั งิ าน

รวม

(.............................................................) ผูประเมนิ

ตัวอยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๕

เกณฑการใหร ะดบั คะแนนการสังเกตการปฏบิ ัตงิ านและการนาํ เสนอ รายการ เกณฑพ จิ ารณาใหคะแนน ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. การวางแผน มกี ารกาํ หนด มีการกาํ หนด มีการกาํ หนด กระบวนการ กิจกรรมการปฏิบตั ิ กจิ กรรมการปฏิบตั ิ กจิ กรรมการปฏบิ ตั ิ มกี ารกาํ หนด ทาํ งาน ไวชัดเจนตามลาํ ดับ ไวชัดเจนตามลาํ ดับ ไวช ัดเจนแตไ ม กจิ กรรมการปฏบิ ตั ิ ขน้ั ตอนและตรง ขนั้ ตอนแตไมต รง ตามลาํ ดับขน้ั ตอน ไวแ ตไ มชดั เจน ไม ตามวตั ถปุ ระสงค ตามวตั ถุประสงค และไมตรงตาม ตามลาํ ดับขัน้ ตอน วัตถปุ ระสงค และไมตรงตาม ๒. การแบงหนาที่ มีการกําหนด มกี ารกาํ หนด มีการกําหนด วตั ถุประสงค การปฏบิ ัติงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน ขอบเขตภาระงาน มีการกําหนด ตามกจิ กรรม บทบาทหนาท่ี บทบาทหนาท่ี แตก าํ หนดบทบาท ขอบเขตภาระงาน ชดั เจนและแบง ชัดเจนแตแบง หนาท่ีไมชัดเจนและ ยังไมชัดเจน หนาทรี่ ับผดิ ชอบ หนา ท่ีรบั ผดิ ชอบไม แบงหนา ท่ี กําหนดบทบาท ครบทกุ คน ครบทกุ คน รับผดิ ชอบไมครบ หนาทไี่ มชัดเจนและ ทุกคน แบงหนา ท่ี รับผดิ ชอบไมค รบ ๓. การมสี ว นรวม มกี ารเปด โอกาสให มกี ารเปด โอกาสให มกี ารเปด โอกาสให ทกุ คน ของสมาชิกใน ทุกคนในกลุมรว ม ทกุ คนในกลุม รวม ทุกคนในกลมุ รวม สมาชกิ ในกลมุ บาง การปฏบิ ัตงิ าน แสดงความคดิ เห็น แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคดิ เห็น คนรว มแสดงความ รว มตัดสินใจและ รว มตดั สนิ ใจแตไ มม ี แตไมร วมตดั สนิ ใจ คดิ เห็น และไมร วม ๔. การปฏบิ ัตงิ าน รวมสรุปผล สวนรวมสรุปผล และไมม สี วนรว ม ตดั สินใจและไมม ี ตามระยะเวลา งานเสรจ็ เรยี บรอ ย งานเสร็จเรยี บรอย สรุปผล สว นรว มสรปุ ผล ที่กําหนด สมบรู ณ ครบถวน สมบรู ณ ครบถวน งานเสร็จเรียบรอย งานเสรจ็ แตไมคอ ย ภายในกําหนดเวลา แตเสรจ็ หลัง แตไมค อยสมบรู ณ เรยี บรอยไมส มบรู ณ ๕. การนําเสนอผล พดู ไดต รงประเด็น กาํ หนดเวลา และเสร็จหลัง และเสร็จหลงั การปฏบิ ัติงาน ครอบคลมุ ทกุ หัวขอ พูดไดต รงประเด็น กาํ หนดเวลา กําหนดเวลา พูดไดต ามหลัก ครอบคลมุ ทกุ หัวขอ พูดไดต รงประเดน็ พูดไดต รงประเดน็ ภาษา เสยี งดัง พูดไดต ามหลัก ครอบคลมุ ทุกหวั ขอ แตไมครอบคลมุ ทุก ชดั เจน ภาษา แตเสียงไม แตพูดไมเ ปน ไปตาม หัวขอ พูดไมเ ปน ไป คอ ยดัง หลกั ภาษา และ ตามหลกั ภาษา และ เสยี งไมคอยดัง เสยี งไมค อ ยดัง

ตวั อยา ง แนวทางจัดการเรยี นการสอนวิชาประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔ สงั คมไทย ๓๖

หนวยการเรียน เรื่อง สังคมไทย ใชเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู จํานวน ๒ ชั่วโมง จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชการศึกษาสภาพทั่วไปทางสังคมไทย สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ รัตนโกสินทร พรอมท้ังศึกษาบทบาทของชนช้ันในสังคมไทยสมัยตาง ๆ ท่ีมีพอการพัฒนาประเทศ การ จัดระเบียบทางสังคม เพอ่ื ใหก ารตดิ ตอสมั พนั ธเ ปนไปดวยความเรียบรอยรวมถึงกอใหเกิด ความรักความ สามัคคี รกั ใครก ลมเกลยี ว ความเอื้ออาทรเหน็ อกเห็นใจกนั ไววางใจกัน ชวยเหลือเกอ้ื กลู และรว มมอื รวม ใจกัน ซงึ่ เปนคุณธรรมสําคญั ท่จี ะนาํ ความสงบสุขเจรญิ กาวหนามาสบู า นเมอื ง

สาระสาํ คญั

สังคมไทยเปนสังคมที่มีโครงสรางทางสังคมเชนเดียวกับสังคมท่ัวไป ในเร่ืองของกลุมสังคมและ สถาบันทางสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงตลอดมา ไดกอใหเกิดผลกระทบในดานตาง ๆ การศกึ ษาสภาพสังคมในแตละสมัยจะทาํ ใหเ ขาใจบริบทของสงั คมไทยไดด ยี ิ่งขนึ้

งานประจาํ หนวยการเรยี นรู

วิเคราะหบ ทบาทของชนชนั้ ในสงั คมไทยสมยั ตาง ๆ ทีม่ ีตอการพฒั นาประเทศ

สมรรถนะประจําหนวยการเรียนรู

๑. แสดงความรเู ก่ยี วกบั ลกั ษณะสภาพทวั่ ไปทางสงั คมไทยในอดีตในแตละสมยั ๒. วเิ คราะหบ ทบาทของชนชั้นตา ง ๆ ในสงั คมไทยแตละสมัย

จดุ ประสงคการเรียนรู

๑. บอกถงึ ลกั ษณะสงั คมไทยแตละสมัยไดถูกตอ ง ๒. อธิบายพฒั นาการทางสังคม ของสังคมไทยแตล ะสมยั ไดถ ูกตอ ง ๓. วิเคราะหบ ทบาทของชนชน้ั ในสงั คมไทยแตล ะสมยั ไดถ ูกตอ ง

ตวั อยาง แนวทางจัดการเรยี นการสอนวชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๗

สาระการเรยี นรู

๑. ความหมายและความสําคญั ของสังคม ๑.๑ ความหมาย สังคม หมายถึง กลุมคนตั้งแตสองคนข้ึนไป อาศัยอยูรวมกันเปนระยะเวลายาวนาน

อยางตอเน่ือง ในพ้ืนท่ีมีอาณาเขตที่ชัดเจน และมีการกระทําโตตอบกันและกัน ท้ังทางตรงและทางออม หรอื ปฏิสัมพันธตอ กัน อยา งมีระเบียบและแบบแผน ภายใตวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมท่ีสอดคลองกัน ตลอดจนสามารถเลี้ยงตนเองไดตามสมควรแกอัตภาพ

สังคมไทย หมายถึง ชนเช้ือชาติไทยชนเช้ือชาติอื่นชนกลุมนอย และชนทุกกลุมท่ี ดํารงชีวติ อยรู วมกนั ในอาณาเขตประเทศไทยโดยมีวัฒนธรรมไทยเปนพนื้ ฐานในการดําเนินชีวิต

๑.๒ ความสาํ คญั มนุษยจําเปนตองอยูกันเปนกลุม มีการพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน การเปนมนุษยท่ี

สมบรูณน้ันมิไดมีมาแตกําเนิด แตเกิด จากการที่มนุษยไดเปนสมาชิกของสังคม ทําใหมนุษยเรียนรูแบบ แผนตา ง ๆ โดยเฉพาะสงั คม

มนุษยคือ ครอบครัว ความรูจากแบบแผนมนุษยรุนกอนจากสภาพแวดลอม ครอบครัว จากสถาบนั ท่ตี นไดส มั ผสั สง่ิ เหลาน้ี ลวนมีอิทธพิ ล และมสี ว นทาํ ใหม นษุ ยที่สมบรณู ส ามารถยงั ชพี อยูส งั คมไดอยา งมัน่ คง

๒. ลกั ษณะทางสังคมไทย สังคมไทยเปนสังคมแบบเครือญาติ ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีโครงสรางแบบ

หลวมๆ มีความหลากหลายในเรื่องชาติพันธุ ศาสนา และวัฒนธรรมแตสามารถผสมผสานไดอยาง กลมกลืน จนเปนสังคมท่ีมีลักษณะเฉพาะรักอิสระ ยึดมั่นในสถาบันศาสนา พระมหากษัตริย มี ขนบธรรมเนียมประเพณที ี่ดงี าม มเี อกลกั ษณเ ปนของตนเอง ยอมรบั ในระบบอาวโุ สและระบบอุปถัมภ ไม นิยมความรุนแรง ชอบการประนีประนอม และใชชีวิตอยางเรียบงาย ในปจจุบันไดรับอิทธิพลจากการ เปลีย่ นแปลงในโลกโลกาภวิ ฒั น ทีเ่ ทคโนโลยมี กี ารพัฒนาอยา งรวดเร็ว การคมนาคม สะดวกสบาย และมี การเปล่ียนคานิยมในการบริโภค ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในวิถีการดําเนินชีวิตบางประการทั้งในเมือง และชนบท โดยมลี ักษณะสังคมไทย ตั้งแตสมยั สโุ ขทัย ถึงปจ จุบนั ดังน้ี

๒.๑ สงั คมสมัยสโุ ขทัย ชนชั้นและความสัมพันธทางชนชั้น สังคมไทยสมัยสุโขทัยมีชนชั้นตาง ๆ หลายชนช้ัน

ประกอบไปดวย ๒.๑.๑ พระมหากษัตริยเ ปน ผทู ีม่ ฐี านะสงู สุดในสังคม ๒.๑.๒ เจา นาย ไดแก พระบรมวงศานุวงศ เปนชนช้ันสูง ทําหนาท่ีเปนผูปกครอง

รวมกบั พระมหากษตั รยิ 

ตัวอยา ง แนวทางจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๘

๒.๑.๓ ขุนนาง ไดแก ผูที่มีหนาที่ดูแลบานเมือง ทําหนาท่ีชวยเหลือ พระมหากษตั ริยแ ละพระราชวงศในการปกครอง

๒.๑.๔ ไพร ไดแ ก ชนช้นั สามัญชนซึ่งชนช้ันไพรมีอยูหลายกลุม เชน“ไพรฟาหนา ใส” หมายถึง ไพรข องกษัตริย “ไพรฟา หนาปก” หมายถึง ไพรทมี่ เี จานายสังกัด

๒.๑.๕ ขา เปนชนชั้นที่ยังไมสามารถกลาวไดวามีสถานภาพเชนใด แตมีการ สันนิษฐาน กันวา ขา คือ ทาส มีหลายประเภท เชน ขาเชลย คือขาท่ีถูกกวาดตอนมาจากการทํา สงคราม ขา ไท คอื ผทู ีค่ อยรบั ใชตดิ ตามเจานาย

๒.๑.๖ พระสงฆ เปนกลุมชนที่มีฐานะพิเศษ ไมสังกัดมูลนาย ซึ่งไดรับการยกยอง เปน อยางมากในสังคมสมยั สุโขทัย มีหนา ท่เี ชือ่ มโยงชนช้นั ตา ง ๆ ในสงั คมไทย

๒.๒ สังคมสมัยอยธุ ยา สงั คมไทยสมัยอยุธยา มกี ารแบงชนชนั้ เปน ๖ ระดบั คือ ๒.๒.๑ พระมหากษัตริย ทรงอยูในตําแหนงสูงสุดของสังคมไทย พระมหากษัตริย

ทรงไดรับการยกยอง เปนสมมติเทพและเปนเทวราชา ตามคติและอิทธิพลของลัทธิเทวราชา จากขอม และอนิ เดยี ซึ่งแยกประชาชนกับพระมหากษัตริยออกจากกนั อยา งชดั เจน

๒.๒.๒ พระบรมวงศานุวงศ เปนบรรดาเจานายหรือญาติของพระมหากษัตริย โดยแบงออกเปนสกุลยศ ซึ่งไดรับมาแตกําเนิดและอิสริยยศเปนยศ ท่ีไดรับจากการรับราชการมีความดี ความชอบในแผน ดิน

๒.๒.๓ ขุนนาง เปนชนช้ันปกครองในสังคมท่ีรับราชการ และไดรับการแตงต้ังจาก พระมหากษัตริย

๒.๒.๔ ไพร เปนพลเมืองสวนใหญข องสงั คม ไพรทุกคนตองสงั กัดมูลนาย ๒.๒.๕ ทาส เปน ชนชนั้ ตํ่าสดุ ไมม ีอสิ ระ แบงออกเปน ทาสเชลย ทาสสินไถ ทาส ในเรอื นเบย้ี ทาสไดม าแตฝา ยบิดามารดา ทาสทา นให ทาสท่ีชวยจากโทษรายแรง และทาสที่เล้ียงไวจาก การเกิดขา วยากหมากแพง ๒.๒.๖ พระสงฆ เปนผูนําชุมชนและใกลชิดเกี่ยวของกับประชาชน ตั้งแตเกิด จนตาย เปน ศนู ยร วมความศรัทธาของชมุ ชน ในสังคมไทย ๒.๓ สังคมสมัยธนบุรี โครงสรางของสังคมไทยสมัยธนบุรี ยังคงมีลักษณะเหมือนกับโครงสรางทางสังคมไทย สมัยอยธุ ยา ประกอบดวย พระมหากษตั รยิ  พระบรมวงศานวุ งศ ขนุ นาง ไพร ทาส ๒.๔ สังคมสมัยรตั นโกสนิ ทร ๒.๔.๑ สังคมไทยสมยั รัตนโกสินทร (รชั กาลท่ี ๑ – ๓ พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๙๔) สังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ยังคงมีลักษณะเชนเดียวกันสังคมไทยสมัย อยธุ ยา และสมัยธนบรุ ี เปน สังคมศกั ดินา

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๙ ๒.๔.๒ สังคมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรยุคปรับปรงุ ประเทศ (รัชกาลที่ ๔ –๖)

สมัยรัชกาลท่ี ๕ ทรงปฏิรูปสังคมใหทันสมัยหลายดาน ซึ่งมีการเปล่ียนแปลงอยาง เหน็ ไดชดั ไดแก

๑) การยกเลิกระบบไพร ๒) การเลกิ ทาส ๓) การปฏริ ูปการศกึ ษา ๒.๔.๓ สภาพสงั คมไทยหลงั การเปลี่ยนแปลงการปกครอง หลังการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ สงั คมไทยไดเ ปลย่ี นแปลงไปภายใต ระบบรัฐธรรมนูญ ไมมีสังคมศักดินา ไพร และทาส ทุกคนในสังคมไทยอยูภายใตรัฐธรรมนูญซ่ึงเปน กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ การจําแนกระเบียบสังคมมิไดแยกออกตามฐานะของระบบศักดิ นา แตจาํ แนกออกตามฐานะของอาชพี ไดแ ก ขาราชการ พอคา นักธุรกิจ ผูประกอบการสาขาอาชีพตาง ๆ ปญ ญาชน เชน ครู อาจารย นักวชิ าการตาง ๆ กรรมกร และชาวไรชาวนา

ตวั อยา ง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๐

แนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู ครงั้ ที่ ๑ จาํ นวน ๑ ช่ัวโมง ๑) ผสู อนใหผ ูเรยี นดวู ีดที ศั นเกีย่ วกับลกั ษณะสังคมไทยในอดตี ๒) ผูส อนอธบิ าย เรื่อง “ความหมายและความสาํ คญั ของสงั คม” ๓) ผูสอนแบงกลุมผูเรียนตามความเหมาะสม ใหแตละกลุม จับสลากเพ่ือศึกษาลักษณะ

สังคมไทย แตละสมัย และนําเสนอดว ยสอ่ื ดงั มีหวั ขอ ตอไปนี้ ๓.๑) ลักษณะสังคมไทยสมยั สุโขทัย ๓.๒) ลักษณะสงั คมสมัยอยธุ ยา ๓.๓) ลกั ษณะสงั คมไทยสมัยธนบุรี ๓.๔) ลกั ษณะสงั คมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร ๓.๔.๑ สมยั รตั นโกสินทร รัชกาลที่ ๑- ๓ ๓.๔.๒ สมยั รัตนโกสนิ ทรยุคปรับปรงุ ประเทศ รัชกาลท่ี ๔-๖ ๓.๔.๓ สมยั รตั นโกสินทรห ลังการเปลย่ี นแปลงการปกครอง

๔) ผูสอนแจกใบกิจกรรมท่ี ๔.๑ การศึกษาลักษณะสังคมไทยสมัยตาง ๆ ใหแก ใหผูเรียนแตละ กลุม พรอ มชแ้ี จงแนวทางการปฏิบตั แิ ละการนาํ เสนอผลงาน

๕) ผูเรยี นแตล ะกลุมปฏิบตั กิ ิจกรรมตามที่ไดร ับผดิ ชอบ โดยมผี สู อน คอยดแู ลใหค าํ ปรกึ ษา กิจกรรมการเรยี นรู ครง้ั ที่ ๒ จํานวน ๑ ช่ัวโมง

๑) ผูส อนแบงกลุมผเู รียนตามความเหมาะสม ใหแตละกลุม จบั สลากเพือ่ ศกึ ษาบทบาทของชนช้ัน ตาง ๆ ในสังคมไทย แตละสมยั

๒) ผูเ รียนสรปุ บทบาทของชนช้นั ตาง ๆ ในสงั คมไทย แตล ะสมัย ในใบกิจกรรมที่ ๔.๒ ๓) ผูเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการศึกษาบทบาทของชนช้ันตาง ๆ ในสังคมไทย ในรูปแบบของ

ฐานการเรียนรู ๔) ผูเ รยี นจบั ฉลากนําเสนอผลงานของฐานการเรียนรูท ่กี ลมุ ของผเู รียนจับฉลากได ๕) ครสู รปุ เนื้อหาววิ ัฒนาการสงั คมไทยท้งั ๔ สมยั ใหผ ูเรียนฟง อีกคร้ังหนึง่

สอื่ และแหลงการเรียนรู ๑. วดี ที ศั นเ กี่ยวกบั ลักษณะสงั คมไทย ๒. แหลง คนควา ขอ มูลและหลกั ฐานทางประวัติศาสตร (อินเทอรเ น็ต หนังสอื )

การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมินผลจากกิจกรรม ๔.๑ สังคมไทยสมยั ตา ง ๆ ๒. ประเมนิ ผลจากกิจกรรม ๔.๒ บทบาทของชนชัน้ ตา ง ๆ ในสงั คมไทย

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรยี นการสอนวชิ าประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๑

ส่งิ ท่คี รูตองเตรียมในการจดั กิจกรรมการเรียนรู ๑. ใบความรเู น้อื หาเกย่ี วกับลกั ษณะสังคมไทยสมัยตา ง ๆ ๒. วดี ีทศั นหรือรปู ภาพเก่ยี วกบั ลกั ษณะสังคมไทยสมัยตาง ๆ ๓. ใบกจิ กรรม ๔.๑ สงั คมไทยสมัยตาง ๆ ๔. ใบกิจกรรม ๔.๒ บทบาทของชนช้นั ตา ง ๆ ในสังคมไทย

ตัวอยาง แนวทางจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๒

ใบกิจกรรมท่ี ๔.๑

การศกึ ษาลกั ษณะทางสังคมไทยในแตละสมัย ชั้น......................แผนกวิชา................................................หอง...........................

กลุม ท่ี....................ชอื่ กลุม...................................................... สมาชิกกลุม

๑........................................................................................................... ๒........................................................................................................... ๓........................................................................................................... ๔........................................................................................................... ๕........................................................................................................... ข้นั ตอนกจิ กรรม ๑. ใหผ เู รียนศึกษาบทบาทชนชน้ั ของคนในสงั คมไทย แลว สรปุ ผลลงในตารางท่กี ําหนดให สมัย ลกั ษณะทางสังคม(ดานการศึกษา/สทิ ธิเสรีภาพ/การจดั ระเบยี บทางสงั คม)

……………………………………………………………………………………………………………… สมยั สโุ ขทัย ………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… สมัยอยธุ ยา ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… สมัยธนบรุ ี ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… สมัยรตั นโกสนิ ทร ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอยา ง แนวทางจัดการเรียนการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๓

ใบกิจกรรมท่ี ๔.๒

การวเิ คราะหเ ปรียบเทยี บลกั ษณะสังคมไทยแตละสมยั ช่อื ....................................นามสกุล................................................ ชัน้ ......................แผนกวิชา................................................หอ ง........................... คาํ ช้ีแจง ใหผูเรียนแตล ะกลุม วิเคราะหเ ปรยี บเทียบการเมอื งการปกครองของไทยแตละสมัย

ลกั ษณะสงั คม สโุ ขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี รตั นโกสนิ ทร ๑.พระมหากษัตรยิ  ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

๒.พระบรมวงศานุ ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… วงศ ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

๓.นกั บวช ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ๔. ขนุ นาง/ ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ขา ราชการ ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

๕. ไพร/สามญั ชน ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ๖. ทาส ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

ตวั อยาง แนวทางจดั การเรียนการสอนวชิ าประวัติศาสตรชาตไิ ทย หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๖๒

๔๔

แบบสังเกตการปฏิบตั ิงานและการนําเสนอ การวิเคราะหเปรียบเทียบลกั ษณะสังคมไทยแตละสมัย

และ การศึกษาลกั ษณะสังคมไทยในแตละสมยั

ช่อื กลุมผเู รยี น..............................................ชนั้ .....................แผนกวิชา...........................................