Strategic management การบร หารเช งกลย ทธ ม ล กษณะ

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า หมวดวิชาเอกบังคับ รหสั วชิ า ๒๐๘ ๔๐๙ การพฒั นาทักษะการคดิ เชิงกลยุทธส์ าหรบั ครู (Strategic Thinking Skill Development for Teacher) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์ ขนั แก้ว วิทยาลัยสงฆบ์ ุรรี ัมย์ วดั พระพุทธบาทเขากระโดง ตาบลเสมด็ อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

บท สารบญั หนา้ คานา ก สารบัญ ข รายละเอียดประจาวิชา ฆ บทที่ ๑ หลักการเชงิ กลยทุ ธ์ ๑ ๑.๑ ความนา 1 ๑.๒ ความหมาย 2 ๑.๓ กระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ 3 1.4 ลักษณะสาคัญของการบรหิ ารเชิงกลยุทธ์ 12 1.5 ความสาคัญและประโยชน์ของการบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ 14 1.6 ปัจจยั ที่ทาใหก้ ารบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์บรรลผุ ลสาเรจ็ 16 สรุปทา้ ยบท ๑9 เอกสารอ้างองิ ประจาบท 20 บทท่ี ๒ กระบวนการคดิ เชงิ กลยุทธ์ 21 ๒.๑ ความนา 21 ๒.๒ ความรบั ผดิ ชอบของผบู้ ริหารระดับสงู สดุ 21 ๒.๓-ลาดับขั้นของกลยุทธ์ 23 ๒.๔ การคิดเชงิ กลยุทธ์ 24 ๒.๕ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 27 2.6 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 29 2.7 การกาหนดกลยทุ ธ์ 32 2.8 การนากลยุทธ์ไปใช้ 38 สรปุ ท้ายบท 39 เอกสารอ้างอิงประจาบท 40 บทท่ี ๓ เทคนคิ การตดั สนิ ใจ 41 ๓.๑ ความนา 41 ๓.๒ ความหมาย 41 ๓.๓ ระดับการตัดสนิ ใจ 42 3.4 ประเภทการตดั สนิ ใจ 44 3.5 ขัน้ ตอนการตดั สนิ ใจ 46 3.6 ตวั แบบการตดั สนิ ใจ 50 3.7 เทคนคิ การตดั สนิ ใจเชงิ ปรมิ าณ เชิงคณุ ภาพและเทคนิคแก้ไขปัญหา 54 สรปุ ทา้ ยบท 58 เอกสารอ้างอิงประจาบท 59

บท สารบญั หนา้ บทที่ ๔ วธิ กี ารเจรญิ สตสิ าหรบั ครู 60 ๔.๑-ความนา 60 ๔.๒ แนวคิดเก่ยี วกับเจรญิ สติ 61 ๔.๓ ความหมายของสติและการเจริญสติ 62 ๔.๔ ความสาคญั ของการเจริญสติ 64 ๔.๕ ประเภทของการเจริญสติ 67 ส๔.๖ ทฤษฎกี ารเจริญสติตามหลักสตปิ ัฏฐาน ๔ 70 สรุปท้ายบท 82 เอกสารอา้ งองิ ประจาบท 83 บทที่ ๕ คุณธรรมของวชิ าชพี ครู 84 ๕.๑ ความนา 84 ๕.๒ ความหมาย 84 ๕.๓ ความสาคญั 86 5.4 คณุ ธรรมของวชิ าชพี ครู 88 5.5 การปลกู ฝังคุณธรรมในวิชาชพี ครู 101 สรปุ ทา้ ยบท 104 เอกสารอ้างอิงประจาบท 106 บทที่ ๖ หลักคดิ แบบเกมหมากลอ้ ม 107 ๖.๑ ความนา 107 ๖.๒ ประวัติความเปน็ มาของหมากลอ้ ม 108 ๖.๓ กฎ กติกา การเลน่ หมากลอ้ ม 111 6.4 ประโยชนจ์ ากการเลม่ หมากล้อม 117 สรุปทา้ ยบท 121 เอกสารอา้ งอิงประจาบท 122 บทที่ ๗ ทกั ษะการคดิ 123 ๗.๑ ความนา 123 ๗.๒-ความหมาย 123 ๗.๓-ลักษณะของการคดิ วเิ คราะห์ 126 ๗.๔-แนวคิดทฤษฎีเกย่ี วกับการคิดวิเคราะห์ 133 ๗.๕ ความจาเปน็ และความสาคญั ของการคดิ วิเคราะห์ 137 7.6 แนวทางการสอนใหเ้ กิดความคิดวิเคราะห์ 138 สรุปท้ายบท 142 เอกสารอา้ งอิงประจาบท ๑43

บท สารบญั หนา้ บทท่ี ๘ การคิดแกป้ ญั หา ๑45 ๘.๑ ความนา ๑45 ๘.๒ ความหมาย 145 ๘.๓ ประเภท ๑48 ๘.๔-ปัจจัยท่มี ีอิทธพิ ลต่อการคดิ แกป้ ัญหา ๑49 ๘.๕ ลกั ษณะของการคิดแกป้ ัญหา ๑51 8.6 คุณสมบตั ขิ องนักคิดแก้ปัญหา 152 8.7 กระบวนการแก้ปัญหา 153 8.8 เทคนิควธิ ีการคดิ แกป้ ญั หา 156 สรุปทา้ ยบท ๑60 เอกสารอ้างอิงประจาบท ๑61 บทที่ 9 ทฤษฏีการเรยี นรกู้ บั การสอน 163 9.๑ ความนา 163 9.๒ ทฤษฎีเก่ียวกบั การจัดการศึกษา 164 9.๓ แนวคดิ เกย่ี วกับการจดั การศกึ ษา 171 ๙.๔ เหตผุ ลท่ีคนไทยต้องเรยี นร้พู ระพุทธศาสนา 180 สรปุ ทา้ ยบท 182 เอกสารอา้ งองิ ประจาบท 184 บทที่ 10 ทักษะกระบวนการกลมุ่ 185 10.ความนา 185 10.2 ความหมาย 185 10.3 ทฤษฎีเกย่ี วกบั กลุ่มสัมพนั ธ์ 186 10.4 หลักการสอนตามทฤษฎีกระบวนการกลุ่มสมั พันธ์ 189 10.5 ปรชั ญาเกี่ยวกบั การทางานเปน็ กลุม่ 191 10.6 จดุ มุ่งหมายของกล่มุ สัมพนั ธ์ 192 10.7 การเตรยี มการสอนกลมุ่ สัมพันธ์ 194 10.8 วธิ ีการสอนกระบวนการกลุม่ สมั พันธ์ 194 10.9 ขนาดของกล่มุ สมั พันธ์ 195 10.10 เวลาและจานวนครง้ั ในการเข้ากลุ่ม 196 10.11 ประโยชน์ของกลุ่มสมั พนั ธ์ 197 สรุปทา้ ยบท 198 เอกสารอ้างอิงประจาบท 199 บรรณานกุ รม 200

บทที่ 1 หลกั การเชงิ กลยทุ ธ์ 1.1 ความนา นักธุรกิจปัจจุบันย่อมตระหนักเป็นอย่างดีว่า การเข้าสู่โลกยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 น้ัน สภาพแวดล้อมของการแข่งขันทางธุรกิจในทุกด้าน ไม่ว่าทางด้ายเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ กฎหมาย เทคโนโลยี และวฒั นธรรม ไดเ้ ปล่ยี นแปลงไปจากเดิมมาก และมีแนวโน้มนับวันจะย่ิงทวีอัตรา การเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากข้ึนทุกที การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมดังกล่าว ก่อให้เกิดจากปัจจัย ตวั แปรอยา่ ง นอ้ ยทส่ี ดุ 3 อย่างเปน็ แรงผลกั ดนั อันสาคญั กล่าวคือ ประการแรก เกิดจาก “กระแสโลกาภิวัตน์” (globalization) ทาให้คนทั่วโลกสามารถติดต่อ เขา้ ถงึ กันไดห้ มด ชนดิ ไร้พรมแดนโลกที่เคยคิดกันว่ามีอาณาเขตใหญ่โตกว้างใหญ่ไพศาล กลับถูกมองว่า มขี นาดเลก็ ลงดว้ ยอทิ ธิพลของเครื่องมอื ส่ือสารยคุ ใหม่ ประการท่ี 2 เกิดจาก “การเปล่ียนแปลงทางด้านเทคโนโลยี” (technological change) โดยเฉพาะอย่างย่ิงความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology : IT) และ การส่ือสารโทรคมนาคมผา่ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เน็ต แฟ็กซ์ และโทรศัพท์มือถือได้เข้ามามี บทบาท เกย่ี วข้องทง้ั ทางธรุ กจิ และชีวติ ประจาวนั ของคนมากขึ้น ทาให้สังคมเปลยี่ นไป และ ประการท่ี 3 เกิดจาก “การผ่อนคลายกฎระเบียบทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ” (deregulation) ทาใหป้ ระเทศตา่ งๆ เกดิ เสรีทางการค้า ตลาดขยายตัวมีขอบเขตกว้างขึ้นกลายเป็นตาด โลก นักลงทุนจากต่างแดนได้นาเงินไปลงทุนในประเทศต่างๆ มากข้ึน จนทาให้เกิดบริษัทข้ามชาติ เกิดขึ้นมากมาย ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นเสมือนประกาศิต บีบบังคับให้ทุกบริษัทจะต้องปรับตัวเพ่ือความอยู่รอด จึงก่อให้เกิดการ แขง่ ขนั ท่ีเข้มข้นและรุนแรงมากย่ิงขึ้น ทุกขณะ และทั้งรูปแบบการแข่งขันก็เปล่ียนแปลงไปจากเดิมโดย สิ้นเชิง เพราะการแข่งขันในปัจจุบันจะ มุ่งเน้นกันท่ีความรวดเร็ว ความแม่นยา และทันต่อเหตุการณ์ เพ่อื สรา้ งความได้เปรยี บเปน็ สาคญั ค่แู ขง่ ขันก็ ไม่จากัดเฉพาะคู่แข่งภายในประเทศเท่าน้ัน แต่คู่แข่งจาก ต่างชาตทิ ม่ี ีศักยภาพสูงท้ังด้านการเงินและเทคโนโลยี สมัยใหม่ ได้เข้ามาเป็นคู่แข่งท่ีท้าทายในเกือบทุก อุตสาหกรรม ดังน้ันการบริหารจัดการจึงจาเป็นต้อง เปล่ียนแปลงรูปแบบใหม่หมด เพราะรูปแบบการ บริหารแบบเดิมที่มุ่งเน้นให้ความสนใจเฉพาการบริหารภายในองค์การ โดยมองข้ามไม่สนใจต่อ สภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเปลีย่ นไป จะไมส่ ามารถดาเนนิ ธุรกจิ ได้อกี ต่อไป ในภาวะท่ีสภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปล่ียนแปลงพลิกผันดังกล่าว การจัดการเชิงกลยุทธ์ (strategic management) จึงกลายเป็นกลไกอันสาคัญที่ผู้บริหารยุคใหม่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้จัดการ ทุกระดบั จาเป็น จะต้องศึกษาความเข้าใจเพื่อปรับกระบวนทัศน์ (paradign) ใหม่ทางด้านการจัดการให้ สอดคล้องกับ สภาวการณ์ท่ัวไปในยุคปัจจุบัน ผู้จัดการจะต้องรู้จักการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ัง ภายในและภายนอกบริษัท และรู้จักฉกฉวยโอกาสท่ีเกิดข้ึนจากภายนอก มาทาให้เกิดประโยชน์ การดาเนินธุรกิจ เพ่ือสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน (competitive advantage) และหาทาง เล่ียงภยันตรายท่ีจะเกิดขึ้น หรือให้เกิดข้ึนน้อยท่ีสุด ผู้บริหารระดับสูง จาเป็นจะต้องรู้จัก “เลือก” คน “นา” คน นาจุดแข็งและความรู้ ความสามารถของคนมาหลอมรวมให้เป็นหน่ึงเดียว เพื่อเสริมสร้าง

การพฒั นาทกั ษะการคดิ เชงิ กลยทุ ธ์สาหรับครู ๒ ศักยภาพด้านการแข่งขันและการปรับตัวให้ เกิดขึ้นในองค์การ เพื่อสร้างองค์การให้เป็นองค์การ แห่งการเรยี นรู้ (learning organization) ท่สี ามารถ พัฒนาก้าวทนั กบั การเปล่ียนแปลงได้อย่างต่อเน่ือง และสิ่งสุดท้ายท่ีสาคัญที่สุดคือ ผู้บริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์ (vision) เพื่อสร้างภาพท่ีอยากให้องค์การ เปน็ ไปในอนาคต (scenario) เพอ่ื กาหนดเป็นแนวทางในการ ดาเนินงาน รวมท้ังจะต้องรู้จักวางแผนกล ยุทธ์ เพราะกลยุทธ์เป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนองค์การไปสู่ ความสาเร็จหรือความเป็นเลิศในยุค ปจั จุบัน ดังนั้นในบทนี้ ในตอนแรกใคร่ขอทาความเข้าใจในความหมายและความสาคัญของกลยุทธ์ กอ่ น ลองอ่านขอ้ ความตอ่ ไปนี้ดู Without a strategy, an organization is like a ship without a rudder, going around in circles. It’s like a tramp; it has no place to go. (หากปราศจากกลยุทธ์แล้ว องค์การก็เปรียบได้กับเรือท่ีไม่มีหางเสือ จะหมุนไปรอบๆ เหมือน คนจร จัด ไมร่ ู้จะเดินไปท่ไี หนดี) Joel Ross and Michael Kami Of all the contrasts between the successful and the unsuccessful business, or between the corporate leader and its followers, the single most important differentiating factor is strategy. (ในบรรดาสิ่งเปรียบเทียบท้ังมวลท่ีแยกให้เห็นความแตกต่างระหว่างธุรกิจที่ประสบผลสา เร็จ และไม่ประสบผลสาเร็จ หรือความแตกต่างระหว่างบริษัทผู้นากับบริษัทผู้ตาม สิ่งเปรียบเทียบที่สาคัญ ทส่ี ดุ สงิ่ เดยี วที่ แยกให้เห็นความแตกตา่ งก็คือ กลยทุ ธ์ นน่ั เอง) 1.2 ความหมาย นักวิชาการได้ให้ความหมายของคาวาการบริหารเชิงกลยุทธ์(Strategic Management) ไว้ จานวนมาก และจะอธิบายความหมายของคาว่ากลยุทธ์(Strategic) ดังต่อไปนี้ ฟิทส์และเลย์ (Fitts and Lei, 2000 : 6) ได้ให้ความหมายว่ากลยุทธ์เป็นความคิด แผนงาน และการกระทาทีอ่ งคก์ ารนามาใช้กอ่ ใหเ้ กิดผลสาเร็จและไดเ้ ปรียบคู่แขง่ ขนั เพิร์ซและโรบินสัน (Pearce and Robinson, 2000 : 3) ได้ให้นิยามไว้ว่า การบริหาร เชิงกล ยุทธ์หมายถึง ชุดของการตัดสินใจและการปฏิบัติการต่างๆ ซึ่งจะมีผลต่อการวางแผนและ การปฏิบัติ ตามแผน ซึง่ ออกแบบขนึ้ เพ่ือช่วยให้วัตถปุ ระสงค์ของบรษิ ัทบรรลผุ ลสาเรจ็ เชอร์เมอร์ฮอร์น (Schermerhorn, 2002 : 203) กล่าวว่า กลยุทธ์หมายถึง แผนแม่บทหรือ แผนปฏิบัติการที่มีความสาคัญสาหรับองค์การเพื่อใช้ในการกาหนดทิศทางในการดาเนินงานให้บรรลุ เป้าหมายและเกดิ ประโยชน์ในการแข่งขัน วีลเลนและฮังเกอร์ (Wheelen1 and Hunger, 2006 : 3) การบริหารเชิงกลยุทธ์ หมายถึง การ ตดั สนิ ใจและการปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆ เพ่อื ใหอ้ งค์การประสบผลสาเร็จในการดาเนินงานระยะยาว ฮรูและฮอลแลนด์ (Rue and Holland, 1989 อ้างถึงใน วรวุฒิ ทวีปวรเดช, 2550 : 8) การบริหารเชิงกลยุทธ์คือกระบวนการซึ่งผู้บริหารระดับสูงกาหนดวัตถุประสงค์ที่จะบรรลุแล้วกาหนด นโยบายยุทธศาสตร์ เพื่อจะบรรลุวัตถุประสงค์ ตลอดจนกาหนดแผนระยะสั้น เพ่ือความม่ันใจว่า ยทุ ธศาสตร์น้ีถูกนาไปปฏิบัติอย่างถูกตอ้ ง

การพัฒนาทักษะการคดิ เชงิ กลยุทธส์ าหรบั ครู ๔๔ 3. ปัญหาที่เป็นโอกาส (Opportunity Problems) หมายถึง ปัญหาที่เก่ียวข้องกับ ผลกระทบ ด้านบวก การใหผ้ ลประโยชน์ต่อองคก์ าร ปัญหานี้มคี วามกดดันน้อยกวา่ 2 ปัญหาแรก ธร สุนทรยุทธ๑๑ กล่าวว่าประเภทการตัดสนิ ใจสามารถพจิ ารณาได้ หลายประการ ดงั น้ี 1. การตัดสินใจโดยเอกบุคคลและการตัดสินใจโดยกลุ่ม การตัดสินใจโดยเอกบุคคล เป็นการตัดสินใจโดยบุคคลคนเดียว ภาคธุรกิจที่มีเจ้าของประกอบการเพียงคนเดียว การตัดสินใจ โดยกลมุ่ สว่ น ใหญ่เป็นรูปคณะกรรมการ เป็นการระดมสมองความคิดเพ่ือตัดสินใจ เรื่องมีความซับซ้อน มีผลกระทบผมู้ สี ่วนได้เสยี มรี ปู แบบของการตัดสินใจ เช่น การประชุมแลกเปลี่ยนถกเถียง ให้ข้อมูลการ อภิปรายอย่างมเี หตผุ ล 2. การตัดสินใจในส่วนตัว และการตัดสินใจในองค์การ การตัดสินใจในองค์การ เป็นการ ตัดสินใจในแง่ผลประโยชน์ส่วนตัวของตนเองมากกว่าองค์การ เช่น ในแง่ของความปลอดภัย สถานภาพ อนาคตของตนเอง เขาอาจคานึงถงึ ผลกระทบของการตัดสินใจ ส่วนการตัดสินใจใน องค์การ ผู้นาการตัดสินใจจาเป็นต้องยึดม่ัน ในเป้าหมายขององค์การที่จะต้องให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 3. การตัดสินใจที่กาหนดไว้ล่วงหน้าและการตัดสินใจที่ไม่กาหนดไว้ล่วงหน้าการ ตดั สินใจทก่ี าหนดไว้ล่วงหน้า หมายถึง การแกไ้ ขปัญหาสาหรับปัญหาใดๆโดยเฉพาะที่มีการเตรียมการไว้ บ้างแล้ว ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับ กฎ ระเบียบ นโยบาย เร่ืองเหล่าน้ีมักเกิดข้ึนเป็นประจา ผู้บริหาร มีความคุ้นเคย และมีทางเลือกในการตัดสินใจน้อย ส่วนการตัดสินใจที่ไม่กาหนดไว้ล่วงหน้า เป็นกระบวนการแก้ไข ปัญหาที่มีความคลุมเครือ และสลับซับซ้อน ไม่เป็นไปตามกฎ ระเบียบ นโยบาย ปฏิบัติอาศัยความรู้ ความสามารถความคิดสร้างสรรค์ดุลยพินิจ และสานึกส่วนตัวของผู้บริหาร หากตัดสินใจอย่างถูกต้องมีความสอดคล้องแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพอันเป็นลักษณะท่ีดี ของผูบ้ รหิ าร 4. การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์และการตัดสินใจเชิงดาเนินการยุทธศาสตร์ ตามสถานการณ์คือ การตัดสินใจสามารถจัดอันดับตามศักยภาพในการจัดการกับความซับซ้อน และ สภาวะการเพ่ิมความไม่แน่นอนและความขัดแย้งการตัดสินใจกระทาตามการเปรียบเทียบระหว่างผล ที่ตามมาของทางเลอื กต่างๆ และตามระดบั ความต้องการของผู้ตัดสินใจ วรพจน์ บุษราคัมวดี๑๒ ได้กล่าวว่า จากความหมายของการตัดสินใจ ผู้บริหารแต่ละคนอาจให้ ความหมายและความสาคัญของการตดั สนิ ใจ ทีแ่ ตกต่างกนั ออกไปใน รายละเอียดของแต่ละสถานการณ์ ในสว่ นทพ่ี ิจารณาเหมอื นกนั ดังน้ี 1. กระบวนการการตัดสินใจ เป็นการตัดสินใจที่ต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์และ พิจารณา ถึง ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากน้ันผู้บริหารจึงทาการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมและดีที่สุด สาหรับกระบวนการตัดสนิ ใจประกอบด้วยข้ันตอนการแสวงหาข้อมูล การออกแบบการตัดสินใจ รวมท้ัง การ ตดั สินใจเลือกทางเลือกเพ่ือให้สามารถเลือกทางเลือกได้ดีท่ีสุด ดังนั้นในการวิเคราะห์และพิจารณา จะตอ้ งมกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศ และผา่ นกระบวนการตดั สินใจนนั่ เอง ๑๑ ธร สนุ ทรยุทธ, การบรหิ ารจดั การเชงิ ปฏริ ปู : ทฤษฎี วจิ ยั และปฏบิ ตั ทิ างการศกึ ษา, (กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั เนติกุลการพมิ พ์ จากดั , 2551), หน้า 392 – 393. ๑๒ วรพจน์ บุษราคมั วดี, วชิ าองคก์ ารและการจดั การ, (ปทมุ ธานี คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราช ภฏั วลยั อลงกรณ์ในพระบรมราชปู ถมั ภ์, 2553), หนา้ 111 – 112.