Sks แคปซ ล ล าง ลำไส ม ขาย ท ไหน

อึดอัด แน่นท้อง ท้องผูก ใส่อะไรก็ไม่มั่นใจเพราะพุงออก หากปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นกับคุณ เชื่อว่าคุณคงจะสนใจเรื่องการดีท็อกซ์ขึ้นมาบ้างล่ะ ว่าแต่ดีท็อกซ์ที่แท้จริงคืออะไรกันนะ? มาหาคำตอบกันในบทความนี้ได้เลย


เลือกหัวข้อที่สนใจเกี่ยวกับดีท็อกซ์ที่นี่


ดีท็อกซ์ คืออะไร?

ดีท็อกซ์ (Detox) คือคำที่ใช้เรียกการกำจัดสารพิษ สิ่งสกปรก ที่ตกค้างในร่างกายออกมา จริงๆ แล้วคำว่า Detox นั้นมาจากคำเต็มว่า Detoxification ที่มีความหมายว่าล้างพิษนั่นเอง

การดีท็อกซ์นั้นสามารถทำได้หลายวิธี แต่ที่จะพูดถึงในบทความนี้คือการดีท็อกซ์ด้วยการสวนล้างลำไส้ (Colon cleanse, Colonic irrigation หรือ Colonic detoxification) ซึ่งเป็นวิธีดีท็อกซ์ยอดนิยม

วิธีการก็คือใช้อุปกรณ์ใส่น้ำหรือสารบางอย่าง เช่น น้ำเกลือ (NSS) บีบสวนเข้าทางทวารหนักเพื่อให้น้ำเข้าไปกวาดเอาสิ่งสกปรก แล้วขับออกมาทางอุจจาระ (ลักษณะคล้ายการเร่งถ่าย)

Sks แคปซ ล ล าง ลำไส ม ขาย ท ไหน

ประโยชน์ของการดีท็อกซ์

การดีท็อกซ์ด้วยการสวนล้างลำไส้ มีประโยชน์ที่อาจเป็นไปได้ดังนี้

  • ช่วยแก้ปัญหาท้องผูก อุจจาระไม่ออก
  • ช่วยบรรเทาอาการลำไส้แปรปรวน (Irritable bowel syndrome) ท้องผูกสลับกับท้องเสีย
  • อาจมีส่วนช่วยให้น้ำหนักลดลงชั่วคราว เพราะถ่ายของเสียออกมา
  • อาจมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ เพราะของเสียที่ตกค้างเป็นเวลานาน อาจเพิ่มความเสี่ยงมะเร็งได้
  • อาจมีส่วนช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันดีขึ้น เนื่องจากลำไส้ดูดซึมได้ดีขึ้น รู้สึกมีพลังงานมากขึ้น

แต่ก่อนจะตัดสินใจ! ประโยชน์จากการดีท็อกซ์ด้วยการสวนลำไส้นี้ยังคงไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันได้ชัดเจน การดีท็อกซ์ด้วยการสวนลำไส้จึงเป็นการรักษาแบบทางเลือกเท่านั้น

นั่นหมายความว่าควรขอคำแนะนำจากแพทย์ หรือต้องทำโดยมีบุคลากรทางการแพทย์ เช่น หมอ พยาบาล คอยกำกับดูแล

ใครไม่ควรดีท็อกซ์ล้างลำไส้

แม้คนส่วนใหญ่จะไม่ต้องทำดีท็อกซ์ล้างลำไส้ เพียงแค่รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำเยอะๆ และออกกำลังกายเป็นประจำก็ช่วยให้ลำไส้ทำงานได้อยู่แล้ว

แต่สำหรับบางคนอาจถึงขึ้นต้องหลีกเลี่ยงการทำดีท็อกซ์ล้างลำไว้ เพราะอาจเกิดผลกระทบที่เป็นอันตรายได้ ดังนี้

  • ผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคถุงผนังลำไส้อักเสบ (Diverticulitis) โรคระบบทางเดินอาหารอักเสบเรื้อรัง (Crohn’s Disease) ลำไส้อักเสบ (Ulcerative Colitis) เป็นต้น
  • ผู้ที่เพิ่งผ่านการผ่าตัดลำไส้
  • ผู้ที่เป็นโรคไต (Kidney Disease)
  • ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ

ผู้ที่มีเงื่อนไขต่างๆ ดังที่กล่าวมา อาจเสี่ยงต่อภาวะขาดน้ำ (Dehydration) ไตวาย เกิดการติดเชื้อ หรือภาวะอื่นๆ ได้ เว้นแต่แพทย์ผู้ดูแลจะอนุญาตเท่านั้น

นอกจากนี้ยังรวมถึงผู้อื่นๆ ที่แม้จะไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขดังกล่าว ก็ควรสอบถามกับผู้ให้บริการก่อนทำดีท็อกซ์ล้างลำไส้ด้วยว่าวิธีนี้เป็นวิธีที่เหมาะสมต่อตัวคุณหรือมีข้อห้ามใดๆ เพิ่มเติมหรือไม่

ควรดีท็อกซ์สวนล้างลำไส้บ่อยแค่ไหน?

ไม่มีจำนวนแน่ชัดในการให้แนะนำว่าควรสวนล้างลำไส้บ่อยแค่ไหน เพราะโดยปกติร่างกายมีกลไกการกำจัดสารพิษและสิ่งสกปรกออกได้ด้วยตัวเองอยู่แล้ว

แพทย์จะสวนล้างลำไส้ในกรณีที่เห็นสมควรเท่านั้น เช่น ผู้ที่มีปัญหาท้องผูกอย่างหนัก ผู้ที่กำลังจะรับการผ่าตัดบางชนิด ผู้ที่กำลังจะรับการเอกซเรย์ลำไส้ (และกลัวอุจจาระบังภาพ)

ดังนั้น การดีท็อกซ์สวนล้างลำไส้ ควรทำเฉพาะเวลาที่มีปัญหาอันสมควรเท่านั้น หรือเลือกทำด้วยวิธีธรรมชาติ เช่น ดื่มน้ำมากๆ กินผักผลไม้สม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงอาหารย่อยยาก

ความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการดีท็อกซ์

การดีท็อกซ์ล้างลำไส้ อาจมีความเสี่ยงหรือผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้

  • ปวดหรือเจ็บช่องท้อง
  • รู้สึกแน่น
  • ท้องอืด
  • คลื่นไส้
  • อาเจียน
  • เจ็บบริเวณทวารหนัก
  • อาจทำให้ลำไส้ทะลุ

การดีท็อกซ์ล้างลำไส้จึงควรทำกับผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการฝึกอบรมมา เพื่อลดความเสี่ยงต่างๆ ลงให้ได้มากที่สุดที่จะเป็นไปได้

Sks แคปซ ล ล าง ลำไส ม ขาย ท ไหน

ข้อควรระวังในการดีท็อกซ์

อย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่า การดีท็อกซ์สวนลำไส้นั้นควรทำโดยบุคลากรทางการแพทย์ หรือได้รับการอนุมัติจากบุคลากรทางการแพทย์ เพราะหากซื้ออุปกรณ์มาทำด้วยตัวเอง อาจเกิดปัญหา ดังนี้

การตรวจลำไส้เล็กด้วยวิธีการกลืนแคปซูลคืออะไร?

การตรวจลำไส้เล็กด้วยวิธีการกลืนแคปซูลเป็นนวัตกรรมล่าสุด ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคในระบบทางเดินอาหาร ด้วยการกลืนแคปซูลติดกล้องบันทึกภาพขนาดจิ๋ว เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางเดินอาหาร กล้องชนิดนี้สามารถตรวจได้ถึงส่วนที่ลึกที่สุดของลำไส้เล็กในจุดที่การส่องกล้อง โดยทั่วไปเข้าไม่ถึงได้ผลการตรวจที่ละเอียด ถูกต้อง แม่นยำและมีประสิทธิภาพ เหมาะสำหรับการตรวจหาความผิดปกติ เช่น มีอาการปวดท้องอยู่บ่อยๆ หรือปวดแบบบิดๆ ตรวจหาสาเหตุของโรคเท่าไหร่ก็ตรวจไม่พบเสียทีว่ามีความผิดปกติที่ใด เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลมากเกินไป โดยเฉพาะลำไส้เล็ก ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ลึกที่สุดยากต่อการตรวจหาโรค

แคปซูล หรือ แคปซูลเอ็นโดสโคป คืออะไร?

แคปซูล หรือ “แคปซูลเอ็นโดสโคป” เป็นวัสดุขนาดเล็กและเบา ซึ่งมีลักษณะปลายมนโค้งเป็นพลาสติกใส มีเลนส์ และตัวให้แสงสว่างในการถ่ายภาพ พร้อมด้วยตัวบันทึกภาพ โดยผู้เข้ารับการตรวจสามารถกลืนแคปซูลพร้อมน้ำ ได้อย่างสบาย ไม่ต้องเคี้ยว หลังจากนั้นแคปซูลจะเดินทางไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหารโดยเริ่มจากปากไปยังหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร (Stomach) ลำไส้เล็กตอนต้น (Duodenum) ลำไส้เล็กตอนกลาง (Jejunum)ลำไส้เล็กตอนปลาย (IIeum) ช่วงลิ้นเชื่อมต่อก่อนถึงลำไส้ใหญ่ (IIeo –cecal Valve) กระพุ้งแรกของลำไส้ใหญ่ (Cecum) และลำไส้ใหญ่ (Colon) ซึ่งจะบันทึกภาพระบบภายในและส่งสัญญาณต่อเนื่องเชื่อมเข้าเก็บบันทึกไว้ใน เครื่องบันทึกภาพ ทำให้แพทย์สามารถตรวจวินิจฉัยได้อย่างสะดวกแม่นยำ โดยในช่วงเวลา 8 ชั่วโมงระหว่างกลืนแคปซูลลงไปในท้องนั้น ผู้เข้ารับการตรวจสามารถที่จะเคลื่อนไหว หรือทำงานได้ตามปกติ และไม่มีความเจ็บปวด ก่อนที่แคปซูลจะถูกถ่ายออกมาพร้อมอุจจาระ และเมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนการวินิจฉัยนี้แล้ว แพทย์จะนำภาพและข้อมูลดังกล่าวไปวิเคราะห์ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ (Rapid Workstation) เพื่อให้การรักษาคนไข้ได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ และถูกต้องตรงจุดสาเหตุของโรคต่อไป

ข้อบ่งชี้ในการตรวจ

  • ภาวะซีดหรือโลหิตจางโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือสงสัยว่าอาจจะเกิดจากลำไส้เล็กอาการท้องเสียเรื้อรัง
  • ปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุสงสัยว่าจะมีเนื้องอกในลำไส้เล็ก

ขั้นตอนการตรวจ

  • ผู้เข้ารับการตรวจจะกลืนแคปซูลขนาด 24×11 มิลลิเมตร ที่มีกล้องขนาดจิ๋วติดอยู่พร้อมน้ำโดยไม่ต้องเคี้ยว
  • จากนั้นแคปซูลจะเดินทางไปตามส่วนต่างๆ ของระบบทางเดินอาหาร โดยอาศัยการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ พร้อมกับถ่ายภาพและส่งเป็นสัญญาณวิทยุมายังชุดรับสัญญาณที่ติดอยู่บริเวณหน้าท้องของผู้ป่วย
  • การตรวจวินิจฉัยด้วยการใช้กล้องแคปซูลจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 8 ชั่วโมง หลังการกลืนแคปซูลประมาณ 2 ชั่วโมง
  • ผู้เข้ารับการตรวจสามารถรับประทานของเหลว หรือขนมขบเคี้ยวได้บ้าง
  • ระหว่างการตรวจผู้เข้ารับการตรวจสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ตามปกติ

การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจ

  • ก่อนการตรวจด้วยกล้องแคปซูล ผู้เข้ารับการตรวจต้องแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับยาที่ใช้ การแพ้ยา และโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ให้แพทย์ทราบ รวมถึงหากเคยผ่าตัด เช่น ผ่าตัดหัวใจ ผ่าตัดหน้าท้อง เคยมีการอักเสบของลำไส้ ใส่ pacemaker
  • ผู้เข้ารับการตรวจต้องงดน้ำและอาหารก่อนกลืนแคปซูล 12 ชั่วโมง
  • ผู้เข้ารับการตรวจต้องรับประทานยาระบายก่อนการตรวจเพื่อเตรียมลำไส้ให้ว่าง

ข้อดีของการตรวจลำไส้เล็กด้วยวิธีการกลืนแคปซูล

  • ผู้เข้ารับการตรวจไม่ต้องบอกซ้ำหรือเจ็บตัวจากการตรวจด้วยวิธีแบบเดิมๆ เช่น การกลืนแป้งเอกซเรย์
  • กล้องแคปซูลสามารถหารอยโรคภายในลำไส้เล็ก ในช่วงที่มีความยาวมาก และในจุดที่ลึกมากได้
  • ไม่ต้องใช้ยาสลบ
  • สามารถเห็นภาพสีสามมิติของลำไส้เล็กได้โดยไม่ต้องผ่าตัด
  • แพทย์สามารถวินิจฉัยอาการเจ็บป่วยได้อย่างแม่นยำ ทำให้สามารถเลือกใช้วิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุดได้

ข้อจำกัดและภาวะแทรกซ้อนของการตรวจลำไส้เล็กด้วยวิธีการกลืนแคปซูล

ภาวะลำไส้อุดตันจากการตีบแคบของลำไส้ ซึ่งเกิดได้จากการอักเสบของลำไส้ เคยผ่าตัดช่องท้องหรือก้อนเนื้องอก ซึ่งจะทำให้มีอาการท้องอืด ปวดท้อง และ/หรืออาเจียนขณะกลืนแคปซูล หากมีอาการดังกล่าวควรรีบแจ้งแพทย์ทันที

ดีท็อกซ์ลดพุงตัวไหนดี

1. CHAME' Sye S ชาเม่ อาหารเสริมลดน้ำหนัก บล็อคแป้ง ลดความอยากอาหาร เร่งเผาผลาญ.

2. Mc.Plus Activ บล็อคไขมัน 20 เม็ด x 2 กล่อง.

3. ADELLA โปรตีนพืช เวย์โปรตีน ช่วยลดน้ำหนัก ลดพุง.

4. MK Fiber Plus เอ็มเค ไฟเบอร์ พลัส ปรับสมดุลลำไส้ ดีท็อกซ์ ลดพุง.

5. Fiber S ไฟเบอร์พุงยุบ ลดสัดส่วน ดีท็อกซ์ ขับถ่ายง่าย.

ล้างลำไส้กี่บาท

ควรทำ “Detox” บ่อยแค่ไหน.

กินอะไรช่วย Detox ลำไส้

10 สารอาหารช่วยดีท็อกซ์ลำไส้ ลดพุง ขับถ่ายง่ายสบายท้อง.

แอปเปิ้ล ... .

อะโวคาโด ... .

บีตรูต ... .

ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ... .

พริก ... .

เมล็ดเจีย ... .

ผลไม้ตระกูลซิตรัส ... .

กระเทียม.

มะเร็งลำไส้ระยะที่ 3 รักษาหายไหม

มะเร็งลำไส้ระยะแพร่กระจาย สามารถรักษาได้ การหายขาดเป็นเรื่องที่ทำได้อยู่แล้ว โดยหากเจอในระยะที่ 1 – 2 ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะหายขาด แต่ระยะที่ 3 ต้องดูว่าการลุกลามไปถึงขั้นไหน ซึ่งสามารถหายขาดได้เช่นเดียวกัน