การเข ยนโปรแกรมภาษาไพทอนด วย python ide ม ว ธ การอย างไร

1. สร้างโปรเจกต์ โดยเลือกเมนู File -> New Project… แล้วตั้งช่ือให้กับโปรเจกต์ จากน้ันคลิกปุ่ม Create

ซึ่งโปรเจกต์จะเป็นแหล่งรวมโปรแกรมไพทอนทีน่ กั เรียนสรา้ งขึ้น โดยอาจมีหลายโปรแกรมสาหรับงานขนาดใหญ่

1

2

2. สร้างโปรแกรมไพทอนในโปรเจกต์ โดยเลือกเมนู File -> New… -> Python File ป้อนช่ือไฟล์

โปรแกรมไพทอนในช่อง Name: แลว้ คลิกปุ่ม OK จะได้ไฟล์ใหม่ที่อยู่ภายใต้โปรเจกต์ที่สร้างข้ึน หลังจากน้ันนักเรียน

สามารถเขียนโปรแกรมไพทอนได้

3. การบับทกึ ไฟลแ์ ละโปรเจกต์ ใหเ้ ลือกเมนู File -> Save all

4. การรนั โปรแกรมที่สร้างข้ึน ใหค้ ลิกท่ปี มุ่ (Execute)

3.1.2 การเขยี นโปรแกรมไพทอนออนไลน์

หากคอมพวิ เตอร์ที่ใช้งานอยูเ่ ชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ต นกั เรียนสามารถฝกึ ฝนการเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอนแบบออนไลน์ได้จากเว็บไซต์ที่บริการตัวแปลภาษาไพทอน ซึ่งมีอยู่หลายเว็บไซต์ โดยไม่ต้อง

ตดิ ต้ังตัวแปลภาษาไพทอน หรือไพทอนไอดีอี เชน่ https://repl.it/languages/pyhon3

3.1.3 เรม่ิ ตน้ เขยี นโปรแกรมภาษาไพทอน

คาสั่งเบื้องต้นของภาษาไพทอนที่จะเรียนรู้ คือ คาส่ังที่ใช้แสดงผลทางจอภาพ และคาสั่ง ที่ใช้ในการรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ผ่านทางคีย์บอร์ด ในข้ันเร่ิมต้นนี้จะใช้คาสั่งไพทอนในโหมด อิมมีเดียท ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี้

ตวั อยา่ ง คาสัง่ Print() ที่แสดงผลออกทางหนา้ จอ

ทดลองพิมพ์คาสง่ั Hello World ตอ่ ไปนีใ้ นคอนโซล

จะได้ผลลพั ธ์ก็คือ

จากตัวอย่างที่ 3.1 อธิบายได้ว่า print () เปน็ คาสงั่ ชนิดฟังกช์ นั (function) ทาหนา้ ทีแ่ สดงสงิ่ ที่ อยู่ภายในเครื่องหมายวงเลบ็ () ออกทางจอภาพ ให้สังเกตผลลัพธท์ ีไ่ ด้ว่าไมม่ ีเครื่องหมาย “”

กจิ กรรม

ให้นักเรียนพิมพ์คาส่ังต่อไปนี้ลงในคอนโซล แล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้ว่าเหมือน หรือ แตกต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด

print (“3+5”) #บรรทดั ที่ 1

print (3+5) #บรรทัดที่ 2

ทดลองพิมพ์คาสัง่ ต่อไปนี้ในคอนโซล

จะได้ผลลพั ธ์กค็ ือ

จากตวั อยา่ ง จะเห็นวา่ บรรทัดที่ 1 ผลลัพธ์ คือ 3+5 บรรทัดที่ 1 ผลลัพธ์ คือ 8

*** นั่นหมายความว่า ถ้าข้อมูลอยู่ในเครื่องหมาย “ ” จะไม่มีการแปลความหมายใด ๆ และจะมองว่าข้อความน้ันเป็น

ตัวหนงั สือ

ใหพ้ ิมพค์ าสง่ั ตอ่ ไปนี้ #บรรทัดที่ 1

name = “IPST” #บรรทัดที่ 2 print (name)

หมายเหตุ ไพทอนจะใช้สัญลักษณ์ # แสดงจุดเร่มิ ต้นของการคอมเมนต์ (comment) ในแต่ละบรรทดั

ทดลองพิมพค์ าสั่ง ต่อไปนีใ้ นคอนโซล จะไดผ้ ลลัพธ์กค็ ือ

ตัวอยา่ ง คาสั่ง input () การรบั คา่

ให้พมิ พ์คาสัง่ ตอ่ ไปนี้

name = input (“Please enter your name”) #บรรทัดที่ 1 print (name) #บรรทัดที่ 2

หมายเหตุ ไพทอนจะใช้สัญลักษณ์ # แสดงจดุ เรมิ่ ตน้ ของการคอมเมนต์ (comment) ในแตล่ ะบรรทัด

ใหพ้ ิมพค์ าสัง่ ต่อไปนี้ จะได้ผลลพั ธค์ ือ

input () เป็นคาสงั่ ชนดิ ฟังก์ชนั (function) ทาหน้าที่รบั ขอ้ มูลเขา้ ที่ผูใ้ ช้ปอ้ นผา่ นคียบ์ อร์ด แล้วส่งคืน

สิ่งที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาเป็นข้อมูลชนิดสตริง ให้กับตัวแปรที่กาหนดไว้หน้าเครื่องหมาย = ในที่นี้คือตัวแปร name หลังจากนั้นบรรทดั ที่ 2 จะแสดงค่าในตัวแปร name ออกมาทางจอภาพ ซง่ึ ก็คือคาว่า sukanya

กิจกรรม ชนดิ ข้อมลู

c = 15 ผลลพั ธอ์ อกมาเปน็ d = “15” print (c) Error print (d) print (c+d)

ทาไมถึง Error เพราะ ข้อมูลที่อยู่ในตัวแปร c และตัวแปร d เป็นข้อมูลคนละตัวกัน แล้วทาไมถึงเอามาบวกกัน

ไมไ่ ด้ เนื่องจากตวั เลขสามารถนามาคานวณประมวลผลได้ แต่พอเปล่ยี นมาเปน็ ข้อความไม่สามารถนามารวมกับตัวเลข ได้ โปรแกรมจึงฟ้อง Error ขน้ึ มานัน่ เอง เพราะข้อมูลเป็นคนละชนดิ กนั

ตวั อยา่ ง

Code #บรรทดั ที่ 1 output #บรรทัดที่ 2 c = 15 #บรรทัดที่ 3 30 d = “15” #บรรทัดที่ 4 1515 print (c+c) #บรรทัดที่ 5 45 print (d+d) #บรรทดั ที่ 6 151515 print (c*3) print (d*3)

สรุป

Python เปน็ ภาษาโปรแกรมภาษาหน่ึงที่ช่วยในการแกป้ ัญหา ซึง่ เราไดเ้ รียนรู้การเขียน โปรแกรมภาษาไพทอนด้วยโปรแกรมท่ชี ื่อว่า Pycharm

อีกทั้งยังได้เรียนร้คู าส่งั ทีใ่ ช้ในการแสดงผล คือ คาส่งั Print นอกจากนี้เรายงั สามารถรับค่า จากผูใ้ ช้ ดว้ ยคาส่งั Input

3.2 ตัวแปร

ตัวแปร (variable) .ใชใ้ นการอ้างอิงคา่ ข้อมูล โดยใช้ตัวแปรจะถูกกาหนดคา่ ดว้ ยเครื่องหมาย = เชน่

c = 16 #บรรทดั ที่ 1 name = “somchai” #บรรทดั ที่ 2

บรรทดั ที่ 1 เป็นการกาหนดใหต้ ัวแปร ชื่อ c ชี้ไปยังจานวนเตม็ 16 บรรทดั ที่ 2 ตวั แปรช่อื name ช้ไี ปยงั สตรงิ somchai

ตัวอยา่ ง #บรรทดั ที่ 1 output Code #บรรทัดที่ 2 #บรรทัดที่ 3 16 c = 16 #บรรทัดที่ 4 16 print (c) #บรรทัดที่ 5 15 d=c #บรรทดั ที่ 6 print (d) d = 15 print (d)

ตวั อยา่ ง

การตงั้ ชอื่ ตวั แปร ตงั้ ตวั แปรให้สอ่ื ความหมาย

ใชต้ วั อกั ษร A-Z a-z ใชต้ วั เลข

_ (เครือ่ งหมายขีดลา่ ง)

ห้ามใช้คาสงวน

*** ข้อยกเว้น คือ ภาษาไพทอน ไม่ให้ใช้ตัวเลขขึ้นต้นเป็นตัวแรก ให้ใช้ตัวอักษรขึ้นก่อนเสมอ และตัวอักษร ภาษาอังกฤษพิมพ์เล็ก พิมพ์ใหญ่ ไม่เหมือนกัน หมายความว่า ถ้าเราสร้างตัวแปรด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ เวลาเราเรียกใช้ เราต้องเรียกใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ไม่สามารถเรียกตัวพิมพ์เล็กมาเรียกใช้ได้ เช่นเดียวกันถ้าเราสร้างตัวแปรด้วยตัวพิมพ์ เล็ก เราต้องเรียกใช้ตวั พมิ พ์เลก็ เท่าน้ัน

ช่อื ตวั แปรทีต่ ง้ั ข้ึนจะตอ้ งไม่ซา้ กับคาหลัก (Keyword) ที่ไพทอนใชเ้ ปน็ คาส่ัง โดยคาหลกั มีดังต่อไปนี้