การ เขียน ประชาสัมพันธ์ ใน งาน อาชีพ

วิชา ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

รหัสวิชา ๓๐๐๐๐-๑๑๐๑
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง

 ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://www.freepik.com

หน่วยท่ี ๑๑

การเขียนประชาสัมพนั ธ์

 ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://www.1belief.com/article/advertising/

การประชาสัมพนั ธ์เป็นการส่อื สารเพื่อความเขา้ ใจ
อันดีระหว่างองค์กร หน่วยงานกับประชาชนที่
เกี่ยวข้อง และนามาซ่ึงความร่วมมือร่วมใจในการ
ดาเนนิ งานจนประสบผลสาเรจ็

 ขอบคณุ เครดติ ภาพ : http://wangbong.go.th/networknews/detail/7265

๑๑.๑ ความหมายของการประชาสัมพันธ์

ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความหมายวา่
ประชาสัมพันธ์ หมายถึง ติดต่อส่ือสารเพ่ือส่งเสริม

ความเข้าใจอันถูกตอ้ งต่อกัน

 ขอบคุณเครดิตภาพ : https://www.biztalknews.com/news-update

๑๑.๑ ความหมายของการประชาสัมพนั ธ์

ก า ร ติ ด ต่ อ ส่ื อ ส า ร ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ต่ า ง ๆ เ พ่ื อ ส ร้ า ง
ความสัมพนั ธ์ ความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งหน่วยงาน องคก์ ร หรือ
สถาบันกับประชาชนท่ัวไป เพื่อหวังผลด้านความร่วมมือ
การสนับสนนุ ด้านตา่ ง ๆ จากประชาชน

การประชาสัมพันธ์เป็นการบอกกล่าวหรือแจ้งข่าวสาร
เก่ียวกับนโยบายงานกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีทาให้ประชาชนรับรู้
เ พื่ อ ส ร้ า ง เ ส ริ ม ภ า พ ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ ทั ศ น ค ติ ท่ี ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น
ต่อหน่วยงาน ไม่ได้มงุ่ ผลดา้ นธรุ กจิ การขายสนิ ค้าและบริการ

 ขอบคุณเครดิตภาพ : https://gnews.apps.go.th/news?news=32581

๑๑.๒ ความสาคญั ของการประชาสัมพนั ธ์

การพฒั นาหน่วยงานหรือองคก์ รทั้งภาครัฐและเอกชนต่า
ให้ความสาคัญด้านการประชาสัมพันธ์ ด้วยการสร้าง
ภาพลักษณ์ที่ดี เพ่ือให้ประชาชนเช่ือถือ ศรัทธา และยอมรับ
อันจะนาไปสู่การให้ความร่วมมือ ให้การสนับสนุนในด้าน
ต่าง ๆ ส่งผลให้การดาเนินงานราบรื่นและลุล่วงไปด้วยดี
การประชาสัมพันธ์จึงเป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินงานท่ี
สาคญั ในปจั จุบัน

๑๑.๓ จุดประสงค์ของการประชาสมั พนั ธ์

๑. เพ่ือบอกกล่าวชี้แจง อธิบายเร่ืองต่าง ๆ เกี่ยวกับ

หนว่ ยงานใหป้ ระชาชนรับรู้และยอมรับในการปฏิบัตงิ าน
๒. เพื่อสรา้ งภาพลกั ษณห์ รือช่อื เสียงท่ดี ตี ่อหนว่ ยงาน
๓. เพอ่ื ป้องกนั และแก้ไขความเข้าใจผดิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ใหถ้ กู ต้อง
๔. เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง

หนว่ ยงานกบั ประชาชน

๑๑.๔ ประเภทของการประชาสัมพนั ธ์

การแบง่ ประเภทของประชาสมั พันธ์ โดยยึดกลมุ่ เป้าหมาย

เป็นหลกั แบง่ ได้ ๒ ประเภทดงั น้ี

๑๑.๔.๑ การประชาสัมพนั ธ์ภายใน

๑๑.๔.๒ การประชาสัมพันธ์ภายนอก

๑๑.๔.๑ การประชาสัมพนั ธ์ภายใน

การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร งาน กิจกรรมต่าง ๆ

ให้สมาชิกในหน่วยงานได้รับรู้ เข้าใจ ก่อให้เกิดความรัก

ความสามัคคี ความเข้าใจที่ดีต่อกัน สร้างบรรยากาศท่ีดี

ในการปฏบิ ัตงิ านด้วยวิธีต่าง ๆ เชน่ การพดู จาทาความเขา้ ใจ

หนังสือเวียน ประกาศ วารสารภายใน แผน่ พบั แผน่ ปลิว

ตวั อย่าง การประชาสัมพนั ธ์ภายใน

ขอบคุณเครดิตภาพ : https://issuu.com/santichon/docs/apply56
https://www.facebook.com/srnr.ac.th/?epa=SEARCH_BOX
https://sites.google.com/a/krasohsc.ac.th/krasohschool/home/warsar-rongreiyn

๑๑.๔.๒ การประชาสัมพนั ธ์ภายนอก

การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร เกีย่ วกบั ผลงานนโยบายงาน
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้ประชาชนไดร้ ับทราบ เพื่อสร้างภาพลักษณ์
ที่ดี ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจต่อหน่วยงาน องค์กร และ
ให้ความร่วมมือด้วยดีด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การปราศรัย
การเขียนข่าว บทความ สารคดีเพ่ือตีพิมพ์ในส่ือสิ่งพิมพ์หรือ
ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์

ตวั อย่าง การประชาสัมพนั ธ์ภายนอก

ขอบคุณเครดิตภาพ : https://issuu.com/santichon/docs/apply56 https://www.dhakulchan.org/thecube/blog/ https://www.bru.ac.th/mhesi-covid19/

๑๑.๕ ส่อื ประชาสมั พนั ธ์

การทาประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ

จาเป็นต้องเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและ

งบประมาณ การทาประชาสัมพันธ์แต่ละครั้ง อาจต้องใช้ส่ือ

หลายชนิด เพื่อให้การประชาสัมพันธ์ประสิทธิภาพ สาเร็จ

ตามจุดประสงค์ สอื่ ท่ีใช้มีดงั นี้

๑๑.๕.๑ สอ่ื สิง่ พิมพ์

สื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ เช่น
หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร แผ่นพับ แผ่นปลิว
จดหมายข่าว เป็นตน้

ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://ssru.ac.th/news-detail.php?id=89 https://www.computing.psu.ac.th/

๑๑.๕.๒ สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ส่ือที่ใช้เทคโนโลยีด้าน
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ โทรสาร
เครอ่ื งขยายเสยี ง อนิ เทอรเ์ นต็ แผ่นปา้ ยดจิ ทิ ัล เป็นต้น

ขอบคุณเครดติ ภาพ : https://www.youtube.com/watch?v=zYhYgB_jA7M

๑๑.๕.๓ แผน่ ปา้ ยประชาสมั พันธ์

แผ่นปา้ ยประชาสมั พนั ธ์เป็นสื่อประเภทหนึ่งท่ีสื่อสาร
ผ่านรูปภาพ ถ้อยคาที่ส้ันกระชับ โดดเด่น สาหรับเผยแพร่
ในท่ีสาธารณะ นับเป็นสื่อโฆษณาท่ีนิยมใช้กันอย่าง
แพรห่ ลาย

ขอบคณุ เครดิตภาพ : https://www.facebook.com/srnr.ac.th/?epa=SEARCH_BOX

๑๑.๕.๔ สอ่ื บคุ คล

ส่อื บคุ คล เชน่ พฤตกิ รรมของบุคคล การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ

ขอบคุณเครดิตภาพ : https://www.facebook.com/srnr.ac.th/?epa=SEARCH_BOX

๑๑.๖ หลักการเขียนประชาสมั พนั ธ์

ก า ร เ ขี ย น ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ที่ ดี จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด

ประสิทธิภาพในการทางาน การเขียนประชาสัมพนั ธ์ท่ีดี

จึงควรเขยี นอย่างมีหลกั การ ดงั นี้

๑๑.๖ หลักการเขยี นประชาสัมพนั ธ์

๑. กาหนดจุดประสงค์ในการประชาสัมพันธ์แต่ละคร้ังให้
ชัดเจน เช่น เพอื่ แจง้ ข้อมลู ข่าวสาร เพือ่ สร้างความเข้าใจท่ีดี
เพอ่ื เผยแพร่ผลงาน เปน็ ต้น

๒. วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใคร กลุ่มเล็กหรือ
กลมุ่ ใหญ่

๓. สารวจงบประมาณวา่ มเี ท่าไร

๑๑.๖ หลกั การเขียนประชาสัมพนั ธ์

๔. เลือกส่ือให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย

และงบประมาณทม่ี ี

๕. ศึกษาข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ เก่ียวกับงานที่จะ

ประชาสัมพนั ธ์

๑๑.๖ หลกั การเขยี นประชาสัมพันธ์

๖. เลือกรูปแบบการเขียนและเรียบเรียงข้อความ เช่น

ข่าว บทความ สารคดี โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับโอกาส

กลุ่มเป้าหมาย และสอื่ ท่ใี ช้

๗. อาจใส่ภาพประกอบข้อความ เพ่ือความน่าสนใจ

และสือ่ ความหมายไดช้ ัดเจนย่งิ ขนึ้

ข้อควรคานงึ ถงึ ในการเขียนประชาสัมพนั ธ์

๑. ไม่เขยี นในเชิงโฆษณาชวนเช่ือ เพ่อื ประโยชน์ทางธุรกิจ
๒. ขอ้ ความทีป่ ระชาสมั พนั ธ์ต้องถกู ต้อง ชดั เจน
๓. ควรเขียนในลักษณะเผยแพร่ข้อมูลตามความเป็นจริง
เพื่อสรา้ งความน่าเชอ่ื ถือ จะนาไปสู่ความสัมพนั ธ์ท่ีดกี บั มวลชน
๔. ควรใช้สานวนภาษาท่ีเป็นแบบแผนหรือกิ่งแบบแผน
ท่ปี ระณตี สละสลวย กะทดั รัดชัดเจน

๑๑.๗ รปู แบบการเขยี นประชาสมั พันธ์

ขอ้ ความท่ีเขียนข้นึ เพ่ือใช้ในการประชาสัมพันธ์ทั้งภายใน

และภายนอกหน่วยงาน เขียนได้หลายรูปแบบ เช่น เขียนเป็น

ข้อความ ขา่ ว บทความ สารคดี ประกาศ เป็นต้น ซึ่งมีรูปแบบ

การเขยี น ดังนี้

๑๑.๗.๑ ขอ้ ความประชาสัมพันธ์

ข้อความประชาสัมพันธ์เป็นข้อความเก่ียวกับงานหรือ

กิจกรรมใดท่ีหน่วยงานต้องการแจ้งให้ประชาชนรับทราบหรือ

มีส่วนร่วม อาจเขียนเป็นข้อความส้ัน ๆ รายละเอียดบอกให้รู้

วา่ ใครจะทาอะไร ทไี่ หนเม่ือไร อย่างไร เป็นต้น

ตวั อย่าง ขอ้ ความประชาสมั พันธ์

วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี เปิดรับสมัครนักเรียน
ระดับ ปวช. และ ปวส. ปีการศึกษา ๒๕๒๓ ระหว่าง
วันที่ ๑ – ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓ ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ณ วทิ ยาลัยเทคนิคสุรนารี

ตัวอย่าง ขอ้ ความประชาสัมพันธ์

ขอบคณุ เครดิตภาพ : https://www.facebook.com/srnr.ac.th/?epa=SEARCH_BOX

๑๑.๗.๒ ขา่ วประชาสมั พันธ์

งานหรือกิจกรรมใดท่ีหน่วยงานได้ดาเนินการไปแล้ว
หรือกาลังจะดาเนินการ และต้องการแจ้งให้ประชาชนรับรู้
เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีของหน่วยงาน เพ่ือให้ประชาชนเกิด
ความเชื่อถือศรัทธา การแจ้งข่าวสารการทากิจกรรมนั้น
อาจเขียนในรูปของข่าวประชาสัมพันธ์ ซึ่งมีส่วนประกอบ
สาคัญ ดงั น้ี

ส่วนประกอบสาคัญของข่าวประชาสมั พันธ์

๑. ส่วนพาดหัว เป็นข้อความส่วนแรกที่เรียกร้อง
ความสนใจของผู้อา่ น เป็นข้อความส้นั ๆ กระชบั ตวั อักษร
โตกว่าปกติ

๒. ส่วนขยายพาดหัว เป็นข้อความที่อธิบายส่วน
พาดหัวให้มีความชัดเจนขึ้น เป็นการสรุปสาระสาคัญของ
ขา่ ว กระตุ้นให้ผอู้ า่ นสนใจติดตามอ่านรายละเอียดของขา่ ว

ส่วนประกอบสาคญั ของขา่ วประชาสมั พันธ์

๓. ส่วนเช่ือม เป็นข้อความที่เขียนเชื่อมระหว่างส่วน
ขยายพาดหัวกับรายละเอยี ดของข่าวเพ่อื ให้เนอ้ื หาต่อเนือ่ งกัน

๔. ส่วนเนื้อเร่ือง เป็นรายละเอียดของเหตุการณ์หรือ
เรอ่ื งราวทีเ่ กดิ ข้นึ ซึ่งเปน็ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีตอ้ งการให้ผอู้ ่านทราบ

ส่วนประกอบสาคญั ของขา่ วประชาสมั พันธ์

การเขยี นขา่ วประชาสัมพนั ธใ์ นสื่อสงิ่ พมิ พต์ า่ ง ๆ
บางครั้ง ผู้เขียนข่าวไม่ได้ยึดรูปแบบของข่าวอย่างเคร่งครัด
อาจตดั สว่ นประกอบอน่ื ๆ ออก เหลือแตส่ ่วนเนือ้ เรอื่ งก็ได้

ความแตกต่างของขา่ วประชาสมั พนั ธก์ บั ข่าวทั่วไป

๑. จุดมุ่งหมายของการเผยแพร่ คานึงถึงประโยชน์ต่อ
องคก์ รเป็นหลัก ขา่ วท่ัวไปจะมจี ุดมุ่งหมายเพือ่ ถ่ายทอด

๒. ทิศทางของผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นคาดหวังผลด้านดี
มุ่งสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กรเสมอ แต่ข่าวท่ัวไปอาจให้
ท้งั ผลดา้ นดีและด้านไม่ดีแกบ่ คุ คลหรือองค์กร

ความแตกต่างของข่าวประชาสัมพันธ์กบั ข่าวทวั่ ไป

๓. กลุ่มเป้าหมาย เฉพาะของตน ส่วนกลุ่มเป้าหมาย
ของขา่ วทั่วไป ก็คือประชาชนโดยสว่ นรวม

๔. ลักษณะของแหล่งข่าว เป็นแหล่งข่าวที่ส่ือมวลชน
ไม่จาเป็นต้องออกไปแสวงหาข่าวด้วยตนเอง แต่มีนัก
ประชาสัมพันธ์ขององค์กรต่าง ๆ ส่งมาให้พิจารณา
ส่วนข่าวท่ัวไปนั้นนักข่าวจะต้องใช้ความสามารถในการ
แสวงหาข้อมูลเปน็ ข่าวด้วยตนเอง

ความแตกตา่ งของข่าวประชาสมั พันธ์กับข่าวทั่วไป

๕. ขอบเขต เกี่ยวกับเรื่องขององค์กร ไม่ว่าจะเป็น
บุคคล หรือกิจกรรม ขณะท่ีข่าวท่ัวไปครอบคลุมเน้ือหา
หลายด้านของสังคมสว่ นรวม

๖. ความรวดเร็ว ส่วนใหญ่สามารถรอเวลาในการ
เผยแพร่ไดร้ ะยะหนึ่ง ขณะทขี่ า่ วทวั่ ไปเน้นที่ความสด

ความสาคัญของขา่ วประชาสมั พนั ธ์

ข่าวประชาสัมพันธ์มีความสาคัญต่อองค์กร ในฐานะ
เป็นเครื่องมือเพ่ือการเผยแพร่ข่าวสารต่าง ๆ ขององค์กรไปสู่
ประชาชนเป้าหมายเพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีในใจของ
ประชาชนและไดร้ ับความรว่ มมือจากประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

รปู แบบการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์

5W+1H
ใคร (who) คอื บุคคลสาคญั ที่เกยี่ วข้องกับขา่ ว ชื่อ-สกุล
ตาแหน่ง ฯลฯ
ทาอะไร (what) คือ การกระทา กิจกรรม เหตุการณ์ท่ี
เกดิ ขน้ึ ฯลฯ

รปู แบบการเขยี นข่าวประชาสมั พนั ธ์

เม่อื ไร (when) คือ สถานการณ์ เวลา วัน เดอื น ปี ฯลฯ
ที่ไหน (where) คอื สถานท่ี ตาบล อาเภอ จงั หวดั
ประเทศ ฯลฯ
ทาไม (why) คอื สาเหตุ เหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์

ตัวอยา่ ง ข่าวประชาสัมพนั ธ์

สอศ.เปิดแอปพลิเคช่นั “ช่างพนั ธุ์ R อาชวี ะซอ่ มท่ัวไทย”

วันที่ 9 มีนาคม 2563 บริเวณหน้าสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา นายณัฎฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นประธานเปิดตัวแอปพลิเคชัน “ช่างพันธุ์ R อาชีวะซอ่ มทั่วไทย” ในโครงการ
ความร่วมมือระหว่างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และ
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ซึ่งมี
นางปัทมา วีระวานิช รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พร้อมด้วย
ดร.สุเทพ แก่งสันเทียะ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ
นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์ เลขาธิการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั เป็นผลู้ งนามบนั ทึกข้อตกลง

ขอบคณุ ท่มี า : http://www.vec.go.th/

๑๑.๗.๓ บทความประชาสมั พันธ์

บทความเป็นการเขียนรูปแบบหนึ่งท่ีสามารถนามาใช้
ในการเขียนประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานให้
ประชาชนทว่ั ไปไดท้ ราบ มีองค์ประกอบดังน้ี

องค์ประกอบของบทความประชาสัมพนั ธ์

๑. ชื่อบทความ ต้ังช่ือให้สื่อความหมายเรื่องที่จะ
ประชาสัมพันธ์

๒. คานา เป็นการกล่าวเปิดเรื่องเพ่ือนาผู้อ่านเข้าสู่
เนื้อเร่ือง ควรเขียนให้เข้าใจง่ายเพื่อให้ผู้อ่านสนใจอยาก
ติดตามอ่านเน้อื หาไปตลอดจนจบ

องค์ประกอบของบทความประชาสมั พันธ์

๓. เน้ือเร่ือง เป็นเน้ือหาส่วนใหญ่ของเร่ืองท่ีจะ
ประชาสัมพันธ์ จะส้ันหรือยาวขึ้นอยู่กับประเด็นท่ีจะแจ้งให้
ผู้อา่ นรบั ทราบ

๔. สรปุ เป็นการยา้ ความสาคัญของเร่ืองทเ่ี ขียน

ประเภทของการเขยี นบทความเพ่ือการประชาสมั พันธ์

การเขียนบทความเพอ่ื การประชาสัมพนั ธม์ ี ๔ ประเภท
ดงั น้ี

๑. บทความแนะนา
๒. บทความแสดงความคดิ เหน็
๓. บทความวชิ าการ
๔. บทความปกิณกะ

๑. บทความแนะนา

เป็นบทความที่ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั เรอ่ื งใดเรอ่ื งหน่งึ หรอื
อธบิ ายวธิ ีการทาสิง่ ใดสง่ิ หนึ่ง ควรเลอื กเรอ่ื งทด่ี งึ ดดู ความ
สนใจ ผอู้ ่านทาความเข้าใจ ปฏบิ ตั ิตามไดไ้ ม่ยาก

เชน่ - วิธีทาพรมเชด็ เท้าจากเศษผ้า - วิธีปรงุ อาหาร
- วธิ เี ล้ยี งเด็ก - วิธเี ย็บปักถกั รอ้ ย
ควรจะยึดหลกั ในการให้คาแนะนาว่า ส้นิ เปลอื งคา่ ใชจ้ ่าย
น้อย ย่ิงประหยดั ได้เทา่ ไหรย่ ง่ิ ดี ไม่ตอ้ งใชฝ้ ีมอื สูง เป็นของที่
คนสว่ นมากทาได้ และทาไดส้ ะดวกไมเ่ สียเวลา บอกเคล็ดลบั
ในการทาให้ผ้อู า่ นปฏบิ ัติตามได้ง่าย และทาได้ผลจริง ๆ

ตวั อยา่ ง บทความแนะนา

4 ข้ันตอนทา “หน้ากากผ้า” ดว้ ยตัวเอง ซักงา่ ย ใชส้ ะดวก
ประเทศไทย เผชิญกับปัญหามลพิษทางอากาศ อย่าง ฝุ่น PM2.5

และไวรัสหวู่ฮั่นระบาดมาแรมเดือน จึงเป็นเร่ืองท่ีปฏิเสธไม่ได้เลยว่า
“หน้ากากอนามัย” และ เจลล้างมือ ถือเป็นสิ่งจาเป็นอย่างมากในการใช้
ชีวิต ประชาชน รวมถึงร้านค้าบางแห่ง พากันหาซื้อหน้ากากและเจล
ลา้ งมอื มากกั ตนุ จนทาใหเ้ กิดสภาวะ “สินคา้ ขาดตลาด”

กรมวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้เผยแพร่
ภาพอินโฟกราฟิก การทาหน้ากากอนามัยด้วยตัวเอง โดยขั้นตอนการทา
หน้ากากอนามยั มี 4 ขั้นตอนงา่ ยๆ ดงั นี้

ขอบคณุ เครดติ ภาพ : https://www.sentangsedtee.com/big-idea/article_138434

๒. บทความแสดงความคดิ เหน็

เปน็ บทความทผี่ ูเ้ ขยี นยกเอาปญั หาในสังคมนน้ั ขน้ึ มา
เขยี น เชน่ ปัญหาของส่วนรวม ได้แก่ ปัญหาเศรษฐกจิ สงั คม
การเมอื ง การปกครอง การศกึ ษา การคมนาคม เป็นต้น

วิธีเขียนบทความแสดงความคิดเห็น ผู้เขียนต้อง
เร่ิมต้นด้วยการแยกแยะปัญหาให้กระจ่างชัด ว่าคืออะไร
วิธีแก้ปัญหามีอย่างไร ผู้เขียนเห็นชอบด้วยวิธีไหน เหตุที่
ชอบ และไม่ชอบด้วย และควรย้าความคิดเห็นของตนให้
เหน็ อย่างเด่นชดั อีกครัง้ ในตอนท้าย

ตวั อยา่ ง
บทความแสดงความคดิ เหน็

ขอบคุณเครดิตภาพ : http://sasinapachuvieng.blogspot.com/2010/09/blog-post.html

๓. บทความวิชาการ

เป็นบทความทผี่ ู้เขียนประสงคจ์ ะใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับเรื่อง
ใดเร่อื งหนึ่งทางวิชาการ เช่น วทิ ยาศาสตร์ ปรชั ญา จิตวทิ ยา
รฐั ศาสตร์ เปน็ ต้น