เฉลย ใบ งานที่ 1.1 การแก้ปัญหาในการ ทำงาน ด้วยวงจร pdca

แผนการจดั การเรยี นรู้
วิชา การงานอาชีพ (ง32101)

โดย
นายสริ พิ ล เหมอื นพะวงศ์

ตำแหนง่ ครู

โรงเรียนพมิ านพทิ ยาสรรค์
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และได้
กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพ่ือให้สถานศกึ ษานำไปใช้เป็นกรอบทิศทางใน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกำหนดให้ พร้อมท้ัง
ดำเนินการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตาม
เจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาไทย ดังน้ันข้ันตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของ
ครูผูส้ อน จึงจดั เปน็ หัวใจสำคัญของการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นให้บรรลตุ ามเป้าหมายของหลกั สตู ร

นายสิริพล เหมือนพะวงศ์ จึงจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการงานอาชีพ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและ
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ที่มุ่งเน้นกระบวนการคิดและ
การประกันคุณภาพผู้เรียน ช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถ
มนั่ ใจในผลการเรียนรู้และคณุ ภาพของผ้เู รียนท่ีมหี ลกั ฐานตรวจสอบผลการเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ

คณะผู้จัดทำหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ได้ดำเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบที่สำนัก
วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา (สวก.) กำหนดข้ึน เพื่อเปน็ เอกภาพเดยี วกันตามองคป์ ระกอบต่อไปนี้

องคป์ ระกอบของหน่วยการเรยี นรู้ องิ มาตรฐาน

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ เวลาเรียน ชั่วโมง
กลุม่ สาระการเรยี นรู้
ช้นั

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น (ถา้ มี)

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน

7. การวดั และการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรยี น
(ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ประจำหนว่ ยการเรียนรู้...)
7.2 การประเมินระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
7.3 การประเมนิ หลังเรยี น
(ทำแบบทดสอบหลงั เรียน ประจำหน่วยการเรยี นรู้...)
7.4 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

8. กจิ กรรมการเรยี นรู้

9. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้

องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ชนั้ ชัว่ โมง
เร่ือง เวลาเรยี น

1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

2. ตัวช้ีวดั /จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ (ถา้ มี)

4. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น

5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ คำถามกระตนุ้ ความคดิ

วธิ ีสอนและขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม

7. การวัดและการประเมินผล

8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้

สารบญั หนา้

 การพัฒนาศักยภาพการคิดของผเู้ รยี น
 คำอธิบายรายวิชา ซ
 โครงสร้างรายวิชา
 โครงสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ ฌ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 การทำงานเพื่อการดำรงชวี ิต ธ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 งานประดิษฐเ์ อกลกั ษณ์ไทย
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 การจัดการผลผลิตทางการเกษตร 1-24
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 งานชา่ ง 25-58
59-93
94-139

การพฒั นาศกั ยภาพการคิดของผู้เรียน

1 หลักการจัดการเรยี นรูอ้ งิ มาตรฐาน

หน่วยการเรียนรแู้ ต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรยี นรไู้ ว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรยี นการสอน ผู้สอนจะต้องศึกษาและ
วเิ คราะหร์ ายละเอียดของมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวดั ทกุ ขอ้ วา่ ระบุให้ผเู้ รียนต้องมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั เร่ืองอะไร และ
ต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนจะนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะ
สำคัญและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคด์ ้านใดแก่ผู้เรยี น

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัด ผูเ้ รยี นรู้อะไร

ผู้เรยี นทำอะไรได้
นำไปสู่

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

2 หลักการจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ

เม่ือผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และได้กำหนดเป้าหมายการจัดการเรียนการสอน
เรียบรอ้ ยแล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของ
กิจกรรมการเรยี นรทู้ ีอ่ อกแบบไว้จนบรรลุมาตรฐานและตัวชว้ี ัดทกุ ข้อ

มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั เปา้ หมาย หลักการจดั การเรยี นรู้

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน การเรยี นรู้ เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
สนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และการพัฒนา เน้นพฒั นาการทางสมอง
ของผ้เู รียน คณุ ภาพ กระตนุ้ การคดิ
เน้นความรู้คคู่ ุณธรรม
ของผู้เรียน

3 หลักการบรู ณาการกระบวนการเรยี นรสู้ ู่ผลการเรยี นรู้

เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนดรูปแบบการ
เรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ท่ีจะฝึกฝนใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั โดยเลือกใช้
กระบวนการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเป็นเป้าหมายในหน่วยน้ัน ๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา
กระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสยั กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมี
วจิ ารณญาณ กระบวนการทางสงั คม ฯลฯ กระบวนการเรยี นรู้ท่ีมอบหมายใหผ้ ู้เรียนลงมอื ปฏิบัตินั้นจะตอ้ งนำไปสู่การเสรมิ สรา้ ง
สมรรถนะสำคัญ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูเ้ รยี นตามสาระการเรียนรู้ทีก่ ำหนดไวใ้ นแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้

4 หลกั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกำหนดขั้นตอนและ
วิธีปฏบิ ัติให้ชดั เจน โดยเน้นใหผ้ ูเ้ รียนได้ลงมือฝึกฝนและฝกึ ปฏบิ ตั ิมากทส่ี ดุ ตามแนวคิดและวธิ ีการสำคัญ คอื

1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญ ญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่าง ๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองค์ความรทู้ ีเ่ กิดข้ึนในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรไู้ ด้

2) การสอน เป็นการเลือกวธิ ีการหรือกจิ กรรมท่ีเหมาะสมกับการเรียนรใู้ นหน่วยนั้น ๆ และที่สำคญั คือ ตอ้ งเป็นวิธกี ารท่ี
สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย
เพือ่ ชว่ ยให้ผเู้ รยี นปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรยี นรู้ได้อยา่ งราบร่นื จนบรรลุตวั ช้ีวัดทุกขอ้

3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวธิ ีการและขนั้ ตอนฝึกปฏิบัตทิ ี่ส่งเสรมิ หรอื กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นสามารถคิดอยา่ งเปน็ ระบบ เช่น
รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รปู แบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ โยนโิ สมนสกิ าร รปู แบบการสอน
แบบ CIPPA Model รปู แบบการเรียนการสอนตามวัฏจกั รการเรยี นรแู้ บบ 4MAT รปู แบบการเรียนการสอนแบบ
ร่วมมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT

4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธกี ารสอนที่สอดคลอ้ งกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพปัญหาของ
ผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น วิธีการสอนแบบ
บรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้
สถานการณจ์ ำลอง การใชศ้ นู ย์การเรยี น การใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม เป็นตน้

5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใชเ้ ทคนิคการสอนทีส่ อดคล้องกับวธิ ีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนได้
ง่ายขึ้น สามารถกระตนุ้ ความสนใจและจูงใจให้ผูเ้ รียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิค
การใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกมเทคนิคการใช้คำถาม การใช้ตัวอย่าง
กระตุ้นความคิด การใช้ส่อื การเรียนรทู้ นี่ า่ สนใจ เป็นตน้

6) ส่ือการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทำความกระจ่างให้เน้ือหาสอดคล้องกับ
สาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบร่ืน เช่น ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสาร
ประกอบการสอน แถบวดี ิทัศน์ แผน่ สไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็นตน้ ควรเตรียมส่ือให้ครอบคลุมทั้ง
สือ่ การสอนของครแู ละส่ือการเรียนรู้ของผ้เู รยี น

5 หลกั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ

เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำเทคนิค

วิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือ

ภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ให้

บรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั ท่เี ปน็ เป้าหมายของหนว่ ยการเรยี นรู้ ตามลำดบั ขน้ั ตอนการเรยี นรทู้ ีก่ ำหนดไว้ ดังน้ี

จากเปา้ หมายและ เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วย
หลักฐาน คดิ ยอ้ นกลับ หลักฐานชน้ิ งาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรยี นรู้ของหน่วย
สจู่ ุดเริ่มต้น
ของกิจกรรมการเรียนรู้ 4 กจิ กรรม คำถามชวนคิด

แสดงผลการเรยี นรู้ของหน่วย

3 กจิ กรรม คำถามชวนคิด จากกิจกรรมการเรียนรู้
2 กิจกรรม คำถามชวนคิด ทีละขัน้ บันได
1 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ สู่หลกั ฐานและ

เป้าหมายการเรยี นรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้องฝึกฝน
กระบวนการคิดทุกข้ันตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับเน้ือหาการเรียนรู้
ต้ังแต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้
ผ้เู รยี นเกิดความเข้าใจบทเรยี นอย่างลึกซึง้ แลว้ ยงั เป็นการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื สอบ O-NET ซึง่ เปน็ การทดสอบระดับชาตทิ เี่ น้น
กระบวนการคิดระดับวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุก
กจิ กรรม ผู้เรียนจะได้ฝกึ ฝนวธิ กี ารทำขอ้ สอบ O-NET ควบคไู่ ปกบั การปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นร้ตู ามผลการเรียนรู้ทส่ี ำคัญ

ทั้งนี้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลด้าน
ความรู้ความเขา้ ใจ (K) ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมท้ัง
ออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล ตลอดจนแบบบันทกึ ผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถว้ น สอดคล้องกับมาตรฐานด้าน
คุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบนั ทกึ ผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอา่ นและแสวงหาความรู้ ดา้ นสมรรถนะและคุณลักษณะอนั พึง
ประสงค์ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทำรายงานการ
ประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงม่ันใจอย่างย่ิงว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปเป็นแนวทางจัดการ
เรยี นการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นใหส้ งู ขึน้ ตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาทุกประการ

สรปุ หลักสตู รฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานท่ีจำเป็นต่อการ
ดำรงชวี ิต ร้เู ท่าทันการเปลย่ี นแปลง สามารถนำความรเู้ ก่ยี วกบั การดำรงชวี ิตและการอาชีพมาประยกุ ต์ใชใ้ นการทำงานไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน มเี จตคติที่ดีตอ่ การทำงาน สามารถดำรงชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างพอเพียงและมคี วามสขุ

โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพ่ือให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบ
อาชีพและการศกึ ษาต่อได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ซ่งึ ไดก้ ำหนดสาระการเรยี นรู้ออกเป็น 2 สาระ ดังต่อไปนี้

* สรุปและลดทอนจาก สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร, ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่
ประเทศไทย, 2551)

ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ*

สาระท่ี 1 การดำรงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง 1.1 เขา้ ใจการทำงาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะการ
ทำงานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม
เพ่ือการดำรงชวี ติ และครอบครวั

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายวธิ ีการทำงาน เพ่ือการดำรงชีวิต • วิธกี ารทำงานเพอ่ื การดำรงชวี ติ เปน็ การทำงานที่จำเป็นเกย่ี วกบั
2. สร้างผลงานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์ ความเปน็ อยใู่ นชีวติ ประจำวนั เชน่
และมที ักษะการทำงานร่วมกนั - การเลอื กใช้ ดแู ลรักษาเสอื้ ผา้ และเคร่อื งแตง่ กาย
3. มีทักษะการจดั การในการทำงาน
4. มที ักษะกระบวนการแก้ปญั หาในการทำงาน • ความคดิ สร้างสรรคม์ ี 4 ลักษณะ ประกอบด้วยความคดิ รเิ รม่ิ
5. มที ักษะในการแสวงหาความรู้ ความคลอ่ งในการคดิ ความยดื หยนุ่ ในการคิด และความคดิ
เพ่ือการดำรงชวี ิต ละเอียดลออ
6. มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน
7. ใช้พลงั งาน ทรัพยากรในการทำงานอยา่ งคมุ้ ค่า • ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน เป็นการทำงานกลมุ่ ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื
และยัง่ ยนื เพอ่ื การอนุรักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม ไดอ้ ย่างมีความสุข ทำงานอยา่ งมกี ระบวนการ ตามขนั้ ตอน และ
ฝึกหลักการทำงานกลมุ่ เช่น
- การประดิษฐข์ องใชท้ ่เี ปน็ เอกลักษณไ์ ทย
- หน้าทแี่ ละบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชกิ ในครอบครวั โรงเรยี น
และชมุ ชน

• ทักษะการจดั การ เปน็ การจัดระบบงาน ระบบคน เพ่อื ใหก้ าร
ทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายอย่างมีประสิทธภิ าพ เชน่
- การดแู ลรักษา ทำความสะอาด จัด ตกแต่งบ้านและโรงเรียน
- การปลูกพืช ขยายพนั ธุพ์ ชื หรือเล้ียงสตั ว์
- การบำรงุ เก็บรักษา เครื่องใชไ้ ฟฟา้ และอุปกรณอ์ ำนวยความสะดวกใน
ชีวติ ประจำวัน
- การดำเนินการทางธรุ กิจ

• ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน มขี ัน้ ตอน คือ การ
สงั เกต วเิ คราะห์ สรา้ งทางเลอื ก และประเมินทางเลือก เช่น
- การตัดเยบ็ และดดั แปลงเสอ้ื ผา้
- การเก็บ ถนอม และแปรรปู อาหาร
- การตดิ ตงั้ ประกอบ ซอ่ มแซมอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ เครือ่ งใช้
สง่ิ อำนวยความสะดวกในบา้ นและโรงเรียน

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

• ทักษะการแสวงหาความรเู้ พ่ือการดำรงชวี ติ ประกอบดว้ ย
การศึกษา คน้ ควา้ รวบรวม สงั เกต สำรวจ และบนั ทกึ เช่น
- การดูแลรักษาบา้ น
- การเลยี้ งสตั ว์

• คณุ ธรรมและลักษณะนสิ ยั ในงานทำงาน เปน็ การสรา้ งคณุ งาม
ความดี และควรฝึกใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพทส่ี ำคญั ๆ เช่น ขยนั
อดทน รับผดิ ชอบ และซ่อื สตั ย์

• การใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากรอย่างคมุ้ คา่ และยงั่ ยนื เป็นคณุ ธรรมใน
การทำงาน

สาระที่ 2 การอาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เขา้ ใจ มีทักษะทีจ่ ำเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พ่อื พัฒนาอาชพี มคี ุณธรรม และมเี จตคตทิ ีด่ ี
ต่ออาชพี

ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.4-6 1. อภิปรายแนวทางเขา้ สู่ทส่ี นใจ • แนวทางเข้าสูอ่ าชพี
2. เลือกและใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมกบั อาชพี - เตรียมตวั หางานและพัฒนาบุคลกิ ภาพ
3. มีประสบการณใ์ นอาชีพที่ถนดั และสนใจ - ลกั ษณะความมน่ั คงและความกา้ วหน้า
4. มคี ณุ ลกั ษณะท่ดี ตี อ่ อาชีพ - การสมคั รงาน
- การสัมภาษณ์
- การทำงาน
- การเปลย่ี นงาน

• การเลอื กและใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมกบั อาชพี
- วธิ กี าร
- หลกั การ
- เหตผุ ล

• ประสบการณใ์ นอาชพี
- การจำลองอาชีพ
- กจิ กรรมอาชีพ

• คุณลกั ษณะทดี่ ตี ่ออาชพี
- คุณธรรม
- จรยิ ธรรม
- คา่ นยิ ม

รายวชิ าพ้ืนฐาน คำอธิบายรายวิชา

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 การงานอาชีพและเทคโนโลยี

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ

เวลา 20 ชั่วโมง

ง ๓๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๑ ชว่ั โมง / สัปดาห์ รายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ ๐.๕ หน่วยกติ

ศึกษาบทบาทหน้าที่ของตนเองท่ีมีต่อสมาชิกในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน วิธีการดูแลรักษาทำ
ความสะอาด จัดตกแต่งบ้านและโรงเรียน สร้างผลงานในงานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
การแสวงหาความรู้ ความหมายและประโยชน์ของการเก็บอาหาร กระบวนการในการเก็บอาหาร หลักการเก็บ
อาหาร วิธีการเก็บอาหาร ความหมายและความสำคัญของการถนอมและแปรรูปอาหาร วิธีการแปรรูปอาหาร*
ความหมายและความสำคัญของการปลูกพืช ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการปลูกพืช การใช้เทคโนโลยีในการปลูกพืช
ความหมายและความสำคัญของการขยายพันธพุ์ ืช ประเภทและวิธกี ารขยายพนั ธุพ์ ืช เลื อ ก ง า น ป ร ะ ดิ ษ ฐ์
เอกลักษณ์ไทย การทำงานร่วมกัน*** การริเริ่มความคิดสร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติดูแลรักษาทำความสะอาด
เครอื่ งใช้ไฟฟ้า การประกอบเคร่อื งใช้ไฟฟา้ การใช้เครอ่ื งมือวัดในงานช่าง ความปลอดภัยในงานช่าง การเขียนแบบ
ภาพ ๓ มิติ ภาพฉาย การร่างแบบ วัดขนาดช้ินงาน จัดตกแต่งห้องต่าง ๆ ในบ้านและจัดและตกแต่งสวนใน
โรงเรียนทำความสะอาดโรงเรียน เก็บรักษาและถนอมอาหาร ปลูกพืชไม่ใช้ดินและทำสารชีวภาพจากพืช
สมุนไพร** เกิดเจตคติที่ดีต่อการทำงาน มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดีในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้
พลังงาน ทรพั ยากรในการทำงานอย่างคุ้มคา่ และย่ังยนื เพอ่ื การอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อม

ตวั ชวี้ ัด
ง ๑.๑ ม.๖/๑ ม๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ ม.๖/๕ ม.๖/๖ ม. ๖/๗

รวมทงั้ หมด ๗ ตัวชวี้ ัด
* บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพีย
** บรู ณาการอทุ ยานธรณีสตูล

*** บูรณาการพระบรมราโชบายรชั กาลที่ ๑๐

รายวชิ าการงานอาชพี ๓ โครงสร้างรายวิชา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕
ภาคเรียนท่ี ๑ รหสั วชิ า ง ๓๒๑๐๑ จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ
เวลา ๒๐ ชัว่ โมง

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
เรียนรู้/ ชุมชนจะสะอาด ปลอดภยั คนในชมุ ชนมี
คุณภาพชีวติ ท่ีดี มีความสามัคคีกนั เพราะ ๒ ๑๐
ตวั ช้วี ดั นกั เรยี นปฏิบัตติ ามหนา้ ท่ีและบทบาทในฐานะ ๔
สมาชิกของชมุ ชน ๖ ๒๐
หน่วยที่ ๑ การทำงาน ง ๑.๑ สร้างผลงานในงานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย ๒๐
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ ๘
เพ่ือการดำรงชวี ติ ม.๖/๑ สามารถนำไปประกอบอาชีพได้ ๓๐
การแปรรูปอาหารเพ่ือเพิ่มมลู คา่ ผลผลติ ทาง ๒๐
ม.๖/๒ เกษตรต้องมีความรูเ้ กยี่ กวับการปรุงแต่ง ๘๐
อาหาร การใช้ความรอ้ นในการฆ่าเชือ้ โรค ๒๐
ม.๖/๓ และจรุ ินทรยี ์ วธิ กี ารแปรรปู อาหารแบะการ ๑๐๐
จัดการผลผลิต เพ่อื ให้การทำงานมี
หน่วยท่ี ๒ ประดิษฐ์ ม.๖/๔ ประสทิ ธิภาพและไดผ้ ลงานที่มีคณุ ภาพ
การใชเ้ ครอื่ งมือวัดในงานชา่ ง ความปลอดภัย
เอกลักษณ์ไทย ม.๖/๕ ในงานชา่ ง การซ่อมแซมเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทีช่ ำรดุ
การออกแบบช้นิ งานโดยใช้วสั ดแุ ละอปุ กรณ์
ม.๖/๖ ในทอ้ งถิ่น ตามข้ันตอนทีถ่ ูกต้อง จะทำให้ของ
ที่ชำรดุ กลับมาใช้งานได้อีกคร้ังโดยไม่ต้องซ้ือ
หน่วยท่ี ๓ ม.๖/๗ ใหม่

การแปรรูปอาหาร

หน่วยท่ี ๔
งานชา่ ง

คะแนนระหว่างภาค
คะแนนปลายภาค
รวมท้ังสนิ้ ตลอดภาคเรยี น

ทกั ษะการคิดท่ีนำมาใชใ้ นการพฒั นาผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

ม. 4-6 ทกั ษะการเขยี น ทกั ษะการสงั เกต ทกั ษะการระบุ ทกั ษะการสารวจคน้ หา ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ ทกั ษะการสารวจ
ม. 3 ทกั ษะการจาแนกประเภท ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล ทกั ษะการแปลความ ทกั ษะการเช่อื มโยง ทกั ษะการให้เหตุผล
ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ ทกั ษะการคิดถูกทาง ทกั ษะกระบวนการคดิ แก้ปัญหา ทกั ษะกระบวนการคิดตัดสินใจ
ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสรุปลงความเห็น ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการสงั เคราะห์ ทกั ษะการ
ประยุกต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะการจดั ระเบยี บ ทกั ษะการสรา้ งความรู้ ทกั ษะการจดั โครงสร้าง ทกั ษะการปรบั โครงสรา้ ง
ทกั ษะการหาแบบแผน ทกั ษะการตงั้ เกณฑ์ ทกั ษะการประเมนิ

ทกั ษะการเขยี น ทกั ษะการสารวจคน้ หา ทกั ษะการสารวจ ทกั ษะการจาแนกประเภท ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู ทกั ษะ
การแปลความ ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ทกั ษะกระบวนการคดิ ตดั สนิ ใจ ทกั ษะการสรุปลงความเหน็ ทกั ษะการวเิ คราะห์
ทกั ษะการสงั เคราะห์ ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ ทกั ษะการปรบั โครงสรา้ ง ทกั ษะการหาแบบแผน ทักษะการ
ประเมนิ

ทกั ษะการเขยี น ทกั ษะการสงั เกต ทกั ษะการระบุ ทกั ษะการสารวจคน้ หา ทกั ษะการสารวจ ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล

ม. 2 ทักษะการแปลความ ทักษะการให้เหตุผล ทักษะการนาความรู้ไปใช้ ทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา ทักษะ

กระบวนการคดิ ตดั สนิ ใจ ทกั ษะการสรุปลงความเหน็ ทกั ษะการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะการปรบั โครงสรา้ ง ทกั ษะการ
หาแบบแผน ทกั ษะการตงั้ เกณฑ์ ทกั ษะการประเมนิ

ม. 1 ทกั ษะการสารวจ ทกั ษะการจาแนกประเภท ทกั ษะการใหเ้ หตุผล ทกั ษะกระบวนการคดิ ตดั สนิ ใจ ทกั ษะการสรุปลง
ความเหน็ ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ทกั ษะการจดั ระเบยี บ

ท่ีมา : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. (2553). แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนร้เู พือ่ พฒั นาทักษะการคิดตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี ระดบั มธั ยมศึกษา. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

จดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน

ตามนโยบายปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561)

นโยบายปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ. 2552-2561)

วสิ ยั ทัศน์ คนไทยได้เรยี นรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ

เปา้ หมาย ภายในปี 2561 มีการปฏริ ูปการศึกษาและการเรียนรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ

ประเดน็ หลกั ของเปา้ หมายปฏริ ปู การศกึ ษา
1. พฒั นาคุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษา และการเรียนร้ขู องคนไทย
2. เพมิ่ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ
3. ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ นในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา

กรอบแนวทางในการปฏิรปู การศกึ ษา และการเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ
1. พัฒนาคณุ ภาพคนไทยยคุ ใหม่
2. พัฒนาคณุ ภาพครยู ุคใหม่
3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรยี นร้ใู หม่
4. พัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การใหม่

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา จุดเน้นการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน
ขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551  ด้านความสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน
 เป้าหมายหลกั สูตร/คุณภาพผู้เรยี น
 การจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นจะต้องประกันไดว้ ่าผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถ ทกั ษะ และ
 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ คุณลกั ษณะของผเู้ รยี นตามจุดเนน้

นโยบายดา้ นการศกึ ษาของรัฐบาล แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน
มุง่ เนน้ ให้ผูเ้ รียน  ด้านการจัดการเรยี นรู้

 มคี วามสามารถในการรับรู้ 1. โรงเรียนจะต้องจดั การเรยี นรู้ให้ผ้เู รียนมีความสามารถ ทกั ษะ และคุณลักษณะ
 รกั ท่จี ะเรียนรู้ในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ทเ่ี ป็นจดุ เนน้ พรอ้ มท้ังผลกั ดนั ส่งเสรมิ ใหค้ รผู ้สู อนออกแบบและจดั การเรยี นรู้
 สนกุ กับการเรยี นรู้ ตามความถนดั ความสนใจ เตม็ ศกั ยภาพของผู้เรยี น
 มีโอกาสได้เรยี นรู้นอกหอ้ งเรยี น
2. การจดั การเรียนรพู้ ึงจดั ให้เช่อื มโยงกับวิถีชวี ิต เนน้ การปฏิบัติจริงท้ังในและนอก
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ห้องเรยี น โดยจัดกจิ กรรมนอกห้องเรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 30 ของเวลาเรียน

3. ใช้สอ่ื เทคโนโลยที ห่ี ลากหลาย เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสนกุ กบั การเรียน และเพ่ิมพูนความรู้
ความเขา้ ใจ

4. แสวงหาความรว่ มมือจากชุมชน จัดแหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นมารว่ มในการ
จดั การเรยี นรู้

5. ผ้บู ริหารต้องเป็นผนู้ ำทางวิชาการ ตลอดจนกำกบั ดูแล นเิ ทศการจัดการเรียนรู้
อย่างสมำ่ เสมอ และนำผลการนิเทศมาปรับปรงุ พัฒนาการเรียนการสอนของครู

 ดา้ นการวัดและประเมินผล
ครูทุกคนวดั ผลและประเมินผลผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลตามจดุ เน้นดว้ ยวิธกี ารและ

เครื่องมอื ท่ีหลากหลาย เน้นการประเมนิ สภาพจรงิ ใช้ผลการประเมนิ พฒั นาผู้เรยี น
อย่างตอ่ เน่ือง และรายงานคุณภาพผู้เรยี นตามจุดเน้นอย่างเปน็ ระบบ

ที่มา : สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2553). แนวทางการนาจดุ เน้นการพฒั นาผ้เู รียนสู่การปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ :

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าฎร.

แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น

การดำเนินการตามจุดเนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นในการขับเคลือ่ นหลักสตู ร และการปฏริ ปู การศกึ ษา ในทศวรรษที่
สอง (พ.ศ. 2552-2561) สูก่ ารปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษานั้น ครเู ปน็ บคุ ลากรสำคญั ทส่ี ดุ ในการดำเนินการ ในระดบั ห้องเรียนในการ
จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพอื่ ให้ผู้เรยี นบรรลเุ ป้าหมายตามจดุ เนน้ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ดงั แผนภูมิ

แนวทางการปฏบิ ตั ิระดบั สถานศกึ ษา

 ทำความเขา้ ใจใหก้ ระจา่ ง  นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รียน
 แนวทางการพฒั นาผูเ้ รยี นตามจุดเน้น
 บทบาทหนา้ ทข่ี องผเู้ ก่ยี วขอ้ ง
 การจัดการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายทั้งในและนอกหอ้ งเรียน

  คณุ ภาพผู้เรยี นในภาพรวมของสถานศึกษา
ตรวจสอบ ทบทวน  คุณภาพผเู้ รยี นแยกเปน็ รายวชิ าและระดับช้ัน
วิเคราะห์จดุ เดน่ จดุ พฒั นา  จดุ เด่น จดุ พฒั นาของสถานศกึ ษา
 จุดเด่น จดุ พัฒนาของผเู้ รยี น

 กำหนดเป้าหมาย  ปกี ารศกึ ษา 2553 ระยะที่ 1
การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น  ปีการศึกษา 2554 ระยะท่ี 2, 3
ตามจดุ เน้น  ปกี ารศกึ ษา 2555 ระยะที่ 4, 5

  ทบทวน ออกแบบหลักสูตรการเรียนรู้
กำหนดภาระงาน  ทบทวน ปรับโครงสร้างเวลาเรียน ตารางเรียน
การพัฒนาคุณภาพตามจุดเนน้  ออกแบบการเรียนรูท้ ัง้ ในและนอกหอ้ งเรยี น
 การวดั ผลและประเมินผลตามหลกั สตู รและจดุ เน้น

 ดำเนินการ  ดำเนินการพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสตู รทอ่ี อกแบบ

พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน  นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงานตามแผน
ตามจดุ เน้น  วดั ผลและประเมินผลผเู้ รยี นตามจุดเน้น

ตรวจสอบ  ตรวจสอบ ปรบั ปรุง พฒั นา
ปรบั ปรุง พฒั นา  นำผลการตรวจสอบ ปรับปรงุ ไปใช้พัฒนา

 สรปุ และรายงานผล  ผลการดำเนนิ งาน
การพัฒนาผู้เรียน  ความภาคภูมใิ จ และความสำเร็จ
 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้

แนวทางการปฏบิ ตั ริ ะดับสถานศึกษา

ขั้นท่ี ประเด็นท่เี กีย่ วข้อง วิธีการ ผลทไี่ ด้รบั
1. ทำความ 1. นโยบาย จุดเน้น ยทุ ธศาสตร์ และ 1. ประชมุ ชี้แจง 1. ผทู้ ่ีเกี่ยวข้องมีความตระหนัก
2. ประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสือ่
เข้าใจให้ เปา้ หมายการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น เหน็ ความสำคญั ในบทบาทของ
กระจ่าง ตามจุดเนน้ ตา่ งๆ ทงั้ ในระดบั ตนเอง
2. แนวทางการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน สถานศกึ ษา และชมุ ชน 2. มีความเขา้ ใจในการนำจดุ เน้น
2. ตรวจสอบ ตามจดุ เน้น การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนไปสู่
ทบทวน 3. บทบาทหน้าที่ของผูเ้ กี่ยวขอ้ งท้ังใน 1. ตรวจสอบเอกสาร การปฏิบัติ
วิเคราะห์ และนอกโรงเรียน ขอ้ มูลตา่ งๆ 3. มีความร่วมมอื ในระดับองค์กร
จดุ เด่น 4. แนวทางการออกแบบหลกั สตู รและ และชุมชน
จุดพัฒนา ตารางการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 4. ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการ
การพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นตาม 3. ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร ออกแบบหลักสตู ร และปรับ
3. กำหนด จดุ เน้น 4. ประชมุ สมั มนา ตารางเรียนใหเ้ หมาะสมกบั จุดเน้น
เปา้ หมาย 5. มีการปรับพฤติกรรมการเรียน
การพัฒนา 1. คณุ ภาพผูเ้ รยี นในภาพรวมของ 1. ประชมุ วางแผน การสอนตามแนวทางปฏริ ปู
คุณภาพผู้เรยี น สถานศกึ ษาทัง้ จดุ เดน่ และจดุ พฒั นา 2. จดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษารอบสอง
เชน่ ผลการประเมนิ ในระดบั ชาติ 1. ข้อมลู สารสนเทศ
ตาม สมศ. เขตพน้ื ที่การศึกษา โรงเรียน 2. จุดเด่น จดุ พฒั นาดา้ นคณุ ภาพ
ฯลฯ ผ้เู รยี น สถานศกึ ษา และ
ครูผสู้ อน
2. ผลการเรยี นของผู้เรยี นแยกเปน็
ระดบั ชน้ั และรายวิชา ระดับ เป้าหมายสถานศกึ ษา และมี
สถานศกึ ษา เขตพืน้ ที่การศึกษา
ฯลฯ แผนการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามจดุ เน้น

1. ตวั ชีว้ ดั ภาพความสำเร็จของ ในแต่ละระยะทสี่ อดคลอ้ งกับบรบิ ท และ
สถานศึกษา ระยะที่ 1 ภาคเรยี นท่ี
2/2564 ศกั ยภาพของสถานศกึ ษา /

2. ตวั ชี้วัดภาพความสำเร็จของ ผ้เู รยี น
จุดเนสถ้นานศึกษา ระยะท่ี 2 ภาคเรียนที่

1/2565
3. ตวั ชว้ี ดั ภาพความสำเร็จของ

สถานศกึ ษา ระยะที่ 3 ภาคเรยี นท่ี
2/2565

ขัน้ ที่ ประเดน็ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง วธิ ีการ ผลที่ได้รับ

4. 4. ตัวชว้ี ัดภาพความสำเรจ็ ของ 1. ประชมุ ทบทวหนลักสตู รสถา1น.ศึกสษถาาในแศตึกล่ษะามหี ลักสตู รการ
กำหนดภาระงาน สถานศึกษา ระยะที่ 4 ภาคเรยี น
การพฒั นาคุณภาพ ท่ี 1/2566 หลักสตู รฯ และปรับปรงุ เรยี นรทู้ สี่ ง่ เสรมิ การพฒั นา
ตามจดุ เน้น
5. ตัวชีว้ ดั ภาพความสำเร็จของ หลกั สตู ร คณุ ภาพผ้เู รยี นตามจุดเน้น
5. ดำเนนิ การ สถานศึกษา ระยะท่ี 5 ภาคเรยี น
พฒั นา ที่ 2/2566 2. ประชุม ปฏบิ ตั กิ ารปรับ 2. ตารางเรียนใหม่
คุณภาพ
ผเู้ รยี นตาม 1. ทบทวนจุดแข็ง จุดออ่ นของ โครงสร้าง เวลาเรยี น และ 3. ครผู สู้ อนมวี ธิ ีการจดั การ
จดุ เนน้ องคป์ ระกอบ เช่น วสิ ัยทศั น์
โครงสร้างเวลาเรียน การจัด จัดทำแผนการเรยี นรู้ เรียนรทู้ ี่หลากหลายตามจดุ เน้น
รายวิชา/กจิ กรรมเพ่มิ เติม การจดั
ตารางเรยี น ฯลฯ 3. สำรวจ จดั หา พัฒนาส่อื 4. ส่อื แหล่งเรยี นรูท้ ี

2. ออกแบบหลักสูตรการเรียนรู้ท่ี และแหลง่ การเรยี นรู้ หลากหลาย
สอดคล้องกับการพัฒนาคณุ ภาพ
ผเู้ รยี นตามจุดเนน้ (พจิ ารณาได้จาก 5. มีเครือ่ งมอื วธิ กี ารวดั ผล
ตัวอยา่ ง 4 ลักษณะ)
และประเมนิ ผลตามจุดเนน้
3. ปรับโครงสรา้ งเวลาเรียน และ
ตารางเรียนให้สอดคลอ้ งกบั 1. ครจู ัดกจิ กรรมการ 1. ผเู้ รยี นไดร้ บั การพัฒนาตาม
หลกั สตู รการเรยี นรูท้ อี่ อกแบบไว้ เรยี นรูอ้ ย่างหลากหลายทง้ั จุดเนน้
ใน และนอกห้องเรยี น
4. ออกแบบการจดั การเรยี นรใู้ ห้ 2. ออกแบบการวดั และ 2. ครมู รี ปู แบบและนวตั กรรม
ส่งเสรมิ การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน ประเมนิ ผลทสี่ อดคลอ้ ง การจดั การเรยี นรทู้ ่นี ำไปพัฒนา
ตามจุดเนน้ ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรียน กบั จุดเน้น คณุ ภาพผู้เรยี นไดต้ ามจุดเน้น

5. จดั หา จัดทำสือ่ แหล่งเรียนรู้ และ
ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินท่เี หมาะสมกับ
การจดั การเรยี นรู้

6. ออกแบบการวดั และประเมนิ ผล
ทหี่ ลากหลายและเหมาะสมกับ
ผู้เรยี นโดยเนน้ การประเมนิ
สภาพจรงิ

1. จดั การเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รและ
ตารางเรียนท่อี อกแบบไว้ โดยเน้น
การพฒั นาคุณภาพ

2. วดั และประเมินผลความกา้ วหนา้
ของผ้เู รยี นระหวา่ งเรยี น

3. วดั และประเมินผลคณุ ภาพผู้เรยี น
ตามตวั ชี้วัดของจดุ เนน้

ขน้ั ท่ี ประเด็นที่เกย่ี วข้อง วธิ กี าร ผลทไ่ี ดร้ บั
6. ตรวจสอบ
1. ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพฒั นา 1. ประชมุ ครเู พือ่ 1. หลกั สตู รและการจดั การ
ปรบั ปรุง คุณภาพผเู้ รยี นตามจดุ เน้นในขน้ั ประเมินผลการนำหลักสตู ร เรยี นรไู้ ดร้ บั การพฒั นา
พัฒนา ที่ 5 ไปใช้
- การใชห้ ลกั สตู รการเรยี นรู้ที่ 2. ผูท้ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งประเมนิ 2. กระบวนการบริหาร
7. สรปุ และ สง่ เสริมการพฒั นาคณุ ภาพ ตนเอง หลักสตู รมกี ารขบั เคลื่อน
รายงานผล ผูเ้ รยี นตามจดุ เน้น 3. ตรวจสอบแผนการ
การพัฒนา - การใช้โครงสร้างเวลาเรยี นและ จดั การเรยี นรู้ 3. ผูเ้ รยี นมกี ารพฒั นาตาม
ผเู้ รยี น ตารางเรียนตามรปู แบบของ จุดเนน้
หลักสตู รการเรยี นรู้
- การจัดการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย 1. ประชมุ สมั มนา 1. มีผลการพฒั นาคณุ ภาพ
ทั้งในและนอกห้องเรยี น แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ผ้เู รยี นตามจดุ เนน้
- การวัดและประเมินผลท่เี นน้ 2. นำเสนอผลงานคณุ ภาพ
การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นตาม 2. มีแนวทางและนวตั กรรม
จดุ เนน้ ผเู้ รยี นตามจดุ เน้น การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน
3. จัดนทิ รรศการแสดง ตามจดุ เนน้
2. นำผลการตรวจสอบปรับปรงุ ผลงาน หรือประชาสัมพันธ์
จดุ อ่อน และพฒั นาจุดเด่น ผลงานสสู่ าธารณชน 3. มหี ลกั ฐานและร่องรอย
4. สรุป รายงานผล เสนอ ในการพัฒนาคณุ ภาพ
1. สรปุ ผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน ผ้ทู เ่ี ก่ียวข้อง ผเู้ รยี นตามจุดเนน้
ตามจดุ เนน้ ในดา้ นการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนนิ งาน ปญั หา อปุ สรรค 4. มีความภาคภูมิใจใน
และข้อเสนอแนะ ความสำเร็จ

2. รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพ 5. ไดข้ อ้ เสนอแนะเพ่อื
ผเู้ รยี นตามจุดเนน้ เมอ่ื สิ้นสดุ ตาม การพัฒนา
ระยะท่ี 1-5

3. นำผลจากรายงานไปใช้ในการ
วางแผนและพัฒนา

ทม่ี า : สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2553). แนวทางการนำจดุ เน้นการพฒั นาผเู้ รียนสูก่ ารปฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แนวทางการปฏิบตั ริ ะดับห้องเรียน

 ตรวจสอบ ทบทวนรายวิชา  โครงสรา้ งรายวิชา ตารางเรียน
และกิจกรรมในความรบั ผิดชอบ  หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดกจิ กรรม และโครงการ
 ส่อื และแหล่งการเรียนรู้

วิเคราะหผ์ ู้เรยี น  จดั ทำข้อมูลสารสนเทศระดบั ช้ันเรียน
รายบุคคล  จัดกลุ่มการพฒั นาผู้เรียนตามจุดเน้น

 กำหนดแนวทาง  รปู แบบกิจกรรมในและนอกห้องเรยี น
การจัดการเรยี นรู้  หน่วยการเรียนรู้ กจิ กรรมโครงการ
ที่สอดคล้องกบั จดุ เน้น  แผนการจัดการเรียนรู้

  จัดการเรียนรตู้ ามแนวทางทอ่ี อกแบบ
ดำเนินการจัดการเรียนรู้  วดั และประเมินผลการพัฒนาผ้เู รียน
 วิจยั และนวตั กรรมการเรียนรู้
  นเิ ทศ ตดิ ตาม และแลกเปลย่ี นเรียนรู้
นำเสนอผลการพัฒนา
ผู้เรียนตามจดุ เนน้  รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนรายบคุ คล/กลุม่
 รายงานผลการพัฒนาตามจดุ เน้น
 รายงานการพัฒนาวิจยั /นวัตกรรมการเรียนรู้
 รายงานภาพความสำเร็จ อปุ สรรค และปัญหา

แนวทางการปฏิบตั ิระดบั หอ้ งเรียน

ข้นั ท่ี ประเดน็ ท่เี กยี่ วขอ้ ง วธิ ีการ ผลทีไ่ ด้รบั
1. ตรวจสอบ 1. โครงสร้างรายวชิ า โครงสรา้ งกจิ กรรม 1. ไดจ้ ุดเด่น จดุ พฒั นาของ
1. ศึกษาเอกสาร ข้อมลู ตา่ งๆ
ทบทวน พฒั นาผเู้ รยี น ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นา รายวชิ าและกจิ กรรมในความ
รายวิชา 2. ตารางเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ คุณภาพผ้เู รยี นตามจุดเนน้ รับผดิ ชอบ
และ 3. แผนการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 2. ไดแ้ นวทางการปรับปรงุ /
กจิ กรรม 2. วเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ จุดพัฒนา พัฒนารายวชิ าและกิจกรรมให้
ในความ และแผนปฏิบตั กิ ารโครงการตา่ งๆ ทกุ ด้าน สอดคลอ้ งกับแนวทางการ
รบั ผดิ ชอบ 4. สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้ และภูมปิ ญั ญา พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตาม
3. นำขอ้ มลู ของสถานศึกษา จดุ เนน้ ของ สพฐ. และ
2. วเิ คราะห์ ท้องถิ่น มาเปรยี บเทยี บกับ สถานศกึ ษา
ผู้เรียนเป็น 5. คณุ ภาพผ้เู รยี นทกุ ระดบั ท้งั ใน แนวทางการพัฒนา 3. มขี ้อมูลพ้ืนฐานในการ
รายบุคล คณุ ภาพผู้เรยี นตามจุดเนน้ กำหนดทศิ ทางการพัฒนา
ภาพรวมและแยกรายวิชา เช่น NT, ของ สพฐ. คุณภาพผ้เู รยี นตามจดุ เน้น
O-Net, สมศ., เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
4. ตรวจสอบ 1. มีขอ้ มูลพนื้ ฐานของผูเ้ รยี นเปน็
1. ข้อมูลด้านสติปญั ญา ทกั ษะ ความสอดคล้องของสือ่ รายบคุ คล
ความสามารถ และคุณลกั ษณะ แหลง่ การเรียนรฯู้
สถานศกึ ษาท่ีปรบั ปรุงใหม่ 2. มีข้อมลู ที่เป็นจดุ เด่นจุดพัฒนา
2. สขุ ภาพ ร่างกาย และสิง่ ที่ใช้อยเู่ ดมิ ของผู้เรยี นรายบคุ คล และราย
3. พน้ื ฐานครอบครัว เศรษฐกจิ กลมุ่
4. สังคม เพ่อื น และผูเ้ กีย่ วขอ้ ง 1. ศกึ ษา รวบรวมข้อมลู
5. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายบุคคล โดยวธิ กี าร 3. มีหลักฐาน ร่องรอยเพือ่ นำไปสู่
6. ผลงานท่ภี าคภมู ใิ จประสบ ดงั น้ี การพัฒนาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล
- ตรวจสอบจากข้อมูล รายกลมุ่ อย่างเป็นรูปธรรม
ความสำเรจ็ เอกสารของสถานศึกษา
7. ผลกระทบที่เปน็ ปัญหา และ Portfolio นกั เรยี น
- สอบถาม
- สัมภาษณ์
- สังเกต ฯลฯ

2. วิเคราะหจ์ ุดเด่น จดุ ด้อย
ของผเู้ รียนรายบคุ คล

3. จัดกล่มุ ผเู้ รยี น โดยให้
แตล่ ะกลุ่มมคี วาม
สอดคล้องใกลเ้ คียงกัน
ตามจุดเนน้ ระดบั ชน้ั

ขัน้ ท่ี ประเด็นทีเ่ กย่ี วขอ้ ง วธิ ีการ ผลทีไ่ ด้รับ
1. มีแนวทางในการพัฒนาผเู้ รยี น
3. กำหนด 1. หนว่ ยการเรียนรู้ 1. ออกแบบการจดั การเรียนรู้
แนวทาง 2. แผนการจดั การเรยี นรู้ และการจดั กจิ กรรมที่ เปน็ รายบคุ คลและรายกลมุ่
การจัดการ 3. แผนการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน หลากหลายเหมาะสม สอดคล้องตามจุดเน้น
เรียนรูท้ ี่ 4. แผนปฏบิ ตั กิ ารโครงการและกจิ กรรม กับจดุ เนน้ การพฒั นา 2. มีรูปแบบการจัดการเรยี นรทู้ ่ี
สอดคล้อง ผู้เรยี น และตารางเรียน เหมาะสมกบั ผ้เู รยี นตามจุดเนน้
กบั จุดเนน้ พเิ ศษตา่ งๆ ทกี่ ำหนด 3. มสี อ่ื แหลง่ การเรียนรู้ท่ี
5. ส่ือ แหลง่ การเรยี นรู้ ภูมิปญั ญา หลากหลายสอดคลอ้ งตาม
6. การวัดและประเมนิ ผล 2. จัดทำ จัดหาสื่อ จุดเน้น
แหลง่ การเรียนรฯู้ ให้ 4. มีเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ
4. ดำเนนิ การ 1. การจดั การเรยี นรตู้ ามจุดเน้นทั้งใน สอดคลอ้ งกับกิจกรรม คุณภาพผู้เรยี นตามจุดเน้น
จัดการ และนอกห้องเรยี น การเรยี นรูท้ อี่ อกแบบ
เรยี นรู้ 1. ผู้เรยี นมีทกั ษะความสามารถ
2. การประเมินความก้าวหนา้ ของผู้เรยี น 3. ออกแบบเคร่อื งมอื วดั ผล และคณุ ลักษณะตามจดุ เน้น
3. การประเมินคณุ ภาพผูเ้ รยี นตามจดุ เน้น และประเมินผลที่
4. การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ หลากหลาย โดยเน้น 2. ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การ
5. การวจิ ยั เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น การประเมนิ สภาพจรงิ เรียนรู้
ในระดบั ชนั้ เรยี น
ในระดับชัน้ เรยี น 3. มกี ารใช้นวตั กรรมการเรยี นรู้
6. การนิเทศ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ 1. จดั การเรียนรู้ในหอ้ งเรียน ตามจุดเน้น
ตามแผนการจดั การเรียนรู้
4. ผ้เู รยี นไดแ้ สดงออกตาม
2. จัดกิจกรรมนอกห้องเรียน ศักยภาพของตนเอง
ทสี่ ง่ เสรมิ จดุ เน้นตาม
ศักยภาพผเู้ รยี น 5. มีการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน โดย
ใชก้ ระบวนการวจิ ัย
3. วดั และประเมนิ ผล
ความก้าวหนา้ ของผ้เู รยี น 6. มกี ารสรา้ งความร่วมมือระหวา่ ง
และประเมินคุณภาพ ครแู ละผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ ง
ตามจุดเนน้
7. มีการนำหลกั สตู รการเรยี นรู้
4. พัฒนานวัตกรรมการ ไปส่กู ารปฏิบตั ิ
เรียนรู้ทช่ี ว่ ยใหเ้ กดิ การ
พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ
ท้งั รายบคุ คลและรายกลมุ่

5. นำผลการประเมนิ ไปใช้
พัฒนาและแก้ไขปญั หา
ผ้เู รียนตามกระบวนการวิจัย

6. ครผู สู้ อนและผู้เกยี่ วขอ้ ง
มกี ารนเิ ทศแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ โดยเน้นการสร้าง
ความร่วมมือ

ข้ันท่ี ประเดน็ ท่เี ก่ียวขอ้ ง วิธีการ ผลทไ่ี ดร้ ับ

5. นำเสนอ 1. ผลการพฒั นาผเู้ รียนตามจดุ เนน้ 1. ประเมนิ ผลการพัฒนา 1. มผี ลการพัฒนาผเู้ รยี นตาม
ผลการ รายบคุ คลและรายกลมุ่ คุณภาพผู้เรยี นตาม จดุ เนน้ ในทกุ มิตทิ ้ัง
พัฒนา จุดเนน้ ดว้ ยวิธกี ารต่างๆ รายบคุ คล รายกลุ่ม และ
ผเู้ รยี นตาม 2. ผลการพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ ระดบั ห้องเรยี น
จดุ เน้น 3. ผลการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 2. วิเคราะหแ์ ละสรุปผล
4. ผลการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ การพัฒนาผเู้ รยี นท้ัง 2. มีหลกั สูตรการเรยี นรู้
รายกลมุ่ และรายบคุ คล ระดบั ห้องเรยี นที่เป็น
ในระดับห้องเรยี น ตามจุดเนน้ ตัวอย่างในการพฒั นา
ผเู้ รยี นตามจดุ เน้น
3. นำผลการพฒั นาผเู้ รยี น
ไปจัดทำเป็นข้อมลู ใน 3. มีการวจิ ัยในช้นั เรยี น
ระดบั หอ้ งเรียนเพอื่ ใชใ้ น ทเ่ี ปน็ แนวทางในการ
การพฒั นาผู้เรยี นตาม พฒั นาผเู้ รียนตามจดุ เนน้
จุดเน้น
4. มีรปู แบบความร่วมมอื
4. สรปุ ผลการนำนวตั กรรม ของครแู ละผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง
การเรยี นรูแ้ ละการวจิ ยั
ในชนั้ เรยี น 5. มีเอกสารรายงาน และ
ขอ้ มูลสารสนเทศที่เป็น
5. จดั ทำรายงานผลการ รอ่ งรอย หลักฐานในการ
พัฒนาผู้เรียนตามจดุ เนน้ พัฒนาผู้เรยี นตามจดุ เนน้
ระดบั หอ้ งเรยี นใน
ความรบั ผิดชอบ

6. จัดทำรายงานผลการ
พฒั นาหลักสตู รการเรียนรู้
ระดบั ห้องเรียนใน
ความรับผดิ ชอบ

ท่ีมา : สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการนำจดุ เน้นการพฒั นาผูเ้ รยี นส่กู ารปฏบิ ัติ. กรงุ เทพฯ : สำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

แนวทางการประเมินตามจดุ เน้นคุณภาพผเู้ รยี น

ทกั ษะการคิด จุดเนน้ : ทกั ษะการคิดขั้นสูง

ชนั้ ความสามารถ และทักษะ วิธกี าร วิธีการวดั และประเมินผล เกณฑก์ ารประเมิน
เคร่ืองมือ

ม. 1 ทกั ษะการวิเคราะห์ 1. ประเมนิ ทักษะการ - แบบทดสอบ ผ่าน :
ทักษะการประเมิน คิดวิเคราะห์ โดยการ สถานการณ์ 1. วิเคราะห์ข้อมูลจาก
และทกั ษะการสรปุ กำหนดสถานการณ์ให้ สถานการณ์ได้เหมาะสม
ความคดิ เหน็ ผู้เรยี น แลว้ ตง้ั คำถามให้ 2. สรปุ และอธิบาย
ผู้เรยี นวเิ คราะห์ เหตผุ ลได้เหมาะสม

2. กำหนดสถานการณห์ รือ
คำถามแลว้ ใหผ้ ้เู รยี น
ประเมนิ หรือตดั สิน

3. กำหนดสถานการณใ์ ห้
ผเู้ รยี นแล้วตง้ั คำถามให้
ผเู้ รยี นสรุปและพร้อมกบั
อธบิ ายเหตผุ ล

ม. 4-6 ทกั ษะการคิดแก้ปญั หา ประเมนิ ทักษะการคดิ แก้ปญั หา - แบบทดสอบ ผ่าน :
อย่างสรา้ งสรรค์ อย่างสร้างสรรค์ โดยการกำหนด สถานการณท์ เ่ี นน้ ผูเ้ รยี นแกป้ ญั หา
สถานการณใ์ ห้ผเู้ รยี นแก้ปญั หา การคิดแกป้ ัญหา จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ได้
โดยเน้นการแก้ปญั หาเชิงบวกที่ อย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมอย่างสร้างสรรคแ์ ละ
เป็นวิธกี ารท่สี รา้ งสรรค์ และมี มคี วามเป็นไปได้ในการแกป้ ญั หา
ความเปน็ ในชวี ิตจริง
ไปได้ในการนำไปใชแ้ กป้ ัญหาใน
ชวี ติ จริง

ทมี่ า : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการนำจดุ เนน้ การพฒั นาผเู้ รียนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

โครงสรา้ งรายวิชา

การงานอาชีพ ม.5

ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
1 การทำงานเพื่อการ เรียนรู้ / ตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน
ดำรงชีวิต ง 1.1 ม.4-6/1 การทำงานเพอ่ื การดำรงชวี ิตจะตอ้ งสร้างผลงานอยา่ งมี
ความคิดสรา้ งสรรค์ โดยใช้ทกั ษะการทำงานร่วมกัน 2 10
2 งานประดษิ ฐ์ ม.4-6/2 ทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทกั ษะ
เอกลกั ษณไ์ ทย ม.4-6/3 ในการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยใน 4 20
ม.4-6/4 การทำงาน และใชพ้ ลงั งานทรัพยากรอยา่ งคุ้มค่าและ
3 การแปรรูปอาหาร ม.4-6/5 ยงั่ ยืนเพอื่ การอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม 6 20
ม.4-6/6 8 30
4 งานช่าง ม.4-6/7 การสรา้ งผลงานในงานประดิษฐ์เกีย่ วกบั
ง 1.1 ม.4-6/2 เอกลกั ษณ์ไทยน้ันต้องมีความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้
ม.4-6/3 ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน ทกั ษะการจดั การ ทักษะ
ม.4-6/4 กระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะในการแสวงหาความรู้ มี
ม.4-6/5 คุณธรรมและลกั ษณะนิสยั ในการทำงาน และใช้
ม.4-6/6 พลังงาน ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและย่ังยืนเพอื่
ม.4-6/7 การอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
การจัดการผลผลิตทางการเกษตรจะตอ้ งใชท้ ักษะการ
ง 1.1 ม.4-6/3 จดั การอยา่ งมีคณุ ธรรม มลี ักษณะนิสัยทดี่ ีในการทำงาน
ม.4-6/6 และใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรอย่างคมุ้ ค่าและย่ังยนื เพือ่ การ
ม.4-6/7 อนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม
การใชเ้ ครื่องมือวดั ในงานชา่ ง ความปลอดภัยในงานชา่ ง
ง 1.1 ม.4-6/4 การซ่อมแซมเครอื่ งใช้ไฟฟ้าทชี่ ำรดุ การออกแบบ
ม.4-6/6 ชถูกน้ิ ตงาอ้ นงโจดะยทใชำ้วใหัสด้ขุแอลงทะอี่ชปุำรกุดรกณลใ์ บั นมทาอ้ ใงชถง้มิ่นา.นตไดามอ้ ขีกัน้คตรง้ัอโนดทย่ี
ม.4-6/7 ไมต่ ้องซื้อใหม่

โครงสรา้ งแผนฯ การงานอาชพี ม.5

เวลา 20 ช่ัวโมง

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั วธิ ีสอน/กระบวนการจัด ทักษะการคิด เวลา
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 การเรยี นรู้ การเรียนรู้ (ช่ัวโมง)
การทำงานเพ่ือ 1. หลักการทำงาน 1. ทักษะการสงั เกตวธิ กี ารทำงาน
การดำรงชวี ิตเป็นคนดี - วิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : เพอ่ื การดำรงชีวิต 1
ของชมุ ชน 2. คุณธรรม จรยิ ธรรม กระบวนการกลุ่ม 1
เจตคติ ลกั ษณะนิสัยทดี่ ี 2. ทักษะการวเิ คราะห์ 2
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ในการทำงาน และ - วธิ สี อนแบบกระบวนการ 1. ทักษะการสำรวจคน้ หา
งานประดิษฐเ์ อกลกั ษณ์ หลักการ 5R กล่มุ สมั พนั ธ์ 2. ทกั ษะการวิเคราะห์ 3
ไทย 3. ทกั ษะการสร้างความรู้
1. งานใบตอง - วิธีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : 4. ทกั ษะการสรุปลงความเหน็
กระบวนการปฏิบตั ิ 1. ทกั ษะการสำรวจคน้ หา
2. งานดอกไม้สด 2. ทักษะการวิเคราะห์
- วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : 3. ทกั ษะการสงั เคราะหข์ ้อมลู
กระบวนการปฏบิ ตั ิ 4. ทักษะการสรา้ งความรู้
5. ทักษะกระบวนการคดิ

แก้ปัญหา
6. ทักษะกระบวนการคิด

สรา้ งสรรค์
7. ทักษะการสรุปลงความเหน็
8. ทักษะการประเมนิ
1. ทกั ษะการสำรวจค้นหา
2. ทกั ษะการวิเคราะห์
3. ทักษะการสงั เคราะหข์ ้อมลู
4. ทกั ษะการสรา้ งความรู้
5. ทกั ษะกระบวนการคิด

แกป้ ัญหา
6. ทักษะกระบวนการคดิ

สรา้ งสรรค์
7. ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็
8. ทกั ษะการประเมิน

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั วิธสี อน/กระบวนการจัด ทกั ษะการคิด เวลา
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ (ช่ัวโมง)
การแปรรปู อาหาร
1. การเกษตร - วิธสี อนแบบเน้นกระบวนการ 1. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู 2
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4
งานช่าง กลมุ่ 2. ทักษะการเปรยี บเทียบ 6

3. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล 2
3
4. ทักษะการวเิ คราะห์ 3

5. ทักษะการนำความรไู้ ปใช้

2. ผลติ เก็บเกย่ี ว และแปรรูป - วิธสี อนแบบโครงงานเป็นฐาน 1. ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู

ผลผลติ ทางการเกษตร (Project Based Learning) 2. ทักษะการใหเ้ หตผุ ล

3. ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็

4. ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้

1. การใช้เครือ่ งมอื วดั - วิธสี อน(Inquiry Method : 5E) 1. ทักษะการสรปุ ลงความเห็น

ละเอยี ด 2. ทักษะการให้เหตผุ ล

3. ทกั ษะการสังเคราะห์

2. การซอ่ มแซมและตดิ ต้งั - วิธีสอนโดยใช้การสาธติ 1. ทกั ษะการสรุปลงความเหน็

เครื่องใช้ภายในบ้าน 2. ทกั ษะการให้เหตผุ ล

3. ทกั ษะการสงั เคราะห์

3. การซ่อมแซมอุปกรณ์ - วธิ ีสอนแบบโครงการเป็น 1. ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น

เครื่องใช้ภายในบ้าน หลกั (Project Based 2. ทกั ษะการใหเ้ หตผุ ล
Learning) 3. ทกั ษะการสังเคราะห์

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1

หลกั การทำงานเพ่อื การดำรงชวี ิต

เวลา 2 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั
ง 1.1 เขา้ ใจการทำงาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการ
แกป้ ญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทำงาน
มจี ติ สำนกึ ในการใช้พลงั งาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพอื่ การดำรงชวี ิตและครอบครวั
ง 1.1 ม.4-6/1 อธบิ ายวธิ กี ารทำงานเพอื่ การดำรงชวี ติ
ง 1.1 ม.4-6/2 สรา้ งผลงานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละมที กั ษะการทำงานรว่ มกนั
ง 1.1 ม.4-6/3 มที กั ษะการจดั การในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/4 มที กั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/5 มที กั ษะในการแสวงหาความรเู้ พอื่ การดำรงชวี ติ
ง 1.1 ม.4-6/6 มีคุณธรรมและลักษณะนสิ ัยในการทำงาน

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
ในการทำงานเพอ่ื การดำรงชวี ติ ชมุ ชนจะสะอาด ปลอดภยั คนในชุมชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี มคี วามสามคั คีกัน

เพราะนกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ทแ่ี ละบทบาทในฐานะสมาชกิ ของชมุ ชนจำเปน็ ตอ้ งใชท้ กั ษะกระบวนการอย่างหลากหลาย
มาประยกุ ตใ์ ช้ เชน่ ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการแสวงหาความรู้ นอกจากน้ี ผปู้ ฏบิ ัติงานยงั
ตอ้ งมคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี ใี นการทำงาน ควรนำหลกั การของวงจร PDCA และกจิ กรรม 5 ส มาใช้ประกอบการ
ทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื ใหก้ ารทำงานสำเรจ็ ลลุ ว่ งตามเปา้ หมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากนี้ ยังต้องรจู้ กั ปฏิบัติตน
ตามบทบาทและหนา้ ที่ที่มีตอ่ สมาชิกในครอบครวั โรงเรยี น และชมุ ชนไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

1) วธิ ีการทำงานเพอ่ื การดำรงชวี ติ เป็นการทำงานทม่ี คี วามเก่ยี วข้องกบั ความเป็นอยูใ่ นชีวติ ประจำวนั
2) ทกั ษะการจดั การ เปน็ การจดั ระบบงานและระบบคน เพ่อื ให้การทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายอย่างมปี ระสิทธิภาพ
3) ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน มขี นั้ ตอน คอื การสงั เกต วเิ คราะห์ สรา้ งทางเลือก และประเมินทางเลอื ก
4) ทกั ษะการแสวงหาความรู้เพ่ือการดำรงชวี ิต ประกอบดว้ ยการศกึ ษา คน้ คว้า รวบรวม สำรวจ และบันทึก
5) คณุ ธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทำงาน เป็นการสรา้ งคุณงามความดีและควรฝึกใหผ้ ู้เรียนมคี ุณภาพท่ีสำคญั ๆ

เช่น ขยัน อดทน รับผิดชอบ ซอื่ สัตย์

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน

นกั เรยี นสามารถนำความรไู้ ปตอ่ ยอดกบั ในชมุ ชนได้ เปน็ คนทชี่ มุ ชนเหน็ คณุ คา่ ความสำคญั มจี ติ รอาสา
4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการแก้ปญั หา
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

24

5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ม่งุ มั่นในการทำงาน

6. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

รายงานการปฏบิ ัติงานต่าง ๆ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทำงานและทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
ตรวจช้นิ งาน รายงานการ ระดบั คุณภาพ 2
รายการวัด ปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยใช้ แบบประเมนิ ชิ้นงาน ผ่านเกณฑ์
7.1 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน ทักษะกระบวนการทำงาน รายงานการปฏบิ ัตงิ าน
และทักษะกระบวนการ ต่าง ๆ โดยใช้ทกั ษะ ประเมินตามสภาพจรงิ
(รวบยอด) รายงานการ แกป้ ญั หา กระบวนการทำงาน
ปฏบิ ตั งิ านตา่ ง ๆ โดยใชท้ ักษะ และทกั ษะกระบวนการ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
กระบวนการทำงานและทักษะ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น แก้ปญั หา รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
กระบวนการแก้ปัญหา ระดับคุณภาพ 2
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ผา่ นเกณฑ์
7.2 การประเมนิ ก่อนเรียน
แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - ใบงานท่ี 1.1.1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 - ตรวจใบงานท่ี 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1
เรื่อง หลักการทำงาน
เพอื่ การดำรงชีวติ - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ผลงานที่นำเสนอ

7.3 การประเมินระหวา่ งการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้
1) ทักษะกระบวนการทำงาน

2) การแกป้ ัญหาในการทำงาน
ดว้ ยวงจร PDCA

3) การนำเสนอผลงาน

4) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2
รายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล
5) พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2
- สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์
6) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
กลุ่ม การทำงานกลุม่ ระดบั คณุ ภาพ 2
7.4 การประเมนิ หลงั เรียน ผา่ นเกณฑ์
แบบทดสอบหลงั เรยี น - สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ประเมินตามสภาพจรงิ
เร่ือง หลกั การทำงาน และมุ่งมนั่ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์
เพือ่ การดำรงชวี ิต
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น

25

8. กิจกรรมการเรียนรู้ เวลา 1 ช่วั โมง

นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื ง หลักการทำงานเพอื่ การดำรงชวี ิต

เร่ืองที่ 1 ทกั ษะกระบวนการทำงาน

วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instruction Model)

ข้ันนำ

ข้นั ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ
1. ครูแจง้ ชอ่ื เรอื่ งท่จี ะเรียนรู้และผลการเรยี นรู้ให้นกั เรยี นทราบ จากนน้ั ใหน้ ักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง หลักการทำงานเพ่ือการดำรงชวี ิต
2. ครตู ้งั คำถามกระตุ้นนกั เรยี นวา่ “ในชวี ิตประจำวันของนักเรียนได้รบั มอบหมายให้ทำงานใดและมวี ิธกี ารทำงานอย่างไร”
และ “หากต้องการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายใหส้ ำเรจ็ ลุล่วงอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพจำเปน็ ตอ้ งใชท้ ักษะกระบวนการทำงาน
ใด”
3. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์เก่ียวกับการทำงานในชีวติ ประจำวนั ของตนเองว่ามีวิธีการ
ทำงานอย่างไรให้เพื่อนฟังหน้าช้ันเรียน จากนั้นให้เพ่ือนร่วมชั้นเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าเพ่ือนคนดังกล่าว
มีการทำงานทเ่ี ปน็ กระบวนการหรอื ไม่ อย่างไร
4. ครถู ามนกั เรยี นวา่ “นกั เรยี นคิดวา่ การทำงานมีความสำคัญตอ่ การดำรงชีวิตประจำวนั ของเราหรอื ไม่ อยา่ งไร”

ข้นั ท่ี 2 สำรวจค้นหา
5. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละเทา่ ๆ กนั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษาหาความรู้เพม่ิ เตมิ ในประเด็นทค่ี รูกำหนดให้ ได้แก่
ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และหลักการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต จากหนังสือเรียน
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 หรือศกึ ษาเพิม่ เตมิ จากอนิ เทอร์เนต็
6. ครใู ห้นักเรียนศึกษาเพ่มิ เตมิ เก่ียวกับทกั ษะกระบวนการทำงาน ทกั ษะกระบวนการแก้ปญั หา และหลักการทำงาน
เพอื่ การดำรงชวี ติ จาก PowerPoint ม.5 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1

ขั้นสอน

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้

1. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั อภิปรายแลกเปลย่ี นความรใู้ นเรื่องทไ่ี ด้ศกึ ษามา

2. ครูถามนักเรียนว่า “การวางแผนมีความสำคัญต่อการทำงานอย่างไร” และ

“หลกั การพฒั นาคณุ ภาพในการทำงานสามารถนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นการทำงานของนกั เรยี นได้อยา่ งไร”

3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “ในการทำงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำงานแบบ

รายบุคคล หรือการทำงานแบบกล่มุ จะต้องมีการนำทักษะในการทำงานมาใชอ้ ยู่เสมอ ซึ่งทักษะท่ีนำมาใช้จะมีความ

หลากหลาย เช่น ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา นอกจากนี้ การทำงานยังต้องรู้จักการ

พัฒนาตนเอง พัฒนาผลงานท่ที ำอยู่เสมอ เพอ่ื ให้งานมีคุณภาพมากยิ่งขนึ้ ”

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ

1. ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำงานตามความสนใจ 1 งาน (งาน

บ้าน งานประดิษฐ์ งานผ้า) โดยนำขั้นตอนของกระบวนการทำงานมาประยุกต์ใช้ ซึ่งสามารถศึกษาจากตัวอย่างใน

หนงั สือเรยี น หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 หน้า 4 หรอื ศึกษาเพม่ิ เติมจากอนิ เทอรเ์ น็ต จากนัน้ บันทึกข้นั ตอนการวางแผนการ

ทำงานลงในใบงานที่ 1.1.1 เรือ่ ง ทกั ษะกระบวนการทำงาน

26

2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มละ 1 คน ออกมานำเสนอผลงานให้
เพื่อนชมหน้าชั้นเรียน จากนน้ั ใหเ้ พอื่ นรว่ มชั้นเรียนร่วมกันเสนอแนะเพิม่ เตมิ

3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า “ขั้นตอนของกระบวนการทำงานมีทั้งหมด 4 ข้ันตอน
ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทำงาน ซ่ึงหากผู้ปฏิบัติงาน
สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนดังกล่าวได้ จะส่งผลให้การทำงานสำเร็จลุล่วงบรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้ง
ไว”้

ข้นั สรุป
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล

1. ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปความรู้ เรือ่ ง ทกั ษะกระบวนการทำงาน
2. ครูตรวจสอบความรู้ ความเขา้ ใจของนักเรียนจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และการสรุปความรู้

27

เรอ่ื งที่ 2 การแกป้ ัญหาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA เวลา 1 ชว่ั โมง

วิธสี อนแบบเน้นกระบวนการเรยี นรู้ความรู้ ความเข้าใจ

ขนั้ นำ
1. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับปัญหา หรืออุปสรรคในการทำงานท่ีผ่านมาว่า นักเรียนเคยพบเจอกับปัญหา หรืออุปสรรคใด และ

มีวธิ กี ารแกป้ ัญหา หรืออปุ สรรคนั้น ๆ อย่างไร จากน้นั ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ออกมาเลา่ ประสบการณเ์ กีย่ วกับ
ปัญหา หรืออปุ สรรค และวิธกี ารแก้ปัญหา หรอื อปุ สรรคท่พี บเจอจากการทำงานให้เพอื่ นฟงั หนา้ ชน้ั เรียน
2. ครูให้นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น และครูชว่ ยเสนอแนะเพมิ่ เตมิ

ข้ันสอน

ขัน้ ที่ 1 สงั เกต ตระหนัก
1. ครูให้นักเรียนดูแผนภูมิกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA จากหนังสือเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน้า 7
2. ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA จาก PowerPoint ม.5
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1
3. ครูถามนกั เรยี นว่า “วงจร PDCA ประกอบไปด้วยช้นั ตอนใด” และ “นกั เรยี นเคยเหน็ วงจร PDCA นหี้ รอื ไม่ นกั เรียนคิดว่า
มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร”

ข้นั ท่ี 2 วางแผนปฏิบัติ
4. ครใู ห้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม (กลุม่ เดิม) ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษากรณีศึกษาท่คี รูกำหนดให้ ซึง่ กรณศี ึกษาของแต่ละ
กล่มุ จะมคี วามแตกตา่ งกนั ไป มีดังน้ี
 กรณศี ึกษาที่ 1 : ปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึนระหวา่ งการทำงาน
 กรณศี ึกษาที่ 2 : ปัญหาความขดั แย้งกนั ระหว่างสมาชกิ ในกลุ่ม
 กรณศี ึกษาท่ี 3 : ปัญหาการวางแผนในการทำงานกลมุ่
5. ครแู จกกรณศี กึ ษาท่เี กี่ยวกบั ปญั หาทเ่ี กดิ ข้ึนในการทำงานทัง้ หมด 3 กรณี ใหก้ บั นกั เรียนแต่ละกลมุ่ โดยใช้วิธกี ารสมุ่ แจก
เพอ่ื ให้นกั เรยี นไดร้ ่วมกันคดิ วเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายความรู้รว่ มกนั ภายในกล่มุ

ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบตั ิ
6. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกันวเิ คราะหป์ ัญหาที่เกิดข้ึนในการทำงานจากกรณีศึกษาที่ครแู จกให้ และใชว้ งจร PDCA
เขา้ มาช่วยในการแกป้ ญั หา โดยใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขยี นขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาในรูปแบบของแผนผังความคดิ
หรือ Mind Mapping เพ่ือใหเ้ กิดความร้แู ละความเขา้ ใจท่ชี ัดเจนมากยิง่ ข้ึน
7. ครูให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ ส่งตวั แทนกลมุ่ ละ 1 คน ออกมานำเสนอผลการศกึ ษาเกีย่ วกับปัญหาท่ีเกิดข้นึ ในการทำงานจาก
กรณีศึกษาทีค่ รูแจกใหเ้ พือ่ นฟงั หน้าชน้ั เรยี น จากนั้นใหเ้ พอ่ื นรว่ มช้ันเรยี นรว่ มกันเสนอแนะเพม่ิ เตมิ
8. ครูถามนักเรียนวา่ “วงจร PDCA ช่วยป้องกันปัญหาท่จี ะเกิดขน้ึ ในการทำงานไดอ้ ย่างไร”
9. ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ว่า “กระบวนการแกป้ ัญหาในการทำงานไม่ได้มเี พียงการแก้ปญั หาด้วยวงจร PDCA เทา่ นั้น แต่ยังมีการ
แกป้ ัญหาด้วยการใชก้ จิ กรรม 5 ส ซ่งึ นักเรียนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทำงานได้อกี วธิ ีหน่ึง”

ขน้ั ที่ 4 พัฒนาความรคู้ วามเข้าใจ
10. ครูมอบหมายให้นักเรยี นทำใบงานท่ี 1.2.1 เรอ่ื ง การแกป้ ัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA และทำช้ินงาน/ภาระงาน
(รวบยอด) เรอ่ื ง การปฏบิ ตั งิ านต่าง ๆ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทำงานและการแกป้ ัญหา

28

ข้นั สรปุ

1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การแก้ปญั หาในการทำงานด้วยวงจร PDCA และการแก้ปัญหาในการทำงานด้วย
กจิ กรรม 5 ส

2. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1
3.

9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สือเรียน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม.5 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง หลักการทำงานเพ่อื การดำรงชวี ิต
2) ใบงานท่ี 1.1.1 เรื่อง ทักษะกระบวนการทำงาน
3) ใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง การแก้ปัญหาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA
4) ใบงานท่ี 1.3.1 เรื่อง บทบาทและหนา้ ทข่ี องตนเองที่มตี อ่ สมาชิกในครอบครวั โรงเรยี น และชุมชน
5) กรณีศึกษาเกีย่ วกับปัญหาทเ่ี กิดข้นึ ในการทำงาน
6) PowerPoint ม.5 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง หลกั การทำงานเพอื่ การดำรงชีวิต

9.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องสมดุ
2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
- http://skillstoworkforaliving.blogspot.com/
- https://www.brandbuffet.in.th/2014/07/10most-important-work-skills-in2020/
- https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/tuktang/xngkhkar-wichachiph/pdca
- http://www.xn--42c6decah6b4d6e6ctb.com/บทความเพ่ือพัฒนาบคุ ลากร-องคก์ ร/วงจร PDCA.html
- http://www.youtube.com/กิจกรรม 5 ส
- http://patchanee.wikispaces.com/บทบาทและหนา้ ท่ีของสมาชกิ ในครอบครัว
- http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1939-00

29

แบบทดสอบก่อนเรยี น

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1

คำชแี้ จง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. การประเมนิ ทางเลอื กในทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหาใน ง. พิจารณาสาเหตขุ องปญั หาและประเมนิ ทางเลอื ก
การทำงานมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร เพ่ือแกป้ ัญหา
ก. ทำงานตามแผนทไ่ี ดว้ างไว้
ข. ทำงานตรงตามกำหนดเวลา 7. การแก้ปญั หาในการทำงานด้วยการนำวงจร PDCA มาใช้
ค. ทราบข้อบกพร่องท่ีจะต้องแก้ไข ก่อใหเ้ กิดผลดอี ยา่ งไร
ง. เลอื กวธิ แี กป้ ัญหาได้เหมาะสมท่สี ุด
ก. ลดความสบั สนในการทำงาน
2. การวางแผนการทำงานที่ดีจะตอ้ งมีลักษณะอย่างไร ข. สามารถแก้ปญั หาไดอ้ ย่างรวดเรว็
ก. มีความชดั เจน ค. ช่วยให้การทำงานรัดกมุ มากยง่ิ ขึ้น
ข. ปฏบิ ัตงิ านไดง้ า่ ย ง. ค้นหาวธิ กี ารทำงานท่ีดขี นึ้ กวา่ เดมิ
ค. ตรวจสอบการปฏิบัติงานได้ 8. การประเมินผลการทำงานกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์อย่างไร
ง. มคี วามซับซอ้ นในการปฏิบัติงาน ก. ทราบวา่ ใครเปน็ จุดออ่ นของทมี
ข. ชว่ ยใหท้ ำงานสำเรจ็ ได้อยา่ งรวดเรว็
3. ขอ้ ใดเปน็ ปัจจยั ท่ีทำให้การทำงานกลุม่ ประสบผลสำเรจ็ ค. ทราบศกั ยภาพของสมาชกิ ของแต่ละคน
ก. หวั หน้ากลมุ่ มีความรมู้ าก ง. ตรวจสอบวา่ งานบรรลตุ ามเปา้ หมายทวี่ างไวห้ รือไม่
ข. สมาชกิ ในกลุ่มมีสขุ ภาพจิตดี 9. คณุ สมบัติใดเป็นคุณสมบัตทิ ่ีสำคญั ทีส่ ุดของนักเรยี นเมื่อ
ค. หวั หนา้ กลมุ่ มคี วามเช่ือม่ันในตวั เองสูง
อยู่ในโรงเรียน
ง. สมาชิกในกลุ่มรอรับคำส่ังจากหัวหนา้ กลมุ่ ก. เรียนเปน็ หลกั ข. สร้างมิตรภาพ
4. บคุ คลในข้อใดปฏบิ ตั ิตามหลักสขุ ลกั ษณะในการทำงาน ค. มีความรับผิดชอบ ง. ดแู ลชว่ ยเหลอื เพื่อน
10. พฤติกรรมของสมาชกิ ในครอบครัวใดท่ที ำใหเ้ กดิ ปัญหา
ด้วยกิจกรรม 5 ส ในครอบครัวมากท่สี ุด
ก. ส้มมคี วามขยัน ตงั้ ใจทำงานอยา่ งสมำ่ เสมอ ก. ใชจ้ า่ ยสุรุ่ยสุร่าย ข. หมกมนุ่ อบายมุข
ข. อรจดั วางสิ่งของเครื่องใชต้ ่าง ๆ ให้เปน็ หมวดหมู่ ค. กระเหมด็ กระแหม่ ง. มีความระแวงต่อกัน
ค. ปอนดป์ ัดกวาด เชด็ ถู บรเิ วณตา่ ง ๆ อย่าง

สมำ่ เสมอ
ง. นดิ สำรวจสิง่ ของตา่ ง ๆ แล้วแยกแยะของท่ีตอ้ งการ

ใช้กับของทไี่ ม่ตอ้ งการใช้ออกจากกนั

5. ข้อใดเป็นหลักในการแกป้ ญั หาท่ถี ูกตอ้ ง
ก. ลองผดิ ลองถกู ก่อนเสมอ
ข. มีผใู้ หค้ ำปรึกษา หรอื ให้คำแนะนำ
ค. คิดไวก้ ่อนเสมอวา่ ทุกปัญหามที างแก้ไข
ง. เลือกวธิ ีการแก้ปัญหาให้เหมาะสมกบั แต่ละปญั หา

6. การกระทำในขอ้ ใดเป็นการแก้ปญั หาอยา่ งมเี หตผุ ล
ก. กำหนดแผนงานใหม่ เพอื่ ลดปัญหาทเี่ กิดขึ้น
ข. ประเมินผลระหว่างการปฏบิ ตั ิงานทกุ ขน้ั ตอน
ค. หวั หน้ากลุ่มพิจารณาและตัดสินใจแกป้ ญั หา
เพียงลำพัง

1. ง. 2. ก. 3. ข. 4. ค. 5. ง. 6. ง. 7. ก. 8. ง. 9. ก. 10. ง.

30

แบบทดสอบหลงั เรียน

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1

คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 6. พฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัวใดทท่ี ำใหเ้ กิดปญั หาใน
1. ขอ้ ใดเปน็ หลักในการแก้ปัญหาท่ีถกู ต้อง ครอบครัวมากทส่ี ดุ
ก. ใชจ้ า่ ยสุรุ่ยสรุ า่ ย ข. หมกมุ่นอบายมุข
ก. ลองผดิ ลองถกู กอ่ นเสมอ ค. กระเหม็ดกระแหม่ ง. มีความระแวงตอ่ กนั
ข. มีผใู้ หค้ ำปรึกษา หรอื ใหค้ ำแนะนำ
7. คณุ สมบัติใดเป็นคุณสมบัติทสี่ ำคัญท่ีสดุ ของนักเรียนเม่ือ
ค. คดิ ไว้กอ่ นเสมอว่าทุกปญั หามที างแกไ้ ข
ง. เลอื กวิธกี ารแก้ปญั หาใหเ้ หมาะสมกับแต่ละปัญหา อยู่ในโรงเรียน
2. บุคคลในขอ้ ใดปฏบิ ัติตามหลักสุขลักษณะในการทำงาน ก. เรยี นเป็นหลัก ข. สร้างมิตรภาพ
ด้วยกิจกรรม 5 ส ค. มีความรับผิดชอบ ง. ดูแลช่วยเหลอื เพือ่ น
ก. ส้มมีความขยัน ตงั้ ใจทำงานอย่างสม่ำเสมอ 8. การประเมนิ ผลการทำงานกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างไร
ข. อรจัดวางสิง่ ของเคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ ให้เปน็ หมวดหมู่ ก. ทราบว่าใครเปน็ จดุ อ่อนของทมี
ค. ปอนดป์ ัดกวาด เช็ด ถู บรเิ วณต่าง ๆ อย่าง ข. ชว่ ยใหท้ ำงานสำเรจ็ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
ค. ทราบศักยภาพของสมาชกิ ของแต่ละคน
สม่ำเสมอ ง. ตรวจสอบวา่ งานบรรลตุ ามเป้าหมายท่วี างไว้หรือไม่
ง. นดิ สำรวจสิ่งของต่าง ๆ แล้วแยกแยะของที่ต้องการ 9. การแกป้ ัญหาในการทำงานด้วยการนำวงจร PDCA มาใช้

ใชก้ ับของทไ่ี ม่ต้องการใช้ออกจากกนั กอ่ ใหเ้ กิดผลดอี ยา่ งไร
ก. ลดความสับสนในการทำงาน
3. ขอ้ ใดเปน็ ปัจจยั ท่ีทำใหก้ ารทำงานกล่มุ ประสบผลสำเรจ็ ข. สามารถแก้ปญั หาได้อย่างรวดเร็ว
ก. หัวหน้ากล่มุ มีความรมู้ าก ค. ชว่ ยใหก้ ารทำงานรัดกุมมากยิ่งขึ้น
ข. สมาชกิ ในกลุ่มมีสขุ ภาพจิตดี ง. ค้นหาวธิ กี ารทำงานท่ดี ีข้ึนกวา่ เดมิ
ค. หวั หนา้ กล่มุ มีความเช่อื มั่นในตวั เองสงู 10. การกระทำในข้อใดเป็นการแกป้ ัญหาอย่างมเี หตผุ ล
ง. สมาชกิ ในกลุ่มรอรับคำสงั่ จากหัวหนา้ กลมุ่ ก. กำหนดแผนงานใหม่ เพ่อื ลดปัญหาทีเ่ กดิ ขน้ึ
ข. ประเมินผลระหว่างการปฏิบัตงิ านทุกข้นั ตอน
4. การวางแผนการทำงานที่ดีจะตอ้ งมีลกั ษณะอยา่ งไร ค. หัวหนา้ กลุม่ พิจารณาและตดั สินใจแกป้ ัญหา
ก. มคี วามชัดเจน
ข. ปฏบิ ัติงานได้งา่ ย เพียงลำพัง
ค. ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านได้
ง. พิจารณาสาเหตขุ องปญั หาและประเมินทางเลือก
ง. มีความซับซอ้ นในการปฏิบัติงาน เพอื่ แกป้ ัญหา
5. การประเมินทางเลอื กในทักษะกระบวนการแกป้ ัญหาใน

การทำงานมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร
ก. ทำงานตามแผนทีไ่ ดว้ างไว้
ข. ทำงานตรงตามกำหนดเวลา
ค. ทราบขอ้ บกพรอ่ งที่จะต้องแกไ้ ข
ง. เลอื กวธิ แี กป้ ัญหาได้เหมาะสมทีส่ ุด

เฉลย

1. ง. 2. ค. 3. ข. 4. ก. 5. ง. 6. ง. 7. ก. 8. ง. 9. ก. 10. ง.

31

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 หลกั การทำงานเพ่ือการดำรงชวี ติ

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1

ทักษะกระบวนการทำงาน

เวลา 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

1.1 ตัวช้ีวัด

ง 1.1 ง 1.1 ม.4-6/1 อธิบายวิธีการทำงานเพ่ือการดำรงชีวิต
ง 1.1 ม.4-6/2 สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะการทำงานร่วมกัน
ง 1.1 ม.4-6/3 มีทักษะการจัดการในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/4 มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/5 มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการดำรงชีวิต
ง 1.1 ม.4-6/6 มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายทักษะกระบวนการทำงานและกระบวนการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
2. มีทักษะในการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู้อย่างถูกต้อง
3. นำหลักการทำงานมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. มีคุณธรรมและมีลักษณะนิสัยท่ีดีในการทำงาน

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) วิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต เป็นการทำงานที่มีความเกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวัน
2) ทักษะการจัดการ เป็นการจัดระบบงานและระบบคน เพื่อให้การทำงานสำเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
3) ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน มีข้ันตอน คือ การสังเกต วิเคราะห์ สร้างทางเลือก และประเมิน
ทางเลือก
4) ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อการดำรงชีวิต ประกอบด้วยการศึกษา ค้นคว้า รวบรวม สำรวจ และบันทึก
5) คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน เป็นการสร้างคุณงามความดีและควรฝึกให้ผู้เรียนมีคุณภาพท่ีสำคัญ ๆ
เช่น ขยัน อดทน รับผิดชอบ ซื่อสัตย์
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
นักเรียนสามารถนำความรู้ไปต่อยอดกับในชุมชนได้ เป็นคนท่ีชุมชนเห็นคุณค่าความสำคัญ มีจิตอาสา

9

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

ในการทำงานใดๆ ก็ตาม ผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องใช้ทักษะอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาความรู้ เพ่ือให้การทำงานสำเร็จลุล่วงตามจุดมุ่งหมายท่ีได้วางไว้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ผู้ปฏิบัติงานควรมีคุณธรรมและมีลักษณะนิสัยท่ีดีในการทำงาน เพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับ
ผู้อน่ื ได้อย่างมีความสุข

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการแก้ปญั หา
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้

วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instruction Model)

10

ช่วั โมงที่ 1

ขนั้ นำ

ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ
1. ครแู จง้ ชอื่ เรือ่ งทจี่ ะเรียนรู้และผลการเรียนรู้ให้นักเรยี นทราบ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนทำแบบทดสอบ
ก่อนเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง หลักการทำงานเพอ่ื การดำรงชีวติ
2. ครูตง้ั คำถามกระตุ้นนกั เรยี นว่า “ในชีวติ ประจำวันของนักเรียนได้รบั มอบหมายให้ทำงานใดและมีวิธกี ารทำงาน
อยา่ งไร”

(แนวตอบ นกั เรยี นสามารถแสดงความคิดเห็นไดอ้ ยา่ งอิสระ)

“หากต้องการทำงานท่ีได้รับมอบหมายให้สำเร็จลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการ
ทำงานใด”

(แนวตอบ ในการทำงานจำเป็นต้องใช้ทักษะกระบวนการทำงานท่ีหลากหลาย เช่น ทักษะการจัดการ ทักษะ

กระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เพ่ือให้การทำงานสำเร็จลลุ ่วงตามจุดมุ่งหมายทไี่ ดว้ างไวอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพ)

3. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์เก่ียวกับการทำงานในชีวิตประจำวันของตนเองว่า
มวี ิธกี ารทำงานอย่างไรให้เพอื่ ฟังหนา้ ชนั้ เรยี น จากน้ันใหเ้ พ่ือนร่วมชั้นเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ว่าเพื่อนคน
ดังกล่าวมกี ารทำงานทเ่ี ป็นกระบวนการหรอื ไม่ อยา่ งไร

4. ครถู ามนักเรียนว่า “นกั เรียนคิดว่าการทำงานมีความสำคัญตอ่ การดำรงชวี ติ ประจำวนั ของเราหรอื ไม่ อยา่ งไร”

(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งอิสระ)

ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา
5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมในประเด็นท่ีครู
กำหนดให้ ได้แก่ ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และหลักการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
จากหนังสอื เรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 หรอื ศึกษาเพ่มิ เติมจากอินเทอรเ์ นต็
6. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาเพ่มิ เตมิ เกีย่ วกบั ทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา และหลกั การ
ทำงานเพอ่ื การดำรงชีวติ จาก PowerPoint ม.5 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

11

ขนั้ สอน

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้
ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั อภิปรายแลกเปลีย่ นความรู้ในเร่อื งท่ีได้ศึกษามา
ครถู ามนกั เรยี นว่า “การวางแผนมคี วามสำคัญตอ่ การทำงานอย่างไร”

(แนวตอบ การวางแผนเป็นส่ิงท่ีช่วยกำหนดทิศทางในการทำงาน เพ่ือให้สมาชิกทุกคนสามารถทำงานไปใน
ทศิ ทางเดียวกัน เพอ่ื ทำให้การทำงานสำเร็จลุล่วงไปไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ราบรน่ื มีคุณภาพ และมีประสทิ ธิภาพ)

“หลักการพฒั นาคณุ ภาพในการทำงานสามารถนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการทำงานของนักเรยี นได้อยา่ งไร”

(แนวตอบ เป็นการนำหลกั การพฒั นาในด้านต่าง ๆ มาประยุกต์ใชใ้ นการทำงาน เพ่ือให้สามารถทำงานได้อย่าง

สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ซ่ึงจะส่งผลให้การทำงานสำเร็จลุล่วงไปได้

ดว้ ยดีและมปี ระสทิ ธิภาพ)

ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า “ในการทำงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการทำงานแบบรายบุคคล หรือการทำงานแบบ
กลุ่มจะต้องมีการนำทักษะในการทำงานมาใช้อยู่เสมอ ซึ่งทักษะที่นำมาใช้จะมีความหลากหลาย เช่น ทักษะ
กระบวนการทำงาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา นอกจากนี้ การทำงานยังต้องรู้จักการพัฒนาตนเอง พัฒนา
ผลงานที่ทำอยูเ่ สมอ เพื่อให้งานมคี ุณภาพมากยิ่งขึ้น”
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ

ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำงานตามความสนใจ 1 งาน (งานบ้าน งานประดิษฐ์ งาน
ผา้ ) โดยนำขนั้ ตอนของกระบวนการทำงานมาประยุกต์ใช้ ซึ่งสามารถศึกษาจากตัวอย่างในหนังสือเรียน หน่วย
การเรยี นรู้ที่ 1 หน้า 4 หรือศึกษาเพ่ิมเติมจากอินเทอร์เน็ต จากน้ันบันทึกขั้นตอนการวางแผนการทำงานลงใน
ใบงานที่ 1.1.1 เร่อื ง ทกั ษะกระบวนการทำงาน

ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มละ 1 คน ออกมานำเสนอผลงานให้เพ่ือนชมหน้าชั้นเรียน
จากน้นั ให้เพื่อนร่วมชนั้ เรียนร่วมกนั เสนอแนะเพิ่มเตมิ

ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า “ขั้นตอนของกระบวนการทำงานมีทั้งหมด 4 ข้ันตอน ได้แก่ การวิเคราะห์งาน
การวางแผนปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทำงาน ซึ่งหากผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติตาม
ข้นั ตอนดังกล่าวได้ จะสง่ ผลให้การทำงานสำเร็จลุลว่ งบรรลุตามเปา้ หมายและวัตถุประสงคท์ ตี่ ้ังไว้”

ขน้ั สรปุ

ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล
ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้ เรอื่ ง ทักษะกระบวนการทำงาน
ครูตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนจากการนำเสนอผลการวิเคราะห์ วิจารณ์ และการสรุป

ความรู้

ข้นั ประเมนิ

1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน
2. ครตู รวจสอบใบงานท่ี 1.1.1 เรือ่ ง ทักษะกระบวนการทำงาน

12

3. ครปู ระเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ การนำเสนอผลงาน
และการสงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

8. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ
8.1 การประเมนิ ก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - ใบงานที่ 1.1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1
เรอ่ื ง หลักการทำงาน
เพอื่ การดำรงชีวิต

8.2 การประเมินระหว่างการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้
1) ทักษะกระบวนการทำงาน

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอผลงาน - ผลงานทีน่ ำเสนอ ระดับคุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม
รายบุคคล รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2
- สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
4) พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม กลุม่ การทำงานกลุ่ม
- สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2
5) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และมุ่งม่ันในการทำงาน อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

ระดับคุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์

9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

9.1 ส่อื การเรียนรู้

1) หนงั สอื เรียน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ม.5 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง หลกั การทำงานเพ่ือการดำรงชีวิต
2) ใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง ทกั ษะกระบวนการทำงาน
3) PowerPoint ม.5 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่ือง หลักการทำงานเพ่ือการดำรงชวี ติ
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ

2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
- http://skillstoworkforaliving.blogspot.com/
- https://www.brandbuffet.in.th/2014/07/10most-important-work-skills-in2020/

13

ใบงานท่ี 1.1.1

เรอ่ื ง ทักษะกระบวนการทำงาน

คำช้ีแจง เลอื กวางแผนการทำงาน 1 งาน ที่สนใจ ตามขัน้ ตอนกระบวนการทำงาน แลว้ ตอบคำถาม

กล่มุ ของฉันเลอื ก : ..............................................................................

วเิ คราะห์งาน วางแผนปฏบิ ัติงาน
ขนั้ ท่ี ............................................................................... ข้นั ที่ ...............................................................................
1 ............................................................................... 2 ...............................................................................

............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................

ปฏิบัตงิ าน ประเมนิ ผลการทำงาน
ขัน้ ท่ี ............................................................................... ขัน้ ท่ี ...............................................................................
3 ............................................................................... 4 ...............................................................................

............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................

หากกล่มุ ของนักเรยี นปฏบิ ตั ิงานดงั กลา่ วแลว้ พบวา่ มปี ัญหาเกดิ ข้ึน จะมแี นวทางในการแก้ปญั หานั้นอยา่ งไร
............................................................................................................................. .............................................................................
............................................................................................................................. .............................................................................
.................................................................................................................................................................................. ........................
.......................................................................................................... ................................................................................................

14

เฉลย

ใบงานท่ี 1.1.1

เรอ่ื ง ทกั ษะกระบวนการทำงาน

คำชแี้ จง เลอื กวางแผนการทำงาน 1 งาน ท่สี นใจ ตามข้ันตอนกระบวนการทำงาน แล้วตอบคำถาม
กลมุ่ ของฉนั เลอื ก : ทำขนมไทย เพอื่ นำมาจำหนา่ ยในโรงเรียน

วเิ คราะหง์ าน วางแผนปฏบิ ตั งิ าน
ขัน้ ที่ จะเลือกทำขนมไทยชนิดใด จะมีวิธีการ หรือ ขนั้ ท่ี สมาชิกในกลุ่มแบ่งงานตามความสามารถและ
1 ขั้นตอนในการทำอย่างไร ต้องใช้วัตถุดิบชนิดใด 2 ความถนัดของแต่บุคคล เช่น ใครเป็นผู้ค้นหา

วัสดุ อุปกรณ์ ใด และหาซื้อได้จากแหล่งใด ข้อมลู วิธกี าร หรือข้ันตอนในการทำขนม ใครเปน็ ผู้
มคี ่าใช้จา่ ยประมาณเทา่ ไร ไปเลือกซือ้ วัตถุดบิ

ปฏบิ ัตงิ าน ประเมินผลการทำงาน
ขนั้ ท่ี สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับ ข้ันที่ ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานว่า
3 มอบหมายอย่างเต็มความสามารถ และควรสงั เกต 4 ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่

ระหว่างการทำงานว่าพบปัญหาหรือไม่ หากพบ มีส่ิงใดท่ีต้องแก้ไข เช่น วัตถุดิบเพียงพอหรือไม่
กบั ปญั หาให้จดบันทึกไว้ รสชาติเปน็ อยา่ งไร

หากกลุ่มของนักเรยี นปฏิบตั ิงานดงั กล่าวแลว้ พบว่ามีปัญหาเกดิ ข้นึ จะมีแนวทางในการแก้ปญั หาน้ันอยา่ งไร
ควรทำความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดข้ึน แล้วพิจารณาว่าปัญหาน้ันเกิดข้ึนมาจากสาเหตุใด จากนั้นจึงคิดหาวิธีแก้ปัญหาอย่าง
หลากหลายและรอบคอบ โดยอาจสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต สอบถามจากผู้เช่ียวชาญ แล้วจึง
เลือกทางเลือกท่คี ิดวา่ เหมาะสมทส่ี ดุ เพ่อื นำมาใช้ในการแกป้ ญั หาดังกลา่ ว

15

10. ความเหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา หรอื ผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................. ...........................................

....................................................................................... ......................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................

(................................ ........................)

ตำแหน่ง ...........งงงงง

11. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

 ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

 ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้ามี))

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

 ปัญหา/อุปสรรค

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

 แนวทางการแกไ้ ข

............................................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................................

16

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 หลกั การทำงานเพื่อการดำรงชวี ติ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เวลา 1 ชว่ั โมง

การแกป้ ญั หาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั

1.1 ตวั ชวี้ ดั
ง 1.1 ง 1.1 ม.4-6/1 อธบิ ายวธิ กี ารทำงานเพอื่ การดำรงชวี ติ

ง 1.1 ม.4-6/2 สรา้ งผลงานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละมที กั ษะการทำงานรว่ มกนั
ง 1.1 ม.4-6/3 มที กั ษะการจดั การในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/4 มที กั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน
ง 1.1 ม.4-6/5 มที กั ษะในการแสวงหาความรเู้ พอ่ื การดำรงชวี ติ
ง 1.1 ม.4-6/6 มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทำงาน

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายวธิ กี ารแกป้ ญั หาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
2. สามารถนำวธิ กี ารแกป้ ญั หาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA มาปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม
3. ประยกุ ตใ์ ชก้ จิ กรรม 5 ส ในการทำงานและการดำรงชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
4. มคี ณุ ธรรมและมลี กั ษณะนสิ ยั ทดี่ ใี นการทำงาน

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
1) วธิ กี ารทำงานเพื่อการดำรงชีวิต เปน็ การทำงานทมี่ ีความเกย่ี วข้องกับความเปน็ อยู่ในชีวติ ประจำวัน
2) ทกั ษะการจดั การ เปน็ การจดั ระบบงานและระบบคน เพือ่ ให้การทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายอย่างมปี ระสิทธิภาพ
3) ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน มขี นั้ ตอน คอื การสงั เกต วเิ คราะห์ สรา้ งทางเลอื ก และประเมินทางเลือก
4) ทักษะการแสวงหาความรูเ้ พื่อการดำรงชวี ติ ประกอบด้วยการศกึ ษา ค้นคว้า รวบรวม สำรวจ และบนั ทึก
5) คณุ ธรรมและลกั ษณะนสิ ัยในการทำงาน เป็นการสร้างคุณงามความดีและควรฝกึ ใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ภาพทส่ี ำคัญ ๆ
เชน่ ขยัน อดทน รบั ผิดชอบ ซ่ือสตั ย์

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
นกั เรยี นสามารถนำความรไู้ ปตอ่ ยอดกบั ในชมุ ชนได้ เปน็ คนทช่ี มุ ชนเหน็ คณุ คา่ ความสำคญั มจี ติ อาสา

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

การทำงานด้วยวงจร PDCA ซง่ึ วงจรทีม่ ีคุณภาพ เพือ่ ชว่ ยใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิงานสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างต่อเนื่องและ
มปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ การใชท้ กั ษะกระบวนการแกป้ ญั หาในการทำงาน เพอื่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาคุณภาพของงาน หรือผลลพั ธอ์ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ

17

4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งม่ันในการทำงาน

7. กจิ กรรมการเรียนรู้

วธิ ีสอนแบบเนน้ กระบวนการเรยี นรู้ความรู้ ความเขา้ ใจ

18

ชั่วโมงที่ 1

ขน้ั นำ

1. ครูถามนกั เรียนเก่ยี วกับปญั หา หรอื อุปสรรคในการทำงานท่ีผ่านมาว่า นักเรียนเคยพบเจอกับปัญหา หรืออปุ สรรคใด และ
มีวิธกี ารแก้ปญั หา หรอื อุปสรรคน้ัน ๆ อยา่ งไร จากนนั้ ครขู ออาสาสมัครนักเรยี น 2-3 คน ออกมาเล่าประสบการณ์เกยี่ วกับ
ปญั หา หรืออุปสรรค และวธิ กี ารแกป้ ญั หา หรืออุปสรรคทพ่ี บเจอจากการทำงานให้เพ่ือนฟังหนา้ ชั้นเรยี น

2. ครใู หน้ กั เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น และครชู ว่ ยเสนอแนะเพิม่ เติม

ขั้นสอน

ขั้นท่ี 1 สังเกต ตระหนัก
3. ครูให้นักเรียนดูแผนภูมิกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA จากหนังสือเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1
หนา้ 7
4. ครูให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA จาก PowerPoint ม.5
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1
3. ครูถามนกั เรียนว่า “วงจร PDCA ประกอบไปดว้ ยช้นั ตอนใด”
(แนวตอบ วงจร PDCA ประกอบไปด้วย 4 ข้ันตอนท่ีสำคัญ คือ P (Plan) เป็นข้ันตอนการวางแผนงาน D (DO) เป็นการ
ลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานท่ีวางไว้ C (Check) เป็นข้ันตอนการตรวจสอบผลท่ีได้รับจากการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง
และ A (Act) เป็นขั้นตอนการปรบั ปรุงแก้ไขการทำงาน ซ่ึงเกิดจากการประเมินว่าการทำงานเป็นไปตามแผนหรือไม่ เพ่ือ
ปรับปรงุ การทำงานให้ดยี ง่ิ ข้นึ ไป)
“นักเรียนเคยเหน็ วงจร PDCA นี้หรอื ไม่ นกั เรียนคดิ วา่ มีประโยชนอ์ ย่างไร”

(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ เช่น เคนเห็น ซึ่งวงจร PDCA เป็นวิธีการทำงานและการ

แกป้ ัญหาในการทำงาน โดยเนน้ การพฒั นา ปอ้ งกัน และปรบั ปรุงการทำงานใหด้ ยี ่ิงข้ึน เพ่ือให้การทำงานสามารถพัฒนาได้

อย่างยัง่ ยนื และมคี ณุ ภาพ วงจร PDCA จงึ ถูกเรียกอกี ชือ่ หนง่ึ ว่า “วงจรบรหิ ารงานคุณภาพ”)

ขั้นที่ 2 วางแผนปฏบิ ัติ
4. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กล่มุ (กล่มุ เดมิ ) ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษากรณศี ึกษาทค่ี รูกำหนดให้ ซ่งึ กรณีศึกษาของแต่ละ
กลุ่มจะมคี วามแตกต่างกันไป มีดังนี้
 กรณีศึกษาที่ 1 : ปัญหาที่เกิดขึน้ ระหว่างการทำงาน
 กรณศี ึกษาที่ 2 : ปญั หาความขัดแย้งกันระหว่างสมาชกิ ในกลมุ่
 กรณศี กึ ษาที่ 3 : ปญั หาการวางแผนในการทำงานกลุ่ม
5. ครแู จกกรณีศึกษาท่เี ก่ียวกบั ปัญหาท่เี กิดขน้ึ ในการทำงานทงั้ หมด 3 กรณี ให้กบั นกั เรียนแต่ละกลมุ่ โดยใชว้ ิธกี ารสมุ่ แจก
เพื่อให้นักเรยี นไดร้ ่วมกนั คิดวิเคราะห์และอภิปรายความรูร้ ่วมกันภายในกลุ่ม

ขน้ั ท่ี 3 ลงมอื ปฏิบัติ
6. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั วเิ คราะห์ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ ในการทำงานจากกรณศี ึกษาทีค่ รแู จกให้ และใชว้ งจร PDCA
เข้ามาชว่ ยในการแก้ปัญหา โดยให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั เขียนขั้นตอนการแก้ปญั หาในรูปแบบของแผนผังความคดิ
หรอื Mind Mapping เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้และความเขา้ ใจที่ชัดเจนมากย่งิ ขน้ึ
7. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนกลุม่ ละ 1 คน ออกมานำเสนอผลการศึกษาเกี่ยวกบั ปญั หาทีเ่ กิดขนึ้ ในการทำงานจาก
กรณีศกึ ษาทีค่ รูแจกใหใ้ ห้เพือ่ นฟงั หนา้ ช้นั เรยี น จากนน้ั ใหเ้ พอื่ นร่วมชั้นเรยี นร่วมกนั เสนอแนะเพม่ิ เตมิ
8. ครูถามนักเรียนว่า “วงจร PDCA ช่วยปอ้ งกันปญั หาทจ่ี ะเกิดขนึ้ ในการทำงานไดอ้ ย่างไร”
(แนวตอบ ช่วยให้สามารถวางแผนการทำงานลว่ งหน้า ลดความสับสนในการทำงาน ลดการใช้ทรัพยากรมากหรอื น้อยเกิน
ความพอดี ลดการสูญเสยี ในรูปแบบต่าง ๆ ทำให้การทำงานรดั กุมมากขึ้น และสามารถแก้ปญั หาได้อยา่ งรวดเร็ว)

19

9. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เติมว่า “กระบวนการแก้ปญั หาในการทำงานไม่ได้มีเพยี งการแก้ปัญหาด้วยวงจร PDCA เทา่ นนั้ แต่ยังมกี าร
แก้ปญั หาดว้ ยการใชก้ จิ กรรม 5 ส ซ่งึ นักเรยี นสามารถนำมาประยุกตใ์ ช้ เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการทำงานได้อกี วิธหี น่งึ ”

ขั้นที่ 4 พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ
10. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำใบงานท่ี 1.2.1 เร่ือง การแก้ปัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA และทำช้ินงาน/ภาระงาน
(รวบยอด) เรื่อง การปฏิบตั งิ านต่าง ๆ โดยใชท้ ักษะกระบวนการทำงานและทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา

ข้นั สรุป

4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรื่อง การแกป้ ัญหาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA
5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้ เรื่อง การแก้ปัญหาในการทำงานดว้ ยกิจกรรม 5 ส
3. ครตู รวจสอบความรู้ ความเข้าใจของนักเรยี นจากการนำเสนอผลการวเิ คราะห์ วิจารณ์ และการสรุปความรู้

ขน้ั ประเมิน

1. ครูตรวจสอบใบงานท่ี 1.2.1 เร่อื ง การแก้ปญั หาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA

2. ครูตรวจสอบช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง การปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานและทักษะ

กระบวนการแกป้ ัญหา

3. ครูประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม การนำเสนอผลงาน และการ
สังเกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

8. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

รายการวัด - ตรวจใบงานที่ 1.2.1 - ใบงานท่ี 1.2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
8.1 การประเมนิ ระหว่างการจัด ระดับคุณภาพ 2
- ประเมินการนำเสนอผลงาน - ผลงานที่นำเสนอ ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรมการเรยี นรู้
1) การแกป้ ญั หาในการทำงาน

ดว้ ยวงจร PDCA
2) การนำเสนอผลงาน

3) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล
รายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
4) พฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
- สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2
5) คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์

- สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดับคณุ ภาพ 2

และมงุ่ ม่นั ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์

20

8.2 การประเมนิ หลังเรียน ตรวจชิน้ งาน รายงานการ แบบประเมนิ ชิน้ งาน ระดับคุณภาพ 2
1) การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน ปฏิบัติงานต่าง ๆ โดยใช้ รายงานการปฏบิ ตั งิ าน ผา่ นเกณฑ์
(รวบยอด) รายงานการ ทกั ษะกระบวนการทำงาน ตา่ ง ๆ โดยใช้ทกั ษะ
ปฏบิ ัตงิ านตา่ ง ๆ โดยใชท้ ักษะ และทักษะกระบวนการ กระบวนการทำงาน
กระบวนการทำงานและทกั ษะ แกป้ ัญหา และทกั ษะกระบวนการ
กระบวนการแก้ปญั หา แกป้ ัญหา

9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้

9.1 สือ่ การเรียนรู้

1) หนังสือเรยี น การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง หลกั การทำงานเพ่ือการดำรงชีวิต

2) กรณศี ึกษาเกยี่ วกับปญั หาท่เี กิดขน้ึ ในการทำงาน

3) ใบงานท่ี 1.2.1 เร่ือง การแกป้ ญั หาในการทำงานดว้ ยวงจร PDCA

4) PowerPoint ม.5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง หลกั การทำงานเพอื่ การดำรงชีวติ
9.2 แหล่งการเรยี นรู้

1) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
- https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/tuktang/xngkhkar-wichachiph/pdca
- http://www.xn--42c6decah6b4d6e6ctb.com/บทความเพื่อพฒั นาบคุ ลากร-องคก์ ร/วงจร PDCA.html
- http://www.youtube.com/กิจกรรม 5 ส

21

ใบงานที่ 1.2.1
เร่อื ง การแกป้ ัญหาในการทำงานด้วยวงจร PDCA

คำช้ีแจง ให้นักเรียนนำวงจร PDCA มาใช้ในกระบวนการทำงานและแก้ปญั หาในการทำงานตามทกี่ ำหนด 1 หวั ข้อ ดังน้ี

หวั ขอ้ ท่เี ลือก  การเล้ียงสัตว์  การทำงานชา่ งในบา้ น
 การตดั เย็บเสอื้ ผ้า  การทำงานประดิษฐ์

การปรับปรงุ แก้ไขงาน การวางแผนงาน
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................

การตรวจสอบงาน การปฏบิ ัติงาน
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................
............................................................................... ...............................................................................

22