ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสําคัญของวัฒนธรรมไทย

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

        วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคม  ที่แสดงความเป็นเอกลักษณ์ของสังคมและชาติ  ความเป็นชาติไทยจะดำรงอยู่ได้เพราะคนไทยเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทยที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และการติดตามข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ในชีวิตประจำวันจากแหล่งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ  การเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม ทำให้เกิดการพัฒนาตนเองและสังคม

Show

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายของวัฒนธรรมได้

2. วิเคราะห์ความสำคัญของวัฒนธรรมได้

3. แสดงความชื่นชมผู้ที่ปฏิบัติตนได้เหมาะสมและถูกต้องตามวัฒนธรรมไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 วัฒนธรรมไทยหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5                                                                       เวลาเรียน   6   ชั่วโมงŒ   มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด         ส 2.1        ม.4-6/5      วิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย                                                                               และเลือกรับวัฒนธรรมสากล   สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด         วัฒนธรรมไทย มีคุณค่าและความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของชาวไทย  ซึ่งจะต้องรู้จักการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะสมŽ   สาระการเรียนรู้         3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง                 1.    ความหมาย และความสำคัญของวัฒนธรรม               2.    ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรมไทยที่สำคัญ                 3.    การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย                    4.    ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล                    5.    แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม                    6.    วิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล            3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น                 -         สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน4.1    ความสามารถในการสื่อสาร4.2    ความสามารถในการคิด-  ทักษะการคิดวิเคราะห์-  ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ4.3    ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต-  กระบวนการปฏิบัติ-  กระบวนการทำงานกลุ่ม   คุณลักษณะอันพึงประสงค์1.    มีวินัย2.    ใฝ่เรียนรู้3.    มุ่งมั่นในการทำงาน‘   ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)        บทความ เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและการเลือกรับวัฒนธรรมสากล’   การวัดและการประเมินผล         7.1 การประเมินก่อนเรียน                -  แบบทดสอบก่อนเรียน   หน่วยการเรียนรู้ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย         7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้               1.        ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรม                    2.        ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย                    3.        ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ                    4.        ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง                    5.        ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                    6.        ใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้                    7.        ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม                    8.        สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม            7.3 การประเมินหลังเรียน               -  แบบทดสอบหลังเรียน   หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย             7.4 การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)               -  ประเมินบทความ เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและการเลือกรับวัฒนธรรมสากลการประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)แบบประเมินบทความ เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและการเลือกรับวัฒนธรรมสากล รายการประเมิน คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม เขียนวิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 4 ประเด็นขึ้นไป เขียนวิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 3 ประเด็น เขียนวิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 2 ประเด็น เขียนวิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 1 ประเด็น 2.  แนวทางการ    อนุรักษ์    วัฒนธรรม ไทย เขียนแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยได้ถูกต้องเหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างประกอบอย่างน้อย 6 แนวทางขึ้นไป เขียนแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยได้ถูกต้องเหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 4-5 แนวทาง เขียนแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยได้ถูกต้องเหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 2-3 แนวทาง เขียนแนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยได้ถูกต้องเหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 1 แนวทาง 3.  การเลือก     รับวัฒนธรรม     สากล เขียนเสนอวิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล พร้อมยกตัวอย่างประกอบอย่างมีเหตุผลเหมาะสม อย่างน้อย 4 วิธีการ เขียนเสนอวิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล พร้อมยกตัวอย่างประกอบอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 3 วิธีการ เขียนเสนอวิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล พร้อมยกตัวอย่างประกอบอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 2 วิธีการ เขียนเสนอวิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล พร้อมยกตัวอย่างประกอบอย่างมีเหตุผลเหมาะสม 1 วิธีการ 4. การนำเสนอ    ผลงาน การนำเสนอได้ถูกต้องตรงตามประเด็น เรียงลำดับขั้นตอนได้อย่างเหมาะสม วิธีการนำเสนอเร้าใจให้ติดตามฟัง การนำเสนอได้ถูกต้องตรงตามประเด็น เรียงลำดับขั้นตอนได้เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่ วิธีการนำเสนอเร้าใจให้ติดตามฟัง การนำเสนอได้ถูกต้องตรงตามประเด็น เรียงลำดับขั้นตอนได้เหมาะสมเป็นบางตอน วิธีการนำเสนอเร้าใจให้ติดตามฟังเป็นบางตอน การนำเสนอได้ถูกต้องตรงตามประเด็น เรียงลำดับขั้นตอนได้เหมาะสมเป็นบางตอนวิธีการนำเสนอไม่เร้าใจให้ติดตามฟัง เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); ปรับปรุง “   กิจกรรมการเรียนรู้            Ÿ     นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน  หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย รักวัฒนธรรมไทย วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี่สหาย, เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw) เวลา  3  ชั่วโมง 1.           ครูให้นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยที่นักเรียนชอบ พร้อมบอกเหตุผลประกอบ2.           ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย3.           ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน (ครูแบ่งกลุ่มไว้ล่วงหน้า) นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่        ให้แต่ละคู่ช่วยกันศึกษาความรู้ เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย ลักษณะของวัฒนธรรมไทย                              จากหนังสือเรียน หรือหนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศตามความเหมาะสม                             และช่วยกันทำใบงาน ดังนี้       -      คู่ที่ 1     ทำใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย       -      คู่ที่ 2     ทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย4.    นักเรียนแต่ละคู่ตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน แล้วผลัดกันถ่ายทอดความรู้ให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งฟัง5.    นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลงานต่อชั้นเรียน แล้วครูและนักเรียนช่วยกันสรุป       ความรู้เกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ประเภทของวัฒนธรรม และลักษณะของวัฒนธรรมไทย 6.           สมาชิกกลุ่มเดิม เรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups) แต่ละกลุ่มเลือกหมายเลขประจำตัว 1-4 ตามลำดับแล้วแยกย้ายกันไปหาสมาชิกที่มีหมายเลขเดียวกันในกลุ่มใหม่7.           สมาชิกกลุ่มใหม่ เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups) ในแต่ละหมายเลขร่วมกันศึกษาความรู้       เรื่อง วัฒนธรรมในภูมิภาคต่างๆ ของไทย จากหนังสือเรียน และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ตามความ                               เหมาะสม จากนั้นช่วยกันทำใบงาน ดังนี้-      สมาชิกหมายเลข 1  ทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ-      สมาชิกหมายเลข 2  ทำใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง-      สมาชิกหมายเลข 3  ทำใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-      สมาชิกหมายเลข 4  ทำใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้8.           สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน แล้วแยกย้ายกันกลับไปกลุ่มเดิม ซึ่งเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups) แล้วผลัดกันเล่าความรู้ที่ได้จากการทำใบงานที่ตนทำให้แก่เพื่อนสมาชิกหมายเลขอื่นๆ และผลัดกันซักถามจนมีความเข้าใจกระจ่างชัดเจน            9.        ครูสุ่มเรียกนักเรียนบางคนในกลุ่มออกมาเฉลยคำตอบของใบงาน แล้วครูและนักเรียนช่วยกันสรุป                    ความรู้เกี่ยวกับ ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมไทยในแต่ละภูมิภาค การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนัก, กระบวนการกลุ่ม เวลา  3  ชั่วโมง             1.        ครูนำภาพเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล มาให้นักเรียนดู แล้วให้ช่วยกันวิเคราะห์                                       ความแตกต่าง และสาเหตุของความแตกต่าง2.    ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความแตกต่างทางวัฒนธรรม และการเผยแพร่วัฒนธรรมสากลไปยังภูมิภาคต่างๆ ในโลก3.    นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย และความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล และช่วยกันทำใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม4.     ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงาน และร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย อิทธิพลของชาติตะวันตกที่มีต่อวัฒนธรรมไทย การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5.    ครูให้นักเรียนเล่าความประทับใจในวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย มาคนละ 1 อย่าง และให้อธิบายเหตุผลว่าเหตุใดจึงประทับใจ  ซึ่งนักเรียนจะมีเหตุผลแตกต่างกันออกไป6.    ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทย และความจำเป็นของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และการเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่ดีงาม7.             นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม และวิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล จากหนังสือเรียนและจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปเขียนเป็นบทความ เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและการเลือกรับวัฒนธรรมสากล โดยเขียนเป็นบทความวิเคราะห์และเสนอความคิดเห็น ในประเด็นต่อไปนี้1)        ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย2)        แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย3)        การเลือกรับวัฒนธรรมสากล            8.    นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายตามความเหมาะสม            9.    ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปถึงความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย                     การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และการเลือกรับวัฒนธรรมสากล            Ÿ     นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย ”   สื่อ/แหล่งการเรียนรู้9.1    สื่อการเรียนรู้       1.        หนังสือเรียน หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-ม.6        2.        หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม                1)        ชุลีพร สุสุวรรณ และสุชิราภรณ์ บริสุทธิ์. ความรู้รอบตัว : ขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย.                        กรุงเทพฯ : บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด, 2544.                2)        สมชัย ใจดี และยรรยง ศรีวิริยาภรณ์. ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท                                                         สำนักพิมพ์  ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2528.                     3.        เอกสารประกอบการสอนเรื่อง วัฒนธรรมไทย                     4.        ตัวอย่างสื่อประกอบการสอน                    5.        ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย                    6.        ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย                    7.        ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ                    8.        ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง                    9.        ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                    10.  ใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้                    11.  ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม9.2       แหล่งการเรียนรู้                1.        ห้องสมุด               2.        สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ               3.        แหล่งข้อมูลสารสนเทศ                            www.prapayneethai.com/th/culture/                            th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:วัฒนธรรมไทย                            guru.sanook.com/encyclopedia/สังคมและวัฒนธรรมไทย/คำชี้แจง  ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1.        “คนไทยที่อยู่ริมน้ำจะสร้างบ้านใต้ถุนสูง ชาวไทยจะรู้จักนำสมุนไพรมาใช้เป็นอาหาร และยารักษาโรค นอกจากนั้นยังมีการสร้างสรรค์ศิลปะการวาดภาพลายไทย”    ข้อความดังกล่าวแสดงถึงประโยชน์ของวัฒนธรรมในข้อใดก.        ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจข.เป็นเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการดำรงชีวิตค.    การกำหนดสิ่งที่ดีงามและเหมาะสมกับชีวิตง.        การปรับตนให้เข้ากับสภาพแวดล้อม2.        การแสดงออกของคนในสังคมตะวันตกจะมีความแตกต่างจากสังคมไทย ข้อความนี้แสดงถึงประโยชน์ของวัฒนธรรมในข้อใด            ก.        เป็นสิ่งหล่อหลอมบุคลิกภาพ            ข.    ความประพฤติของคนในสังคม            ค.    ความแตกต่างทางสภาพความเป็นอยู่            ง.        เป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์หรือพฤติกรรมของมนุษย์3.        “เกริกเกียรติเป็นคนที่อยู่ทางภาคเหนือ เขาจึงเป็นคนที่มีความสุภาพ พูดจานุ่มนวล หน้าตายิ้มแย้ม                 เป็นไมตรีกับคนทั่วไป”  ข้อความนี้แสดงถึงความสำคัญของวัฒนธรรมอย่างไร            ก.        มีผลต่อคุณภาพชีวิตของคนภาคเหนือ            ข.    อุดมการณ์ ค่านิยม และทัศนคติของบุคคล            ค.    ความสัมพันธ์ระหว่างสถานภาพของคนในสังคม            ง.        หล่อหลอมบุคลิกภาพให้สมาชิกของสังคมให้มีลักษณะแบบเดียวกัน4.        “ประชาชนในจังหวัดยโสธรจะร่วมมือกันจัดประเพณีบุญบั้งไฟเป็นประจำทุกปี” ข้อความนี้แสดงถึง  ความสำคัญของวัฒนธรรมอย่างไร            ก.        มีจุดหมายปลายทาง                                                ข.    สังคมมีความเป็นระเบียบ            ค.    ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน            ง.        การเรียนรู้ระเบียบทางสังคมและวัฒนธรรมไทย 5.        เริงชัยเป็นผู้ที่มีมารยาทในการพบผู้ใหญ่ มีมารยาทในการเข้าสังคม เขาปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมในข้อใด            ก.        คติธรรม                    ข.    วัตถุธรรม                      ค.    เนติธรรม                      ง.        สหธรรม6.        ชาวไทยได้รับวัฒนธรรมมาจากชาติใด            ก.        จีน ลาว                      ข.    พม่า จีน                         ค.    จีน อินเดีย                     ง.    เขมร ลาว                                          7.        ข้อความเกี่ยวกับพื้นฐานของวัฒนธรรมไทยข้อใดไม่ถูกต้อง            ก.        ภาษาขอม มอญ ละว้าเป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมทางด้านภาษาของไทย            ข.    สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ก่อให้เกิดประเพณีและวัฒนธรรม            ค.    พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดของขนบธรรมเนียมประเพณีไทย            ง.        วันสำคัญและเทศกาลสำคัญถือว่าเป็นวัฒนธรรมหลักของชาติ                8.        คนไทยส่วนใหญ่จะมีวิถีชีวิตและบุคลิกภาพที่อ่อนน้อม และให้ความเคารพผู้ใหญ่ บุคลิกภาพดังกล่าวนั้น            ได้มาอย่างไร            ก.        การสื่อสารระหว่างกัน                                               ข.    สภาพแวดล้อมทางสังคม            ค.    เชื้อชาติและสภาพแวดล้อม                                      ง.        การขัดเกลาทางสังคมและวัฒนธรรม9.        วันนักขัตฤกษ์และประเพณีในข้อใด ที่แสดงถึงความรัก ความเคารพ และความผูกพันของคนในชาติ            ก.        วันวิสาขบูชา วันเด็ก วันเข้าพรรษา                     ข.    วันสงกรานต์ วันลอยกระทง วันครู            ค.    วันขึ้นปีใหม่ วันปิยมหาราช                                     ง.        วันจักรี วันเด็ก  วันธรรมะสวนะ10.      งานทำบุญตานก๋วยสลากหรืองานบุญสลากภัต มีคติสอนใจสำคัญในเรื่องใด            ก.        ความรักใคร่ สามัคคีกัน                                         ข.    ความเสียสละ            ค.    ความรับผิดชอบ                                                           ง.        ความเมตตา11.      งานประเพณีการสืบชะตาหรือการต่ออายุ มีผลดีในเรื่องใด            ก.        การต่ออายุคน                               ข.    การทำบุญอันยิ่งใหญ่ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});             ค.    การให้กำลังใจ และการรวมญาติพี่น้อง            ง.        การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ที่ชะตาขาด12.      ข้อใดจัดเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง            ก.        งานบุญคูนหลาน                                                            ข.    การทำขวัญข้าว            ค.    งานแห่ผีตาโขน                                                           ง.        ประเพณีลากพระ13.      ประเพณีในข้อใดแสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษ             ก.        ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก ของภาคเหนือ            ข.    ประเพณีแห่ผีตาโขน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย                 ค.    ประเพณีสารทเดือนสิบ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช            ง.        ประเพณีรับโยนบัว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ   14.      การปฏิรูปประเทศไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลใดที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมและชีวิตความเป็นอยู่            ของคนไทยในด้านต่าง ๆ            ก.        สมัยรัชกาลที่ 1                                                            ข.    สมัยรัชกาลที่ 2            ค.    สมัยรัชกาลที่ 3                                                            ง.        สมัยรัชกาลที่ 415.      การพัฒนาเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วกว่าการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจะเกิดปัญหาใด            ตามมา              ก.        ปัญหาสังคม                                                                 ข.    ปัญหาเศรษฐกิจ                   ค.    ปัญหาวัฒนธรรม                                                        ง.        ปัญหาสิ่งแวดล้อม 16.      วัฒนธรรมสากล มีลักษณะในข้อใด            ก.        วัฒนธรรมทางทวีปยุโรป และทวีปอเมริกา                   ข.    วัฒนธรรมที่มีความเจริญก้าวหน้ากว่าวัฒนธรรมอื่น            ค.    วัฒนธรรมที่มีความผสมผสานระหว่างหลายวัฒนธรรม                ง.        วัฒนธรรมทุกสังคมมีความคล้ายคลึงกันและมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน17.      ข้อใดจัดว่าเป็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมสากลกับวัฒนธรรมไทย            ก.        วัฒนธรรมสากลมีความหลากหลาย วัฒนธรรมไทยเน้นการผสมผสาน            ข.    วัฒนธรรมสากลเน้นการอนุรักษ์วัฒนธรรมเดิม วัฒนธรรมไทยเน้นการเปลี่ยนแปลง            ค.    วัฒนธรรมสากลมีความเจริญทางด้านจิตใจ วัฒนธรรมไทยเน้นความเจริญทางด้านวัตถุ            ง.        วัฒนธรรมสากลเน้นปรัชญาว่า มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ วัฒนธรรมไทยเน้นปรัชญาว่า มนุษย์ควรอยู่                                             แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ18.      แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมมีหลายประการยกเว้นในข้อใด               ก.        ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ กับองค์กรระหว่างประเทศ                ข.    ค้นคว้า รวบรวมวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น            ค.    การบริการความรู้ทางด้านวิชาการและกิจกรรมทางวัฒนธรรม            ง.        มีการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ          19.      การเลือกรับวัฒนธรรมสากลนั้น ควรพิจารณาจากปัจจัยในข้อใด            ก.        รับวัฒนธรรมจากประเทศที่เจริญแล้ว             ข.    สามารถผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยได้            ค.    การตอบสนองความต้องการของชาวไทย            ง.        วัฒนธรรมสากลต้องมีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ20.      ข้อใดจัดว่าเป็นเหตุผลของการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย            ก.        สังคมมีการเปลี่ยนแปลงไป              ข.    วัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งที่มีมาช้านานแล้ว                       ค.    การปรับปรุงให้เข้ากับการเมืองการปกครอง            ง.        ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ                                                 1.        ก             2.        ง              3.        ง              4.        ค             5.        ง                                                  6.        ค             7.        ก             8.        ง              9.        ข             10.  ก                                                 11.  ค             12.  ข             13.  ค             14.  ง              15.  ก                                                16.  ง              17.  ง              18.  ก             19.  ข             20.  ก แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม หน่วยการเรียนรู้ที่ 2  วัฒนธรรมไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1 เรื่อง  รักวัฒนธรรมไทย เวลา 3  ชั่วโมง u      สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด            ประเทศไทย มีวัฒนธรรมซึ่งใช้เป็นแนวทางและวิถีปฏิบัติต่อกันในสังคมไทย ส่งผลต่อบุคลิกลักษณะของคนไทยและความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยv      ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้         2.1 ตัวชี้วัด               ส 2.1    ม.4-6/5      วิเคราะห์ความจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์                                                        วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล           2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้               1.        อธิบายความหมาย ความสำคัญของวัฒนธรรมได้                  2.        อธิบายลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรมไทยได้w      สาระการเรียนรู้         3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง               1.    ความหมาย และความสำคัญของวัฒนธรรม                     2.    ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรมไทยที่สำคัญ                          3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น                    -        สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน4.1    ความสามารถในการสื่อสาร4.2    ความสามารถในการคิด                    -  ทักษะการคิดวิเคราะห์4.3    ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต                    -  กระบวนการปฏิบัติ                    -  กระบวนการทำงานกลุ่ม      คุณลักษณะอันพึงประสงค์1.    มีวินัย2.             ใฝ่เรียนรู้3.    มุ่งมั่นในการทำงาน ‘      กิจกรรมการเรียนรู้             (วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี่สหาย, เทคนิคการต่อเรื่องราว (Jigsaw))            Ÿ     นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน  หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย             1.        ครูให้นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยที่ชอบ พร้อมบอกเหตุผล ซึ่งนักเรียนอาจจะ                    ยกตัวอย่างหลากหลาย เช่น                    -      ประเพณีลอยกระทง                    -      การแต่งกายชุดไทย                    -      การแห่เทียนพรรษา                                    -      อาหารไทย                    -      รำไทย                    -      ดนตรีไทย                    -      ภาษาไทย            2.        ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความสำคัญของวัฒนธรรมไทย            3.        ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง                                          ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน (ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนไว้ล่วงหน้า) นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กัน                                          เป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ช่วยกันศึกษาความรู้เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย ลักษณะของวัฒนธรรมไทย                        จากหนังสือเรียน และให้แต่ละคู่ช่วยกันทำใบงาน ดังนี้                    -      คู่ที่ 1  ทำใบงานที่ 1.1  เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย                    -      คู่ที่ 2  ทำใบงานที่ 1.2  เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย            4.        นักเรียนแต่ละคู่ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของใบงานที่ตนรับผิดชอบ แล้วแต่ละคู่ผลัดกันอธิบาย                    ถ่ายทอดความรู้จากการทำใบงานให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งฟัง สมาชิกทุกคนในกลุ่มผลัดกันซักถามและ                    ตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน            5.        ครูให้ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงาน ประมาณ 2-3 กลุ่ม และให้กลุ่มอื่นที่มีผลงานแตกต่างกัน                    ออกไปนำเสนอเพิ่มเติม            6.        ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของวัฒนธรรม และ                         ลักษณะของวัฒนธรรมไทย 1.        ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนด้วยการตั้งคำถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้        1)        วัฒนธรรมมีความหมายว่าอย่างไร        2)        วัฒนธรรมมีความสำคัญอย่างไร        3)        วัฒนธรรมมีกี่ประเภท อะไรบ้าง        4)        วัฒนธรรมไทยมีลักษณะสำคัญอย่างไร2.        นักเรียนกลุ่มเดิมเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups) และให้สมาชิกในกลุ่มเลือกหมายเลขประจำตัวตั้งแต่หมายเลข 1-4  ตามลำดับ แล้วให้แต่ละกลุ่มแยกย้ายกันไปหาสมาชิกที่มีหมายเลขเดียวกัน เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups) 3.        สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง วัฒนธรรมในภูมิภาคต่างๆ         ของไทย จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และทำใบงาน ดังนี้ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});                     -      หมายเลข 1  ทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ                    -      หมายเลข 2  ทำใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง                    -      หมายเลข 3  ทำใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                    -      หมายเลข 4  ทำใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้4.        สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานที่กลุ่มรับผิดชอบ และทำความ        เข้าใจจนกระจ่างชัดเจนแล้วแยกย้ายกันกลับไปกลุ่มเดิม ซึ่งเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups)5.        สมาชิกกลุ่มบ้านแต่ละหมายเลขผลัดกันเล่าความรู้จากใบงานที่ตนศึกษามาให้แก่สมาชิกหมายเลขอื่น        ฟัง และผลัดกันซักถามจนมีความเข้าใจชัดเจนดีทุกคน6.            ครูสุ่มเรียกนักเรียนบางคนในกลุ่มออกมาเฉลยคำตอบของใบงาน ทุกใบงานตามความเหมาะสม         จากนั้นช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมไทยในแต่ละภูมิภาค’      การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.3 ใบงานที่ 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.4 ใบงานที่ 1.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.5 ใบงานที่ 1.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1.6 ใบงานที่ 1.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม แบบประเมินการนำเสนอผลงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ “   สื่อ/แหล่งการเรียนรู้         8.1 สื่อการเรียนรู้                1.        หนังสือเรียน หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-ม.6                    2.        หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม                1)        ชุลีพร สุสุวรรณ และสุชิราภรณ์ บริสุทธิ์. ความรู้รอบตัว : ขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย.                        กรุงเทพฯ : บริษัท อักษราพิพัฒน์ จำกัด, 2544.                2)        สมชัย ใจดี และยรรยง ศรีวิริยาภรณ์. ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท                                                         สำนักพิมพ์  ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2528.                     3.        เอกสารประกอบการสอนเรื่อง วัฒนธรรมไทย                     4.        ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย                    5.        ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย                    6.        ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ                    7.        ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง                    8.        ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                    9.        ใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้             8.2 แหล่งการเรียนรู้               1.        ห้องสมุด               2.        สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ                3.        แหล่งข้อมูลสารสนเทศ                            www.prapayneethai.com/th/culture/                            th.wikipedia.org/wiki/หมวดหมู่:วัฒนธรรมไทย                            guru.sanook.com/encyclopedia/สังคมและวัฒนธรรมไทย/ ใบงานที่ 1.1  เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทย ใบงานที่ 1.1  เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทยตอนที่ 1คำชี้แจง  ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรม ตอนที่ 2คำชี้แจง  ให้นักเรียนยกตัวอย่างประเภทของวัฒนธรรมในกรอบที่ว่าง                                                                                                ò                          ò                       ò                     ò                                                                                                      ò                     ò ใบงานที่ 1.1  เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรมไทยตอนที่ 1คำชี้แจง  ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง ความสำคัญของวัฒนธรรม ตอนที่ 2คำชี้แจง  ให้นักเรียนยกตัวอย่างประเภทของวัฒนธรรมในกรอบที่ว่าง                                                                                                 ò                          ò                       ò                      ò                                                                                           žมารยาทใน   การพบ   ผู้ใหญ่ž มารยาทใน   การเข้าสังคม  žกฎหมายžกฎศีลธรรมžจารีต žบ้านžรถยนต์žโทรทัศน์ž หนังสือž เครื่องแต่ง    กายž ถนน  žความเมตตาžความกรุณาžความกตัญญูžความขยันž ความอดทน           ò                     ò ž ค่านิยมž มารยาทž ปรัชญาž ความเชื่อ  ž หนังสือž แว่นตาž รถยนต์ž โทรทัศน์ (หมายเหตุ   นักเรียนสามารถยกตัวอย่างเป็นอย่างอื่นได้ตามความเหมาะสม ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)ใบงานที่ 1.2   เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทยคำชี้แจง  ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพแล้วเขียนบรรยายใต้ภาพ ให้เห็นความสอดคล้องของภาพกับลักษณะ  ของวัฒนธรรมไทย ใบงานที่ 1.2   เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทยคำชี้แจง  ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพแล้วเขียนบรรยายใต้ภาพ ให้เห็นความสอดคล้องของภาพกับลักษณะ  ของวัฒนธรรมไทย แนวความคิด  ความเชื่อของคนไทย จะอยู่                                    ภาษาไทยเป็นสื่อกลางในการติดต่อสัมพันธ์บนพื้นฐานของพระพุทธศาสนา                                                     กัน                                                                          ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย                                             สภาพทางภูมิศาสตร์ ทำให้เกิดประเพณี        ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา                                     วัฒนธรรม                                                            พระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ                                                 มีการทำพิธีกรรมในวันสำคัญของชาติ           เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน                                                                                                                       การปรุงอาหารมีความประณีตพิเศษ เป็น                                      วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นวันที่        อย่างหนึ่งของวัฒนธรรมหลัก                                                          ชาวไทยมาร่วมพิธีกรรมอย่างพร้อมเพรียง    การขัดเกลาทางสังคม ส่งผลต่อบุคลิกภาพ                                    มีประเพณีที่แสดงถึงความรัก ความกตัญญู                                                                                                                   ในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันสงกรานต์                                                                                                                             วันลอยกระทง                                                      (หมายเหตุ   นักเรียนอาจบรรยายภาพตามความคิดเห็นของนักเรียน ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)ใบงานที่ 1.3  เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือคำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้1.    วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือที่สำคัญเกี่ยวกับอาหารคืออะไร มีลักษณะสำคัญอย่างไร จงอธิบาย2.    วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อของชาวไทยภาคเหนือ ได้แก่อะไรบ้าง มีลักษณะสำคัญ        อย่างไร  จงอธิบายใบงานที่ 1.3  เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือคำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้1.    วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือที่สำคัญเกี่ยวกับอาหารคืออะไร มีลักษณะสำคัญอย่างไร จงอธิบาย        ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก หรือกิ๋นข้าวแลงขันโตก มีการแห่นำขบวนขันโตก มีสาวงามช่างฟ้อน           มีดนตรีประกอบ  เมื่อถึงงานเลี้ยงจะนำกระติบหลวงไปวางกลางงาน แล้วนำข้าวนึ่งแบ่งใส่กระติบ      เล็กๆแจกไปตามโตกต่างๆ อาหารที่เลี้ยงที่เป็นกับข้าว คือ แกงฮังเล แกงอ่อม แกงแค ไส้อั่ว น้ำพริก            อ่อง น้ำพริกหนุ่ม แคบหมู ผักสด ของหวาน เช่น ขนมปาด ข้าวแต๋น                                                           2.    วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อของชาวไทยภาคเหนือ ได้แก่อะไรบ้าง มีลักษณะสำคัญ        อย่างไร  จงอธิบาย                  1. งานทำบุญ ทอดผ้าป่าแถว ในบริเวณรอบนอกของจังหวัดกำแพงเพชร  ซึ่งทำในคืนวัน                  ลอยกระทง ชาวบ้านจะนำองค์ผ้าป่าไปไว้ในลานวัด นำพาดบนกิ่งไม้ เครื่องไทยธรรมก็จะนำวางใต้        กิ่งไม้ เจ้าของผ้าป่าไปจับสลากรายชื่อพระภิกษุ พระภิกษุจะไปชักผ้าป่า แล้วนั่งรวมกันให้ศีล เจริญ             พระพุทธมนต์ให้พร                                                                                                                                                                     2. งานทำบุญตานก๋วยสลาก หรือการทำบุญสลากภัต (ทานสลาก) ทำในวันเพ็ญ เดือน 12 แต่           ละครอบครัวจะเตรียมงานเรียกว่า “วันตา” ผู้หญิงไปซื้อของ ผู้ชายจะเหลาตอกสานก๋วยไว้หลายๆ        ใบ นำมากรุด้วยใบตอง หรือกระดาษสี เพื่อบรรจุของกินของใช้  แล้วนำใบตองหรือกระดาษปิดมัด              ก๋วยรวมกันเป็นมัดๆ สำหรับเป็นที่จับ ส่วนตรงที่รวบไว้นี้ ชาวบ้านจะเสียบไม้ไผ่และสอดเงินไว้          เป็นเสมือนยอด                                                                                                                                                                    3. งานประเพณีการสืบชะตา หรือการต่ออายุ กระทำขึ้นเพื่อยืดชีวิตด้วยการทำพิธี เพื่อให้                   เกิดพลังรอดพ้นความตายได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเพณีการสืบชะตาคน   ประเพณีการ              สืบชะตาบ้าน และสืบชะตาเมือง                                                                                                                                           การสืบชะตาคนจะกระทำขึ้นเมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือหมอดูทักว่าชะตาไม่ดี  การสืบชะตา   บ้านและการสืบชะตาเมือง เป็นอุบายให้ญาติพี่น้องและผู้เกี่ยวข้องมารวมกัน  เพื่อให้กำลังใจและ        ปรึกษาหารือในการแก้ปัญหาบ้านเมือง                                                                                                 (หมายเหตุ   นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลางคำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1.            ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลางคำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้1. ประเพณีรับบัวโยน ที่อำเภอบางพลี  จังหวัดสมุทรปราการ       เป็นประเพณีนิมนต์หลวงพ่อโตขึ้นเรือแล่นไปให้ชาวบ้าน      นมัสการ ชาวบ้านจะคอยอยู่ริมคลอง  และเด็ดดอกบัว        ริมน้ำโยนเบาๆขึ้นไปบนเรือของหลวงพ่อ                              2. การบูชารอยพระพุทธบาท  จังหวัดสระบุรี ประชาชนจะ   พากันไปนมัสการรอยพระพุทธบาทในพระมณฑป  ซึ่ง   เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่เชื่อว่าเป็นรอยพระพุทธบาท   ของพระพุทธเจ้า                                                                             3.ประเพณีตักบาตรเทโว จังหวัดอุทัยธานี                     4. ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย จังหวัดฉะเชิงเทรา                         1.             การทำขวัญข้าว  ซึ่งนิยมในหมู่ของคนไทยภาคกลาง                                 ไทยยวน ไทยอีสาน จะทำกันเป็นระยะ คือ ก่อนข้าวออกรวง หลังนวดข้าว และขนข้าวขึ้นยุ้ง                                                                                                                                                                                         ตำรายาไทยแผนโบราณ รวม 318 ขนาน เช่น ยาแก้ไข้  ยาแก้ท้องเสีย  ยาขับโลหิต  ยาแก้ไอ ยาแก้ท้องขึ้นท้องเฟ้อ  ยาแก้ลม  ยาส่วนใหญ่เป็นพืชสมุนไพรและแร่ธาตุ                                (หมายเหตุ   นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือคำชี้แจง  ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1.            1.            1. บุญบั้งไฟ เป็นการเตรียมไถนาและจัดบูชาพิธีบูชาพญา    แถนทุกปีด้วยการทำบั้งไฟ โดยมีความเชื่อว่าของสิ่งลี้ลับ    และเทวดาหรือพญาแถนที่อยู่บนสวรรค์สามารถบันดาล   ให้ฝนตกได้                                                                                      2. การแห่ผีตาโขนที่อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ผู้เล่นจะนำรูป    หน้ากากที่มีลักษณะน่าเกลียดมาใส่ แต่งตัวมิดชิด เข้า              ขบวนแห่ มีการรวมบุญประเพณี บุญพระเวสและบุญ              บั้งไฟเข้าด้วยกัน มีการทำพิธีอัญเชิญพระอุปคุตเข้ามา             ประดิษฐานในวัดโพนชัย เพราะเชื่อว่าจะสามารถป้องกัน    เหตุเภทภัยต่างๆที่จะเกิดในงานได้                                              งานบุญคูนลาน เป็นประเพณีอย่างหนึ่งในฮีตสิบสอง หรืองานทำบุญสำคัญในรอบปี คือ งานทำขวัญข้าวก่อนขนข้าวมาสู่ยุ้งฉาง เป็นสิริมงคล เพิ่มความมั่งมีศรีสุขแก่ตนและครอบครัว เป็นการอัญเชิญขวัญข้าว คือ พระแม่โพสพ ให้มาอยู่ประจำข้าว การทำนาจะได้อุดมสมบูรณ์