ใคร เป็นประธาน ใน คณะกรรมการความ ปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน

ใคร เป็นประธาน ใน คณะกรรมการความ ปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน

  • อบรมความปลอดภัย
    • เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
      • จป บริหาร
      • จป หัวหน้างาน
      • จป เทคนิค
      • คปอ
    • หลักสูตรตามกฎหมาย
      • พนักงานใหม่ 6 ชม.
      • ดับเพลิงขั้นต้น
      • การทำงานในที่อับอากาศ
      • การทำงานกับสารเคมี
      • การทำงานกับปั้นจั่น 4 ผู้
      • การทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
    • การทำงานบนที่สูง
      • ที่สูง ผู้ปฏิบัติงาน
      • ที่สูง เสาส่งสัญญาณ
      • โรยตัวทำงานบนที่สูง
    • หลักสูตรทั่วไป
      • ปฐมพยาบาล
      • การทำงานกับนั่งร้าน
      • การขับรถยก (โฟคลิฟท์)
      • ผู้เฝ้าระวังไฟ
      • อันตรายจากเสียงดัง
  • ตรวจรับรอง
    • ตรวจเครน ปจ.1 ปจ.2
    • ตรวจสอบระบบไฟฟ้า
    • ตรวจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
    • ตรวจสอบระบบดับเพลิง
    • บริการตรวจสอบอาคารประจําปี
    • ฉีดพ่นฆ่าเชื้อโควิด19
  • สินค้า
  • บริการช่วยเหลือ

  • ลด 50% โดยไม่ต้องสมัครสมาชิก

  • Newsroom

  • Privacy Notice

ใคร เป็นประธาน ใน คณะกรรมการความ ปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน

           คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (คปอ.) เป็นการร่วมมือจากทุกภาคส่วนในองค์กรในการดำเนินงานด้านความปลอดภัยไม่ว่าจะเป็นนายจ้าง ลูกจ้าง โดยมีหน้าที่ในการพิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน

           ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบกิจการ สำรวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทำงาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการนั้น วางระบบการรายงานสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัยให้เป็นหน้าที่ของลูกจ้างทุกคนทุกระดับต้องปฏิบัติ รวมทั้งประเมินผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงานของสถานประกอบกิจการ เป็นต้น โดยสถานประกอบกิจการควรมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ข้อ 25 นายจ้างของสถานประกอบกิจการที่ลูกจ้างจำนวน 50 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการ ผ่านการอบรม คปอภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างครบจำนวนดังกล่าว คณะกรรมการความปลอดภัยตามวรรคหนึ่ง ต้องประกอบด้วย นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร เป็นประธานกรรมการความปลอดภัย ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาและผู้แทนลูกจ้างเป็นกรรมการความปลอดภัย

บัญชีท้ายกฎกระทรวง

จำนวนพนักงาน

50-99 คน

จำนวนพนักงาน

100-499 คน

จำนวนพนักงาน

500.คนขึ้นไป

บัญชี 1

  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 1 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 2 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 2 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 3 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 4 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 5 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)

บัญชี 2

  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 1 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 2 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 2 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 3 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 4 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 5 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (จป.เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพ ระดับบังคับบัญชา)

บัญชี 3

  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 1 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 2 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 2 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 3 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา)
  • นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน 1 คน
  • ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา 4 คน
  • ผู้แทนลูกจ้าง 5 คน
  • กรรมการและเลขานุการ 1 คน (ผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา)

ใครเป็นประธานในคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

ประกอบด้วย นายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหารเป็นประธาน

หน่วยงานใดที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

มาตรา 31 ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานรับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ และมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

กรรมการในคณะกรรมการความปลอดภัยอยู่ในตำแหน่งได้คราวละกี่ปี

โดยกรรมการมีวาระ 2 ปี และหากคณะกรรมการมีมากกว่าขั้นต่ำ ให้เพิ่มกรรมการจากผู้แทนนายจ้างและผู้แทนลูกจ้างในสัดส่วนที่เท่ากันซึ่งในแต่ละตำแหน่งนั้นสามารถดำเนินการได้ ดังนี้ ประธานกรรมการ ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง นายจ้างสามารถแต่งตั้งได้เลย

คณะกรรมการดำเนินการเพื่อความปลอดภัยมีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร

หน้าที่ คปอ. ตามกฎหมาย จัดทำนโยบายด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการเสนอต่อนายจ้าง จัดทำแนวทางการป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วยหรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างหรือความไม่ปลอดภัยในการทำงานเสนอต่อนายจ้าง

ใครเป็นประธานในคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน หน่วยงานใดที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน กรรมการในคณะกรรมการความปลอดภัยอยู่ในตำแหน่งได้คราวละกี่ปี คณะกรรมการดำเนินการเพื่อความปลอดภัยมีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร ประธานคณะกรรมการความปลอดภัยคือใคร หน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน หน่วยงานความปลอดภัย มีใครบ้าง คปอ ชื่อเต็ม การแต่งตั้ง ค ปอ สถานประกอบการมีจำนวนลูกจ้างกี่คน ต้องจัดให้มีหน่วยงานความปลอดภัย