ผู้แต่งไตรภูมิพระร่วงคือใคร

                    1.�����Ծ����ǧ ���� �����ԡ�� ��觾����Ҹ����Ҫ����·ç����Ҫ�Ծ����� �������ӹǹ���¡�ا��⢷�¹�� ����ҡ�����յ鹩�Ѻ������駡�ا��⢷�µ��ʹ�Ҩ��֧�Ѩ�غѹ �鹩�Ѻ����������������� ��� �鹩�Ѻ�������Ҫ����Ѵ�ҡ��� �ѧ��Ѵ��طû�ҡ�� (�Ѵ��ҧ�������) ��鹩�Ѻ�Ҩҡ�ѧ��Ѵྪú��� �֧��������ͧ ������ ������ҹ 30 �١ ����� �.�. 2321 ������稾����Һ��ǧ���� �������Ҵ�ç�Ҫҹ��Ҿ �ô�����͡�վ����������繤����á ���¡������� "�����Ծ����ǧ" ����ҹ�¸�Ե ����⾸�� ʹյ͸Ժ�ա����Żҡ� ���й����ҧ��ŷ�Ѿ�� ����蹡Ԩ ����ͤ��駴�ç���˹觼���ӹ�¡�áͧ��ó�����л���ѵ���ʵ�� �Ѵ�Ҽ������Ǫҭ��Ǩ�ͺ���л�Ѻ��ا����Ի��ʤ�Ҵ����͹����ѧ������ ��йҧ��ŷ�Ѿ�� ����蹡Ԩ���ͺ����¾Է�� �������� ���­��������¤ 9 �������Ǫҭ��ҹ��ó��վط���ʹҵ�Ǩ�ͺ���� ������ѡ�Ңͧ�������ҡ����ش ����͵�Ǩ�ͺ������������ �������Ѵ���������� ����� �.�. 2517, 2525 ��� 2526 ����ӴѺ

ผู้แต่งไตรภูมิพระร่วงคือใคร

ไตรภูมิพระร่วง หรือ ไตรภูมิกถาพระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท)_______________สำนักพิมพ์บรรณาคาร จัดพิมพ์จำหน่าย พุทธศักราช ๒๕๔๓คำนำ_______________

สำนักพิมพ์บรรณาคารได้มาแจ้งกองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ว่า มีความประสงค์จะขออนุญาตจัดพิมพ์หนังสือเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง หรือ ไตรภูมิกถา พระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์สุโขทัย เพื่อจำหน่ายเผยแพร่ กรมศิลปากรพิจารณาแล้ว ยินดีอนุญาตให้จัดพิมพ์ได้ตามประสงค์

ไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถา เป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญมากเล่มหนึ่งของไทย ที่แสดงข้อคิดเห็นเต็มไปด้วยสารัตถประโยชน์เกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ตลอดจนชี้ให้เห็นถึงผลบาปและผลบุญที่คนทั้งหลายได้กระทำไว้ในชีวิต

หนังสือเรื่องไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถานี้ เป็นผลงานที่แสดงพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) บูรพกษัตริย์ไทย ในการพระราชนิพนธ์วรรณคดีเรื่องนี้ และผู้ที่ได้ศึกษางานพระราชนิพนธ์นี้จะได้เข้าใจสภาพสังคมสมัยเมื่อเริ่มตั้งอาณาจักรเป็นปึกแผ่นในแผ่นดินไทยว่า พระมหากษัตริย์ไทยในครั้งนั้นต้องทรงมีจิตวิทยาสูงเพียงใด เพราะการก่อตั้งอาณาจักรขึ้นใหม่ จะต้องรวบรวมพลังไพร่ฟ้าข้าแผ่นดิน หากประชาชนตั้งอยู่ในศีลธรรม มีระเบียบวินัย รู้บาปบุญคุณโทษ และมีจิตยึดมั่นในหลักคำสอนทางศาสนา ก็จะสามารถดำรงความมั่นคงและสามารถต่อสู้ศัตรูที่คอยคุกคามความดำรงอยู่ของชาติได้

ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณคดีที่น้อมนำจิตใจประชาชนให้ยึดมั่นอยู่ในคุณธรรมความดีตามหลักธรรม ทั้งยังแสดงความรู้สึกสอดคล้องกับหลักธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ เช่น ตอนพรรณนาถึงกำเนิดของมนุษย์ ทั้ง ๆ ที่ในสมัยสุโขทัย วิทยศาสตร์ยังไม่ก้าวหน้าหรือเป็นที่รู้จักกว้างขวางอย่างในปัจจุบัน แต่หนังสือไตรภูมิพระร่วงเกิดขึ้นและกล่าวถึงเรื่องที่ใกล้เคียงกับหลักการทางวิทยาศาสตร์มานับร้อยปีแล้ว คุณค่าสาระของหนังสือเรื่องนี้จึงน่าศึกษาค้นคว้าอย่างยิ่ง โดยเฉพาะความรู้ทางศาสนา ทางอักษรศาสตร์ ภาษาศาสตร์ จารีตประเพณี และวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลต่อความคิดของคนไทยโดยทั่วไป

หนังสือไตรภูมิพระร่วงนี้ ได้มีผู้คัดลอกกันต่อ ๆ มา และได้ตีพิมพ์มาแล้วหลายครั้ง มีที่วิปลาสคลาดเคลื่อนอยู่มาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายไว้ว่า “หนังสือไตรภูมิฉบับนี้...เมื่ออ่านตรวจดู เห็นได้ว่า หนังสือเรื่องนี้เป็นหนังสือเก่ามาก มีศัพท์เก่า ๆ ที่ไม่เข้าใจ และเป็นศัพท์อันเคยพบแต่ในศิลาจารึกครั้งกรุงสุโขทัยหลายศัพท์ น่าเชื่อว่า หนังสือไตรภูมินี้ฉบับเดิมจะได้แต่งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยจริง แต่คัดลอกสืบกันมาหลายชั้นหลายต่อจนวิปลาสคลาดเคลื่อน หรือบางทีจะได้มีผู้ดัดแปลงสำนวนและแทรกเติมข้อความเข้าเมื่อครั้งกรุงเก่าบ้าง ก็อาจจะเป็นได้ ถึงกระนั้น โวหารหนังสือเรื่องนี้ยังเห็นได้ว่าเก่ากว่าหนังสือเรื่องใด ๆ ในภาษาไทย นอกจากศิลาจารึกที่ได้เคยพบมา จึงนับว่าเป็นหนังสือเรื่องดีด้วยอายุประการหนึ่ง”

กรมศิลปากรเห็นความสำคัญและคุณค่าของหนังสือ จึงได้มอบให้นายพิทูร มลิวัลย์ เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งประจำแผนกกองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ภายหลังโอนไปรับราชการตำแหน่งอนุศาสนาจารย์ หัวหน้าฝ่ายปริยัติปกรณ์ กรมการศาสนา เป็นผู้ตรวจสอบชำระ โดยพยายามรักษาส่วนที่เป็นของเดิมไว้ให้มากที่สุด ส่วนที่ชำรุดหรือวิปลาสไป ก็หาต้นฉบับใส่ไว้ให้สมบูรณ์ ทั้งนี้ ได้นำคำชี้แจงของผู้ตรวจสอบชำระ และพระราชประวัติพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) ผู้พระราชนิพนธ์หนังสือเรื่องนี้มาพิมพ์ไว้ต่อจากคำนำนี้ และได้จัดทำเชิงอรรถเพิ่มเติม พร้อมทั้งได้รวบรวมคำโบราณ สำนวนโวหารในไตรภูมิพระร่วง จัดทำคำแปล อีกทั้งได้บอกชื่อคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์ไว้เป็นภาคผนวกอีกด้วย[1]

กรมศิลปากรหวังว่า หนังสือเรื่องไตรภูมิพระร่วง หรือไตรภูมิกถานี้ คงจะอำนวยประโยชน์ในด้านการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจศึกษาค้นคว้าตามสมควร

นาวาอากาศเอกอาวุธ เงินชูกลิ่นอธิบดีกรมศิลปากรกองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๓สารบัญ_______________บานแพนกเตภูมิกถาคาถานมัสการบานแพนกเดิม(อารัมภบท)กามภพ นรกภูมิติรัจภูมิอสุรกายภูมิมนุสสภูมิฉกามาพจรภูมิรูปภพอรูปภพเถิงอวินิพโภครูป(ปัจฉิมบท)

เชิงอรรถ[แก้ไข]

  1. หนังสือซึ่งวิกิซอร์ซคัดลอกมานี้ ไม่ปรากฏว่ามีภาคผนวกที่ว่าแต่อย่างใด — [เชิงอรรถของ วิกิซอร์ซ].



ข้อใดคือผู้แต่งไตรภูมิพระร่วง

1.1 ผู้แต่งและสมัยการแต่งไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของไทย สมเด็จ กรม พระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่าเป็นพระนิพนธ์ของพระเจ้ากรุงศรีสัชนาลัยสุโขทัย คือ พระญาลิไท ได้แต่งขึ้นไว้เมื่อปีระกา ศักราชได้ 23 ปี ต้นฉบับได้มาจากเมืองเพชรบุรี เป็น

ใครคือผู้แต่งหนังสือไตรภูมิมิกถา

พระมหาธรรมราชาลิไทยทรงสนพระทัยในพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ได้เสด็จออกทรงผนวชใน พ.ศ. 1905. แต่ได้ทรงพระราชนิพนธ์ไตรภูมิกถาก่อนหน้านั้นถึง 7 ปี พระองค์ทรงเล่าไว้ในบานแพนกว่าพระองค์เคยศึกษามาจาก

ความมุ่งหมายของการแต่งไตรภูมิพระร่วงคืออะไร

ไตรภูมิพระร่วงมีเนื้อหาที่อธิบายแนวคิดที่ทรงอธิบายภพภูมิต่างๆมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ประชาชนมีจริยธรรม เกรงกลัวต่อการท าความชั่วเพราะคนท าความชั่วจะได้ไปเกิดใน อบายภูมิส่วนคนท าความดีจะได้ไปเกิดในสุคติภูมิซึ่งท าให้มีผลดีต่อสังคมไม่ต้องบังคับใช้ กฎหมายบังคับโดยอาศัยแนวคิด เรื่องจักรวาลวิทยาอันเป็นแนวคิดเชิงอภิปรัชญาที่ ...

ผู้แต่งไตรภูมิพระร่วงคือใครและมีความสัมพันธ์กับพ่อขุนรามคำแหงมหาราชอย่างไร *

ผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ คือพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แล้วผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๒ คือใครกันน้า...คำตอบก็คือ พญาลิไทย ผู้แต่งเรื่องไตรภูมิพระร่วง นี่เอง โดยทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นกษัตริย์นักปราชญ์ เพราะโปรดให้สร้างศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ ถึงหลักที่ ๑๐ อีกทั้งยังจารึกไว้ทั้งภาษาไทย ภาษามคธ และภาษาขอมอีกด้วย