กระบวนการใดมีความสัมพันธ์กับ

ความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐอเมริกา

 ความสัมพันธ์ไทยกับสหรัฐอเมริกามีความต่อเนื่องยาวนานมากว่า 182  ปี ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์กันหลากหลายมิติทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงและการทหาร โดยเฉพาะไทยได้รับสถานะเป็น Major Non-NATO Ally (MNNA) ของสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี 2546 อย่างไรก็ดี ความไม่แน่นอนทางการเมืองของไทยส่งผลให้สหรัฐฯ เกิดความกังวลทั้งในแง่ของนโยบายและผลกระทบต่อธุรกิจและผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในแง่ที่ไทยเคยเป็นตัวอย่างที่ดีของสังคมประชาธิปไตยที่รักสงบและความขัดแย้งทางการเมืองสามารถดำเนินไปในกรอบของรัฐสภา

การดำเนินการเป็นไปตาม Roadmap อยู่ในขั้นที่ 2 สภาวะทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวและคาดว่าในปี 2558 จะเติบโตประมาณร้อยละ 4 โดยรัฐบาลมุ่งมั่นพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะเครือข่ายการคมนาคมทางรถไฟ และส่งเสริมการเชื่อมโยงและการรวมตัวทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะลุ่มแม่น้ำโขง

เมื่อเดือนเมษายน 2558 ร่างรัฐธรรมนูญร่างแรกได้แล้วเสร็จและได้ส่งให้องค์กรต่าง ๆ ทั้ง 5 แห่ง (สนช. สปช. ครม. คสช.และคณะกรรมการยกร่างฯ) พิจารณา และในเดือนกันยายน 2558 กระบวนการร่างรัฐธรรมนูญจะครบถ้วน และกราบบังคมทูลเสนอให้ทรงลงพระปรมาภิไธย หลังจากนั้น จะเป็นกระบวนการออกกฎหมายรองรับ และคาดว่าจะประกาศการเลือกตั้งทั่วได้ช่วงครึ่งแรกของปี 2559

ในส่วนของนโยบายต่างประเทศก็เดินหน้าต่อเนื่อง หลายประเทศได้แสดงความเข้าใจมากขึ้นและสานต่อความสัมพันธ์โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ร่วมกันในระยะยาว สำหรับประเทศตะวันตกบางประเทศนั้น ไทยเข้าใจว่าต้องแสดงท่าทีบางอย่าง แต่ก็ขอให้เคารพซึ่งกันและกัน ควรให้เวลาและพื้นที่กับคนไทยที่จะต้องแก้ไขปัญหากันเอง และขอให้คำนึงถึงความสัมพันธ์ในระยะยาวกับไทยด้วย

หัวใจของการปฏิรูป คือ การแก้ไขปัญหาทางการเมืองที่สะสมมานาน การปฏิรูปเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง อาทิ การสร้างสังคมให้เกิดความเป็นธรรม การลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคม การแก้ไขปัญหาการซื้อขายเสียง ระบบอุปถัมภ์ ปรับปรุงระบบการเลือกตั้งให้เหมาะสมเพื่อให้สะท้อนความเห็น ท่าทีของคนทุกกลุ่มทุกภาคส่วน

รัฐบาลนี้ต้องการวางรากฐานให้กับการปฏิรูปอื่น ๆ ในอนาคต ต้องไม่ลืมว่า รัฐธรรมนูญไม่ใช่ยาวิเศษสำหรับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและแตกแยกทางการเมืองที่ฝังรากลึกในสังคมไทยเป็นเวลานาน ทั้งนี้ ในที่สุดแล้ว สังคมไทยจะต้องร่วมกันหาฉันทามติทางสังคมใหม่ที่สะท้อนโครงสร้างทางสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนไป และนักการเมืองก็ต้องหาทางประนีประนอมและหาพื้นฐานร่วมกันด้วยเพื่อให้ประเทศเดินหน้าต่อไปได้

โดยที่ฝ่ายต่าง ๆ ของสหรัฐฯ มองประเทศไทยจากแว่นประชาธิปไตยที่เน้นการเลือกตั้งเป็นสำคัญและไม่ให้เวลาพอที่จะทำความเข้าใจบริบทของประเทศไทยอย่างลึกซึ้งพอ สถานทูตจึงได้จัดทำข้อความดังต่อไปนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกท่านในการเขียนสนับสนุนการเป็นพันธมิตรที่เข็มแข็งระหว่างไทยกับสหรัฐฯ

“Dear

I urge you to support a strong alliance between the United States and Thailand.

Thailand is the oldest friend of the United States in Asia and a major non-NATO ally. Thai troops had fought shoulder to shoulder with American troops in many battles in the past. U.S. and Thai intelligence and security communities have worked together to counter common threats and protect our peoples.

Trade and investment between the United States and Thailand have continued to grow, bringing jobs and opportunities to the peoples of both countries. The largest Thai community overseas is in the United States while a large number of Americans visited Thailand each year.

After months of political paralysis and violence early last year, Thailand is now moving forward with necessary reforms in order to achieve a stronger and sustainable democracy with better checks and balances, good governance and the rule of law.

The Thai economy is now moving ahead with many infrastructure development projects which will help increase the country’s competitiveness in the long run.

The draft of Thailand’s new constitution should be completed by September this year and elections should be held by 2016.

Thailand’s stability and contribution to ASEAN will benefit the United States. A strong alliance between the United States and Thailand will serve the strategic interest of the United States and the success of the Rebalance policy in Asia.

I therefore urge you to give understanding and support for a sustainable democracy in Thailand.

SENDER’S NAME”

กระบวนการใดมีความสัมพันธ์กับ
แผนภาพแสดงกระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process)

กระบวนการเทคโนโลยีคืออะไร

ในชีวิตประจำวันของมนุษย์มีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นมากมายตามเงื่อนไขและปัจจัยในการดำรงชีวิตของแต่ละคน ทำให้บางครั้งมนุษย์ต้องพบเจอกับปัญหาหรือความต้องการที่จะทำให้การดำรงชีวิตดีขึ้น เราเรียกว่า “สถานการณ์เทคโนโลยี”

การพิจารณาว่าสถานการณ์ใดเป็นสถานการณ์เทคโนโลยี จะพิจารณาจาก 3 ประเด็นคือ เป็นปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์ เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม หรือเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร

การแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่พบในสถานการณ์เทคโนโลยี จะต้องใช้ทรัพยากร ความรู้และทักษะต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จึงจำเป็นต้องมีวิธีการหรือกระบวนการทำงานในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการอย่างเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน ซึ่งเรียกกระบวนการนั้นว่า “กระบวนการเทคโนโลยี”

กระบวนการเทคโนโลยีมีกี่ขั้นตอน

กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้

  1. กำหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identify the problem)
  2. รวบรวมข้อมูล(Information gathering)
  3. เลือกวิธีการ (Selection)
  4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
  5. ทดสอบ (Testing)
  6. ปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement)
  7. ประเมินผล (Assessment)

ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ

ขั้นตอนแรกของกระบวนการเทคโนโลยี คือ การกำหนดปัญหาหรือความต้องการ ซึ่งเป็นการทำความเข้าใจหรือวิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการหรือสถานการณ์เทคโนโลยีอย่างละเอียด เพื่อกำหนดกรอบของปัญหาหรือความต้องการให้ชัดเจนมากขึ้น

ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล

การรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการที่กำหนดไว้ในขั้นกำหนดปัญหาหรือความต้องการจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น ศึกษาจากตำรา วารสาร บทความ สารานุกรม สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต ระดมสมองจากสมาชิกในกลุ่ม โดยควรมีการรวบรวมข้อมูลรอบด้านให้ครอบคลุมปัญหาหรือความต้องการ ซึ่งจะทำให้เราสามารถสรุปวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ครบถ้วนสมบูรณ์ขึ้น

ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ

การเลือกวิธีการ เป็นการพิจารณาและเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับปัญหาหรือความต้องการมากที่สุด โดยใช้กระบวนการตัดสินใจเลือกจากวิธีการที่สรุปได้ในขั้นรวบรวมข้อมูล ประเด็นที่ควรนำมาพิจารณาคือ ข้อดี ข้อเสีย ความสอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ ความประหยัด และการนำไปใช้ได้จริงของแต่ละวิธี เช่น ทำให้ดีขึ้น สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ควรพิจารณาคัดเลือกวิธีการโดยใช้กรอบของปัญหาหรือความต้องการมาเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือก

ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ

การออกแบบและปฏิบัติการเป็นการถ่ายทอดความคิดหรือลำดับความคิดหรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอน เกี่ยวกับวิธีการ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการโดยละเอียด โดยใช้การร่างภาพ 2 มิติ การร่างภาพ 3 มิติ การร่างภาพฉาย แบบจำลอง หรือแบบจำลองความคิด และวางแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน จากนั้นลงมือสร้างตามแนวทางที่ได้ถ่ายทอดความคิดและวางแผนการปฏิบัติงานไว้ ผลงานที่ได้อาจเป็นชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการ

ขั้นที่ 5 ทดสอบ

การทดสอบเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการที่สร้างขึ้นว่ามีความสอดคล้อง ตามแบบที่ได้ถ่ายทอดความคิดไว้หรือไม่ สามารถทำงานหรือใช้งานได้หรือไม่ มีข้อบกพร่องอย่างไร หากผลการทดสอบพบว่า ชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการไม่สอดคล้องตามแบบที่ถ่ายทอดความคิดไว้ ทำงานหรือใช้งานไม่ได้ หรือมีข้อบกพร่องที่ควรปรับปรุงแก้ไข จะต้องมีการบันทึกสิ่งต่างๆ เหล่านี้ไว้ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นข้อมูลที่นำไปสู่การปฏิบัติงานในขั้นปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแก้ไข

การปรับปรุงแก้ไข เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากขั้นทดสอบว่าควรปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการในส่วนใด ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร แล้วจึงดำเนินการปรับปรุงแก้ไขในส่วนนั้น จนกระทั่งชิ้นงานหรือแบบจำลองวิธีการสอดคล้องตามแบบที่ถ่ายทอดความคิดไว้ ทำงานหรือใช้งานได้ ในขั้นตอนนี้อาจจำเป็นต้องกลับไปที่ขั้นตอนออกแบบและปฏิบัติการอีกครั้งเพื่อถ่ายทอดความคิดใหม่หรืออาจกลับไปขั้นตอนรวบรวมข้อมูลและเลือกวิธีการที่เหมาะสมอีกครั้งก็ได้ เพื่อให้ได้สิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการที่เหมาะสมมากขึ้น

ขั้นที่ 7 ประเมินผล

การประเมินผล เป็นการนำชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้สร้างขึ้นไปดำเนินการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการที่กำหนดไว้ในขั้นกำหนดปัญหาหรือความต้องการ และประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าชิ้นงานหรือวิธีการนั้นสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ หากผลการประเมินพบว่า ชิ้นงานหรือวิธีการไม่สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ควรพิจารณาว่าจำเป็นต้องแก้ไขในขั้นตอนใด เพื่อนำไปปรับปรุงตามกระบวนการเทคโนโลยีอีกครั้ง เพื่อทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

บางกิจกรรมอาจไม่ครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได้ บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบ้างก็ได้แต่เมื่อนำไปใช้แล้ว นักเรียนรู้จักที่จะทำงานเป็นขั้นตอน เป็นระบบ ย้อนกลับมาดู หรือแก้ไขได้ตามขั้นตอนที่ทำไปได้

การนำกระบวนการเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในการทำงานต่างๆ ในชีวิตประจำวันนั้น สามารถช่วยให้ผู้นำไปใช้เกิดกระบวนการทำงานที่เป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่วยให้สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ง่ายขึ้น โดยหากผู้อ่านท่านใดนสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลด เอกสารเผยแพร่ เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยี ได้ตามลิงค์ด้านล่าง

ตัวอย่างโครงการออกแบบและเทคโนโลยี