ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

1. การสื่อสารแบบบนลงล่าง (Downward Communication)
เป็นการสื่อสารจากต่ำแหน่งที่สูงกว่าลงมาตำแหน่งที่ต่ำกว่าได้แก่ นโยบาย/เป้าหมายองค์กร,กฎระเบียบ,
การให้ข้อมูล ป้อนกลับเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้พนักงานรับทราบและปฏิบัติตาม

2 การสื่อสารแบบล่างขึ้นบน (Upward Communication)
เป็นการสื่อสารจากผู้ใต้บังคับบัญชาไปยังผู้บังคับบัญชา ได้แก่ ข้อคิดเห็น,ข้อเสนอแนะ,ข้อเรียกร้องจากพนักงาน
วัตถุประสงค์ คือเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมและเกิดความผูกพันกับองค์กรมากขึ้น

3. การสื่อสารในแนวนอน (Later or Horizontal Communication)
เป็นการสื่อสารระหว่างเพื่อร่วมงานในหน่วยงานเดี่ยวกัน
วัตถุประสงค์ เพื่อประสานการทำงาน ให้ข้อมูลการทำงานและเชื่อมความสัมพันธ์อันดี

4.การสื่อสารข้ามสายงาน
เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่อยู่คนละหน่วยงาน หรือระหว่างหน่วยงาน ได้แก่ ข้อมูลเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน,
ความคิดเห็น,การแลกเปลี่ยนความรู้
วัตถุประสงค์ เพื่อประสานการปฏิบัติงานร่วมกันและประสานความสัมพันธ์ อันดีระหว่างหน่วยงาน


เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : ทิศทางการสื่อสารในองค์กร

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียว และผู้รับข้อมูล ก็ทำหน้าที่รับข้อมูลแต่เพียงอย่างเดียวด้วยเช่นกัน การส่งข้อมูลในลักษณะนี้ เช่น การส่งสัญญาณของสถานีโทรทัศน์ไปยังเครื่องรับโทรทัศน์ โดยที่สถานีส่งสัญญาณโทรทัศน์จะทำหน้าที่ส่งสัญญาณเท่านั้น และเครื่องรับโทรทัศน์ก็จะทำหน้าที่รับสัญญาณเท่านั้นเช่นกัน

2. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex-Transmission)

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล แต่จะต้องสลับกันทำหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูล จะเป็นผู้ส่ง

พร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ได้ ลักษณะการส่งข้อมูลประเภทนี้ เช่น การสื่อสารโดยใช้วิทยุสื่อสาร

ซึ่งผู้ที่จะส่งข้อมูลต้องกดปุ่มเพื่อส่งข้อมูล ในขณะนั้นผู้อื่นจะเป็นผู้รับข้อมูล

3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission)

เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูล โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็นผู้ส่งและ ผู้รับข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน และสามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกันลักษณะการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน เช่น การสื่อสารโทรศัพท์ซึ่งทั้งสองฝ่ายสามารถ

พูดพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน  โดยปกติการสื่อสารข้อมูลส่วนใหญ่จะไม่ใช่่การส่งข้อมูล

แบบสองทิศทางพร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้โทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะสามารถส่งข้อมูลได้

สองทิศทางพร้อมกัน แต่เวลาพูดยังต้องสลับกันพูด อีกตัวอย่างหนึ่งคือ การสื่อสารระหว่าง

เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบางครั้งดูเหมือนว่าเป็นแบบสองทิศทางพร้อมกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วเป็นการส่งข้อมูลแบบสองทิศทางสลับกัน ซึ่งช่วงเวลาที่สลับกันนี้อาจเป็นช่วงเวลาที่เร็วมาก

           ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล หมายถึง ทิศทางจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์รับข้อมูลโดยผ่านสื่อนำข้อมูล

           สามารถแบ่งทิศทางการสื่อสารของข้อมูลได้เป็น 3 แบบ คือ

1. แบบทิศทางเดียว (Simplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางเดียว” (One-way Communication)เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้เช่น การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ การเผยแพร่ภาพและรายการต่างๆของสถานีโทรทัศน์ เป็นต้น

ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

2. แบบกึ่งสองทิศทาง ( Half Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบทางใดทางหนึ่ง (Either-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way Communication)” เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ต้องกดสวิตซ์ เพื่อเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร

1. แบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทาง โดย

ไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้ เช่นระบบวิทยุ หรือโทรทัศน์

ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

2. แบบกึ่งสองทิศทาง (Half Duplex) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะ

ไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

ข้อใดเป็นประเภทของการสื่อสารตามทิศทางของการสื่อสาร

3. แบบสองทิศทาง (Full Duplex)หรือเรียกว่า “การสื่อสารแบบสองทาง (Both-way Communication) เป็นทิศทางการสื่อสารข้อมูลแบบที่ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทางในเวลาเดียวกัน เช่นระบบโทรศัพท์ โดยที่คู่สนทนาสามารถพูดคุยโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ต้องกดสวิตซ์ เพื่อเปลี่ยนสถานะก่อนที่จะสื่อสาร