ข้อใดเกิดขึ้นจากการที่แผ่นธรณีภาคพื้นมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป *

1. นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างภายในพื้นโลกโดยวิธีใด   1. สัญญาณภาพผ่านดาวเทียม 2. คลื่นความสั่นสะเทือนขณะเกิดแผ่นดินไหว   3. ซากดึกดำบรรพ์ (Fossil) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า   2. ข้อใด ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค   1. แผ่นธรณีภาคแผ่นเล็ก ๆ จะมีพื้นที่หายไป   2. แผ่นธรณีภาคแต่ละแผ่นเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกัน                      3. แผ่นธรณีภาคแต่ละแผ่นอาจเกิดการกระแทกซึ่งกันและกัน        4. แผ่นเปลือกโลกแผ่นใหญ่จะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับทวีปเคลื่อนอย่างช้า ๆ   3. การชนกันระหว่างแผ่นธรณีภาคใดทำให้เกิดร่องลึกญี่ปุ่น   1. แอฟริกา – อเมริกา   2. แปซิฟิก – ออสเตรเลีย    3. ยูเรเซีย – ออสเตรเลีย   4. ยูเรซีย – แปซิฟิก    4. แผ่นเปลือกโลกใดที่รองรับประเทศไทย   1. แผ่นออสเตรเลีย            2. แผ่นยูเรเซีย        3. แผ่นแอนตาร์กติกา 4. แผ่นแปซิฟิก         5. ภูเขาหินแกรนิตเกิดจากกระบวนการตามข้อใด   1. การเย็นตัวของหินหนืดใต้เปลือกโลกก่อนที่จะออกมาสู่เปลือกโลก   2. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ชนกัน   3. การที่เปลือกโลกถูกบีบอัดจนโค้งงอ   4. แผ่นดินยกตัวขึ้นเนื่องจากแรงดันของหินหนืด   6. บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่บริเวณใด   1. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ 2. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย   3. บริเวณใจกลางแผ่นยูราเซียน (Eurasian plate) 4. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก   7. คาบอุบัติซ้ำมีความหมายตรงกับข้อใด   1. รอบเวลาของการเกิดแผ่นดินไหว  ณ  บริเวณหนึ่งๆ 2.  ระยะเวลาของการเกิดแผ่นดินไหวในแต่ละครั้ง   3. การเกิดแผ่นดินไหวหลังภูเขาไฟระเบิด 4. บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นประจำ   8. ก่อนและหลังเกิดภูเขาไฟระเบิดมักจะเกิดปรากฏการณ์ตามธรรมชาติตามข้อใด   1. พายุฟ้าคะนอง                2. คลื่นยักษ์ในมหาสมุทร   3.  แผ่นดินไหว 4. พายุภูเขาไฟ   9. ซากดึกดำบรรพ์ดัชนีเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอนเพราะเหตุผลต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด   1. ความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุเห็นได้ชัด   2. ปรากฏให้เห็นทุกช่วงการเปลี่ยนแปลงของโลก   3. ซากดึกดำบรรพ์มีวิวัฒนาการทางโครงสร้างอย่างรวดเร็ว   4. ซากดึกดำบรรพ์มีวิวัฒนาการทางรูปร่างอย่างรวดเร็ว   10. ภูเขาไฟฟูจิในญี่ปุ่น เป็นภูเขาไฟแบบใด   1. ภูเขาไฟมาร์ 2. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น   3. ภูเขาไฟรูปโล่ 4. จุกลาวา   11. ปรากฏการณ์ใดไม่ได้สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง   1. การพบพลังงานจากทุกทิศทุกทางในปริมาณเท่ากับมวลของวัตถุดำ   2. ดาราจักรเคลื่อนที่เข้าใกล้แถบสเปกตรัมสีแดง   3. อุณหภูมิพื้นหลังของเอกภพมีค่าเท่ากับ 2.73 เคลวิน   4. ดาราจักรทุกแห่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากันสม่ำเสมอ   12. ดาราจักรทางช้างเผือกมีรูปทรงอย่างไร   1. รูปก้นหอย 2. รูปทรงกลม   3. รูปโดนัท 4. รูปชาม   13. ดาวเคราะห์ชั้นนอกมีองค์ประกอบส่วนใหญ่ที่สำคัญคือข้อใด   1. เหล็กและนิกเกิล 2. ไฮโดรเจนและฮีเลียม   3. คาร์บอนและเหล็ก 4. ไฮโดรเจนและคาร์บอน   14. ดาราจักรเป็นระบบดาวฤกษ์ที่อยู่รวมกับด้วย..............(A)....... ของดาว และ ........(B)......... ที่จุดศูนย์กลางของดราจักร A และ  B หมายถึงข้อใด   1. A คือแรงโน้มถ่วง B คือหลุมดำ 2. A คือแรงแม่เหล็ก B คือกระจุกดาว   3. A คือแรงนิวเคลียร์ B คือเนบิวลา 4. A คือ แรงหนีศูนย์กลาง B คือเนบิวลา   15. เมื่อเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง วันนั้นควรจะเป็นวันใด   1. แรม 1 ค่ำ 2. แรม 8 ค่ำ   3. ขึ้น 15 ค่ำ 4. แรม 15 ค่ำ   16. ดาวเทียมชนิดใดที่มีอุปกรณ์ถ่ายภาพเมฆ และเก็บข้อมูลในการใช้พยากรณ์อากาศ   1. ดาวเทียมสื่อสาร 2. ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก   3. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา 4. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์   17. ดาวเทียมดวงใดเป็นดาวเทียมดวงแรกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ   1. LANDSAT 2. NOAA   3. ไทรอส 4. สปุตนิก   18. เพราะเหตุใดในการส่งจรวดไปในอวกาศ  เมื่อจรวดแต่ละท่อนเผาไหม้เชื้อเพลิงหมดแล้วจึงต้องถูกสลัดทิ้งไป   1. ลดแรงโน้มถ่วงของโลก 2. ลดขนาดให้สั้นลง   3. ลดมวลให้น้อยลง 4. ลดแรงเสียดทาน   19. ยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์ที่ ไม่มีนักบินควบคุม คือข้อใด   1. ยานคอสมอส 2. ยานเรนเยอร์   3. ยานมาริเนอร์ 4. ยานลูนา   20. ความเร็วที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นแนววิถีโค้งรอบโลกโดยไม่ตกลงสู่พื้นโลก เรียกว่า   1. ความเร็วเริ่มต้น 2. ความเร็วสุดท้าย       3. ความเร็วหลุดพ้น 4. ความเร็วโคจรรอบโลก   21.หลักฐานทุกข้อต่อไปนี้สนับสนุนว่าแผ่นธรณีภาคมีการเคลื่อนที่ยกเว้นข้อใด   1. ลักษณะการเกิดเทือกเขาหิมาลัย   2. ปรากฏการณ์น้ำพุร้อน   3. รอยโค้งเว้าของแผนอเมริกาใต้และแผ่นแอฟริกาเชื่อมกันได้พอดี   4. สิ่งมีชีวิตริมชายฝั่งแผ่นธรณีภาคด้านเดียวกันมีความคล้ายคลึงกัน   22. กลไกที่ทำให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของธรณีภาคเกิดจากอะไร   1. การหมุนของโลกและแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ชักจูงให้เกิดกระบวนการของทวีปเลื่อน   2. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง   3. การพาความร้อนในแมนเทิล   4. การแยกของแผ่นทวีป   23.พันเจียเริ่มแยกออกเป็นทวีปใหญ่ 2 ทวีป คือทวีปอะไร   1. อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้                                2. ยุโรป และเอเชีย    3. ทวีปแอฟริกาและลอเรเซีย        4. ลอเรเซียและกอนด์วานา   24. แนวแบ่งเขตโฮโรวิซิกหมายถึงข้อใด   1.  เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลก   2. เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างชั้นธรณีภาคกับชั้นฐานธรณีภาค   3. เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างเปลือกโลกชั้นนอกกับเปลือกโลกชั้นใน   4. เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างเปลือกโลกพื้นทวีปกับเปลือกโลกใต้มหาสมุทร   25.อัตราเร็วในการแผ่ของคลื่นแผ่นดินไหวขึ้นอยู่กับอะไร   1. ความหนาและความหนืดของตัวกลาง   2. ความยืดหยุ่นและความหนาแน่นของตัวกลาง   3. มวลและอุณหภูมิของตัวกลาง   4. อุณหภูมิและความลึกของตัวกลาง   26. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) คืออะไร   1. จุดที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหวแต่อยู่ในชั้นเนื้อโลก (Mantle)   2. จุดในอากาศที่อยู่เหนือการเกิดแผ่นดินไหว   3. จุดบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว   4. จุดล่างสุดของชั้นเปลือกโลก (Crust) ที่อยู่เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว   27. เครื่องบันทึกคลื่นแผ่นดินไหวมีชื่อเรียกว่าอะไร   1. บารอมิเตอร์   2. ไซสโมกราฟ   3. ไกเกอร์ มูเลอร์ เคาเตอร์   4. สเฟียร์โรมิเตอร์   28. เหตุใดจึงต้องมีการกำหนดขนาดของแผ่นดินไหว   1. เพื่อป้องกันการเกิดแผ่นดินไหว   2. เพื่อทราบผลกระทบหรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้น   3. เพื่อทราบถึงศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหว   4. เพื่อตรวจสอบการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้า   29. ข้อใดถูกต้อง   1. อายุทางธรณีวิทยามี 2 แบบ คือ อายุเทียบสัมพัทธ์ อายุสมบูรณ์   2. อายุทางธรณีวิทยามี 2 แบบ คือ อายุสัมพันธ์ อายุสมบูรณ์   3. อายุทางธรณีวิทยามี 2 แบบ คือ อายุเปรียบเทียบ อายุสัมบูรณ์   4. อายุทางธรณีวิทยามี 2 แบบ คือ อายุสัมพันธ์ อายุสัมบูรณ์   30. พื้นที่จังหวัดลำปางในอดีตเคยเป็นอะไรมาก่อน   1. ภูเขาไฟ 2. ทะเลทราย   3. ทะเล 4. ภูเขา   31. ดาราจักรแต่ละดาราจักรประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง   1. ดาวฤกษ์นับแสนล้านดวง 2. ดาวฤกษ์ เนบิวลา ระบบสุริยะ และที่ว่าง   3. ดาวฤกษ์และเนบิวลา 4. ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต และฝุ่นละออง   32. ขณะเกิด Bigbang มีอนุภาคมูลฐานเกิดขึ้นหลายชนิด ยกเว้นข้อใด   1. อิเล็กตรอน 2. นิวทริโน   3. โฟตอน 4. นิวตรอน   33. จากทฤษฎีวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
         ก.ดาวฤกษ์ทั้งหลายมีกำเนิดจากเนบิวลา
         ข.ดาวฤกษ์ที่มีสีแดงควรจะมีอายุมากกว่าดาวฤกษ์สีน้ำเงิน
         ค.วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยกว่าดวงอาทิตย์จะกลายเป็นดาวนิวตรอนข้อใดถูกต้อง   1. ก 2. ข   3. ก และ ข 4. ก ข และ ค   34. เหตุใดจึงไม่เกิดสุริยุปราคาทุกๆเดือน ทั้งๆที่ใน 1 เดือนนั้นจะต้องมีเดือนดับอยู่อย่างร้อย 1 ครั้งเสมอ   1. ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์และของโลกไม่ได้อยู่ที่จุดตัดของวงโคจรทั้งสอง   2. ระยะเวลาของวงโคจรและการหมุนรอบตัวเองของดวงจันทร์และโลกไม่เท่ากัน   3. คาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์แตกต่างกัน   4. ระนาบโคจรของดวงจันทร์รอบโลกเอียงทำมุมกับระนาบโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ประมาณ 10    องศา   35. ดาว A และ ดาว B วัดมุมแพรัลแลกซ์ได้ 0.1 และ 1 ดาวดวงใดอยู่ห่างจากโลกมากกว่า และดาวทั้ง 2 ดวงอยู่ห่างกันเท่าใด   1. ดาว B อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดาว A และดาว 2 อยู่ห่างกัน 3.62  ปีแสง   2. ดาว A อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดาว B และดาว 2 ดวงอยู่ห่างกัน 32.6 ปีแสง   3. ดาว A อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดาว B และดาว 2 ดวงอยู่ห่างกัน 29.3 ปีแสง   4. ดาว B อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดาว A และดาว 2 ดวงอยู่ห่างกัน 32.6 ปีแสง   36. มนุษย์ได้ส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศไปโคจรรอบโลกได้โดยอาศัยพาหนะใด   1. กระสวยอวกาศ 2. จรวด   3. ยานขนส่งดาวเทียม 4. ยานขนส่งอวกาศ   37. จุดประสงค์ของโครงการสกายแลบ คืออะไร   1. การศึกษาทางการแพทย์   2. การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ   3. การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์       4. การให้มนุษย์ขึ้นไปค้นคว้าทดลองสถานีลอยฟ้าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทำได้   38. ข้อใดเป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา   1. ไทยคม 1 2. NOAA   3. คอสมอส 4. อินเทลแซท   39. ข้อใดเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของโลก   1. สถานีอวกาศสกายแล็บ 2. สถานีอวกาศซัลยูต   3. สถานีอวกาศนานาชาติ 4. สถานีอวกาศเมียร์   40. ไจโรสโคปเครื่องมือที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับอะไร   1. ควบคุมความเร็วของจรวด 2. ควบคุมการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด   3. รักษาทิศทางการบินมาการทรงตัวของจรวด 4. ถูกทั้ง 1 และ 2  

เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทรจะเกิดอะไรขึ้น

แผ่นธรณีมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์ มีความหนาแน่นมากกว่าแผ่นธรณีทวีปซึ่งเป็นหินแกรนิต เมื่อแผ่นธรณีทั้งสองปะทะกัน แผ่นธรณีมหาสมุทรจะจมตัวลงและหลอมละลายเป็นหินหนืด เนื่องจากหินหนืดมีความหนาแน่นน้อยกว่าเนื้อโลกในชั้นฐานธรณีภาค มันจึงยกตัวขึ้นดันเปลือกโลกทวีปให้กลายเป็นเทือกเขาสูง เกิดแนวภูเขาไฟเรียงรายตามชายฝั่ง ขนานกับร่อง ...

บริเวณใดที่เกิดขึ้นจากแผ่นมหาสมุทรชนกับแผ่นมหาสมุทร

การชนกันเองของแผ่นธรณีภาคมหาสมุทร ซึ่งแผ่นธรณีภาคที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะจมตัวลง โดยที่นักธรณีวิทยาจะเรียกบริเวณนี้ว่า เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction zone) ซึ่งการมุดตัวลงนี้ ก่อให้เกิดร่องลึกใต้มหาสมุทร เช่นเดียวกับแนวภูเขาไฟที่ในภายหลังอาจยกตัวขึ้นมาเหนือผิวน้ำจนกลายเป็นหมู่เกาะรูปโค้ง (Island arc) และเป็นเขตที่ ...

แผ่นธรณีภาคทวีป 2 แผ่นชนกันทำให้เกิดสิ่งใด

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกชนกันมีผลทำให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง และหากเกิดในมหาสมุทรอาจทำให้เกิดสึนามิได้ การที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน มีอยู่ 3 ลักษณะ ยกเว้นข้อใด แผ่นเปลือกโลกทวีปชนกับแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทร

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเกิดขึ้นจากสาเหตุใด

การที่แผ่นเปลือกโลกสามารถเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ ได้อย่างต่อเนื่องนั้น เกิดจากการหมุนเวียนของกระแสความร้อนภายในโลก (Convection Cell) ในชั้นฐานธรณีภาคหรือชั้นเนื้อโลกตอนบนมีแร่และหินหลอมเหลวกลายเป็นหินหนืด (Magma) ซึ่งมีลักษณะเป็นของแข็งเนื้ออ่อนหรือกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semisolid) ถูกความร้อนจากแก่นโลกผลักดันให้หินหนืดเคลื่อน ...

เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีมหาสมุทรจะเกิดอะไรขึ้น บริเวณใดที่เกิดขึ้นจากแผ่นมหาสมุทรชนกับแผ่นมหาสมุทร แผ่นธรณีภาคทวีป 2 แผ่นชนกันทำให้เกิดสิ่งใด การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเกิดขึ้นจากสาเหตุใด ปัจจุบันแผ่นเปลือกโลกที่รองรับทวีปอเมริกา และทวีปแอฟริกา มีการเคลื่อนที่อย่างไร แผ่นธรณีประกอบด้วยส่วนใดบ้าง แผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่รองรับส่วนใด การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคตามแนวระดับ ส่งผลให้เกิดลักษณะภูมิประเทศแบบใด แผ่นธรณีมหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีทวีป ข้อใดไม่ใช่หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าทวีปต่าง ๆ มีการเคลื่อนตัวแยกออกจากกัน